วันเวลาปัจจุบัน 20 เม.ย. 2024, 00:17  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 26 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 ม.ค. 2009, 18:57 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5975

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


ไม่ลองหรือจะรู้ ไม่ดูหรือจะเห็น ไม่ทำหรือจะเป็น จะลำเค็ญย่ำแย่ จน ... แก่ตาย

ไม่ว่าจะบัญญัติหรือปรมัตถ์ ล้วนต้องอาศัยอ้างอิงซึ่งกันและกัน ไม่มีบัญญัติ ไหนจะรู้จักปรมัตถ์ได้ ไม่มีปรมัตถ์ ไหนจะรู้จักบัญญัติได้ ขึ้นชื่อว่าผู้ศึกษาอยู่ ยังต้องอาศัยอ้างอิงทั้งบัญญัติและปรมัตถ์ มีแต่โสดากูเกิ้ลหรืออรหันต์กูเกิ้ลเท่านั้นที่จะไม่ใช้สิ่งเหล่านี้ ขึ้นชื่อว่าผู้ศึกษา ไม่ว่าจะอนุบาลหรือจะเป็นหรืออย่างไรก็แล้วแต่ สุดแต่ว่าใครจะให้ค่าความหมายอย่างไร ก็ยังได้ชื่อว่าเป็นผู้ศึกษา ยังดีกว่าคนที่ไม่ได้ศึกษา เลยมีการเปรียบเทียบว่า สิ่งนั้นดี สิ่งนี้ไม่ดี ก็เหมือนพวกตาบอดคลำช้าง คลำเจอหาง คลำเจอหัว สุดแต่ว่าจะคลำเจออะไร แล้วก็เดาสุ่มเอาว่านี่คือช้าง เหมือนพวกปลาที่อยู่ในน้ำแล้วมาถามเต่าว่า บนบกกับในน้ำนั้นมันแตกต่างกันอย่างไร ต่อให้เต่าอธิบายจนคอหอยแตก ปลาก็ไม่มีวันเข้าใจ เพราะไม่เคยได้สัมผัส ไม่เคยเห็นว่ามันมีจริง เต่าจะพูดยังไงปลาก็ไม่เชื่อ ปลาก็เลยได้แต่คาดเดาเอาไปตลอดชีวิต เดาไปจนตายก็ยังไม่รู้เลย ว่าบนบกนั้นเป็นอย่างไร เหมือนคนที่ยึดติดบัญญัติ แต่ไม่รู้ว่าติดบัญญัติเพราะแยกแยะไม่เป็น ต่อให้มีคนมาพูดให้ตาย พูดยังไงก็ไม่มีวันเชื่อ เพราะปรมัตถ์นั้น มันใช้ภาษาอ้างอิงอธิบายได้ยาก มันไม่สามารถสื่อเป็นรูปธรรมให้เห็นได้ ครูบาฯทั้งหลายที่ผ่านสภาวะตรงนั้นมาแล้วจึงได้สื่อแบบหยาบๆ เพื่อให้ผู้ศึกษาได้รู้ เท่านั้นเอง ท่านเพียงให้รู้ ส่วนใครจะยึดหรือไม่ยึดก็เรื่องของใครของมัน แต่พวกที่ขาดการศึกษา พวกที่ติดนิมิต ทำยังไงก็ไม่มีวันที่จะรู้หรอก เพราะมันเป็นเรื่องของ สติ สัมปชัญญะ ต้องเจริญสติปัฏฐาน ๔ ถึงระดับหนึ่งจึงจะได้เห็น

ผู้ที่ยึดติดพระไตรปิฎก แล้วนำพระไตรปิฎกมาถ่ายทอด มาสื่อไปในทางเดียวกัน ยังดีกว่าพวกที่เอาภาษาขาดการศึกษามาสื่อสาร ฉะนั้น ผู้ที่ยึดพระไตรปิฏกถึงแม้บางครั้งอาจจะสุดโต่งไปบ้าง ก็ยังขึ้นชื่อว่าได้สร้างกุศล ได้สร้างคุณให้แก่ศาสนา คนเหล่านี้ขึ้นชื่อว่ายังเป็นผู้สืบทอดศาสนา ยังดีกว่าพวกที่ใช้สำนวนส่วนตัวตามความเข้าใจของตัวเองเป็นหลัก มีแต่จะสร้างกรรมหนักขึ้นไปเรื่อยๆ ( พวกบ่อนทำลายศาสนา ) แทนที่จะหันมาศึกษาให้เข้าใจ ว่าพระไตรปิฏกนั้นสำคัญมากแค่ไหน ทำไมต้องใช้ภาษาปริยัติเป็นสื่อกลางในการสื่อสารกัน สักแต่ว่าพูดแบบขาดสติไปวันๆเท่านั้นเอง

ท่านทั้งหลาย ข้อแสดงความคิดเห็นของดิฉันนี้ ถือว่า เป็นความคิดส่วนตัว ใครจะเห็นด้วย เห็นตาม หรือไม่เห็นด้วยเห็นตาม ก็ขึ้นอยู่กับวิจารณญาณของท่านทั้งหลาย

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 ม.ค. 2009, 21:17 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2007, 09:55
โพสต์: 1632


 ข้อมูลส่วนตัว


อ่านแล้วใช้สมองสติปัญญาพิจารณาให้ดีว่า เป็นความรู้ หรือ คำด่าว่ากล่าว

Buddha เขียน:
ท่านทั้งหลาย ข้อแสดงความคิดเห็นของข้าพเจ้าต่อไปนี้ ขอให้ถือว่า เป็นความคิดส่วนตัว ใครจะเห็นด้วย เห็นตาม หรือไม่เห็นด้วยเห็นตาม ก็ขึ้นอยู่กับวิจารณญาณของท่านทั้งหลาย

อัน สุตตันตปิฏก นั้น เป็นกระจาด หรือที่รวบรวม การได้ยินได้ฟัง จากโอษฐ์ ของพระพุทธเจ้า แล้วจดจำมา มาบอกเล่าต่อๆกันมา แล้วจึงมาเขียนบันทึกไว้ภายหลัง ดังนั้น สุตตันต จึง หมายถึง เรื่องที่ได้ยินได้ฟังและเล่าบอกต่อกันมา
ในทางที่เป็นจริงนั้น ผู้ได้อ่านพระไตรปิฏก หากคิดพิจารณา ให้เป็นไปตามหลักความจริงตามยุคตามสมัยแล้ว อีกทั้งยังต้องทำสำนวนภาษาบาลีสันสกฤต ให้เปลี่ยนเป็นสำนวนภาษาไทย หรือถ้าจะกล่าวให้เข้าใจง่ายขึ้น ต้องทำความเข้าใจในสำนวนที่ปรากฏอยู่ใน ปิฏก ทั้งหลาย ที่มีอยู่
เนื่องเพราะสำนวนภาษาในสมัยโบราณส่วนใหญ่นั้น มักจะอยู่ในรูปของสำนวนภาษาชั้นสูง เช่นสำนวนกลอน หรือสำนวนวรรณคดี หรือสำนวนกวี อย่างนี้เป็นต้น
สภาวะ บัญญัติ หรือ สภาวะปรมัตถ์ นั้น เป็นเพียง คำบอกกล่าวให้รู้ว่า สรรพสิ่ง ล้วนเป็นสิ่งที่มนุษย์ได้บัญญ้ติขึ้นทั้งสิ้น แต่สิ่งที่บัญญัติขึ้นมานั้น ก็ย่อมเป็นประโยชน์ ย่อมเป็น เหตุ และ ปัจจัย เป็นญาณอันจักนำบุคคลให้บรรลุสู่ชั้นอริยะบุคคล ตั้งแต่ชั้นโสดาบัน ไปจนถึง ชั้น นิพพาน
หมายความว่า ที่มีคำกล่าวถึง บัญญัติ และ ปรมัตถ์ นั้น เป็นเพียง การอธิบาย ให้เกิดความเข้าใจ ในส่วนรายละเอียด แห่งหลักธรรมะ ไม่ได้มีความหมายว่า ให้บุคคลนำเอาสิ่งเหล่านั้น มาเป็นปัญหา หรือนำมาคิดพิจารณา เพราะ บัญญัติ หรือ ปรมัตถ์ ไม่ใช่ตัวหลักธรรม ไม่ใช่สิ่งที่เกิดขึ้น หรือปรากฏขึ้น หรือเป็นผล แห่งการปฏิบัติ ธรรม
ถ้าจะกล่าวให้เข้าใจง่ายขึ้น คำสองคำนั้น คือ บัญญัติ และ ปรมัตถ์ นั้น ไม่มีความหมายอะไรทั้งสิ้น จะทำความเข้าใจก็ได้ ไม่ทำความเข้าใจก็ได้ เพราะเป็นเพียงคำอธิบาย ให้เกิดความเข้าใจเท่านั้น ที่ข้าพเจัากล่าวเช่นนั้น ก็เนื่องเพราะ สิ่งที่มีอยู่ไม่ว่าจะเป็นนวัตกรรม ภาษา หรือ สิ่งที่มีอยู่เองตามธรรมชาตินั้น ล้วนถูกมนุษย์ บัญญัติเรียกเป็นบรรทัดฐานเดียวกัน ต่างกันตรงที่ภาษาที่ใช้เขียน ใช้พูด แต่ความหมาย หรือสถานะของสิ่งเหล่านั้น เหมือนกัน สืบทอดต่อกันมานานหลายพันปี เช่น น้ำ(ไทย) water,ฯลฯ (ของเหลว ประกอบด้วย ธาตุไฮโดรเจน และออกซิเจน) อย่างนี้เป็นต้น
ที่กล่าวไปทั้งหมดแล้วนั้น ก็พอจะเป็นอุทาหรณ์ สำหรับ กลุ่มบุคคล ที่ยึดติด ในปิฏก ให้เกิดการพัฒนา ให้เกิดความกระตือรือล้น ที่จะศึกษา และทำความเข้าใจ ในพระไตรปิฏกอย่างแท้จริง คือ ศึกษา ให้เกิดความเข้าใจว่า สิ่งที่เขาบันทึกไว้ มีสถานะ มีจุดมุ่งหมาย หรือวัตถุประสงค์ อย่างไร ไม่ใช่สักแต่ว่า อ่าน แต่ไม่รู้เรื่องอะไรเลย ถ้าเป็นอย่างนั้น ก็ไม่ผิดอะไรกับ เด็กชั้นอนุบาล ที่คุณครู ให้ท่องจำ พยัญชนะ ภาษาไทย ดอกขอรับ


หมายเหตุ
พระไตรปิฎก ไม่ใช่เป็นสำนวนภาษาไทย แต่เป็นสำนวนภาษาของต่างชาติ ผู้นับถือศาสนาพุทธล้วนได้รับการศึกษาจากพระไตรปิฎก มากน้อยต่างกันไป อย่างน้อยที่สุด ก็ศึกษาเรื่องศีล
แต่การที่นำความที่ตัวเองไม่ได้รู้เรื่อง ไม่ได้รู้ความหมายอย่างแท้จริงมาสอน มากล่าวอ้างโดยความอยากอวดว่ารู้ อยากอวดว่า ข้าฯรักศาสนา ข้าฯจรรโลงศาสนา" มันทำให้เสื่อมเสียศาสนา
ดังที่ข้าพเจ้าได้ยกตัวอย่างไปแล้วข้างตนถึง คำว่า บัญญัติ หรือปรมัตถ์
ดังนั้นในคำกล่าวของผู้ใช้ชื่อว่า "walaiporn" ความว่า
"ขึ้นชื่อว่าผู้ศึกษา ไม่ว่าจะอนุบาลหรือจะเป็นหรืออย่างไรก็แล้วแต่ สุดแต่ว่าใครจะให้ค่าความหมายอย่างไร ก็ยังได้ชื่อว่าเป็นผู้ศึกษา ยังดีกว่าคนที่ไม่ได้ศึกษา"
มันเป็นคำกล่าวของคนเขลาเบาปัญญา ขาดความรู้ ขาดความเข้าใจทั้งในหลักภาษาตามบทความ อีกทั้งยังมีความคิด เห็นแต่ตัว คิดว่า ในโลกนี้ มีแต่มนุษย์ที่นับถือศาสนาพุทธ แถมยังไม่รู้อีกว่า "ผู้ศรัทธาในศาสนาพุทธทุกคน ล้วนได้รับการศึกษา จากพระไตรปิฏกมากบ้าง น้อยบาง ตามแต่สังคมการเป็นอยู่"
ควรได้แก้ไขตัวเอง และหัดอ่านบทความให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ จะได้ชื่อว่า เป็นผู้มีปัญญา เพราะสิ่งที่ข้าพเจัาเขียนไป จงอ่านให้ดี ไม่ใช่คำสบประมาท หรือกระทบเทียบ อ่านให้ดี ใช้สมองสติปัญญาความเป็นคนที่ได้รับการศึกษา พระไตรปิฎก ของคุณคิดให้ดี
อย่าให้ใครได้สบประมาทว่า ศึกษา พระไตรปิฎก แล้วมีแต่ความเขลาเบาปัญญา
สุดท้ายต้องขออภัยที่เขียนตรงๆ เพื่อให้เกิดความเข้าใจตามความเป็นจริง


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 ม.ค. 2009, 21:32 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5975

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


Buddha เขียน:
อ่านแล้วใช้สมองสติปัญญาพิจารณาให้ดีว่า เป็นความรู้ หรือ คำด่าว่ากล่าว

Buddha เขียน:
ท่านทั้งหลาย ข้อแสดงความคิดเห็นของข้าพเจ้าต่อไปนี้ ขอให้ถือว่า เป็นความคิดส่วนตัว ใครจะเห็นด้วย เห็นตาม หรือไม่เห็นด้วยเห็นตาม ก็ขึ้นอยู่กับวิจารณญาณของท่านทั้งหลาย

อัน สุตตันตปิฏก นั้น เป็นกระจาด หรือที่รวบรวม การได้ยินได้ฟัง จากโอษฐ์ ของพระพุทธเจ้า แล้วจดจำมา มาบอกเล่าต่อๆกันมา แล้วจึงมาเขียนบันทึกไว้ภายหลัง ดังนั้น สุตตันต จึง หมายถึง เรื่องที่ได้ยินได้ฟังและเล่าบอกต่อกันมา
ในทางที่เป็นจริงนั้น ผู้ได้อ่านพระไตรปิฏก หากคิดพิจารณา ให้เป็นไปตามหลักความจริงตามยุคตามสมัยแล้ว อีกทั้งยังต้องทำสำนวนภาษาบาลีสันสกฤต ให้เปลี่ยนเป็นสำนวนภาษาไทย หรือถ้าจะกล่าวให้เข้าใจง่ายขึ้น ต้องทำความเข้าใจในสำนวนที่ปรากฏอยู่ใน ปิฏก ทั้งหลาย ที่มีอยู่
เนื่องเพราะสำนวนภาษาในสมัยโบราณส่วนใหญ่นั้น มักจะอยู่ในรูปของสำนวนภาษาชั้นสูง เช่นสำนวนกลอน หรือสำนวนวรรณคดี หรือสำนวนกวี อย่างนี้เป็นต้น
สภาวะ บัญญัติ หรือ สภาวะปรมัตถ์ นั้น เป็นเพียง คำบอกกล่าวให้รู้ว่า สรรพสิ่ง ล้วนเป็นสิ่งที่มนุษย์ได้บัญญ้ติขึ้นทั้งสิ้น แต่สิ่งที่บัญญัติขึ้นมานั้น ก็ย่อมเป็นประโยชน์ ย่อมเป็น เหตุ และ ปัจจัย เป็นญาณอันจักนำบุคคลให้บรรลุสู่ชั้นอริยะบุคคล ตั้งแต่ชั้นโสดาบัน ไปจนถึง ชั้น นิพพาน
หมายความว่า ที่มีคำกล่าวถึง บัญญัติ และ ปรมัตถ์ นั้น เป็นเพียง การอธิบาย ให้เกิดความเข้าใจ ในส่วนรายละเอียด แห่งหลักธรรมะ ไม่ได้มีความหมายว่า ให้บุคคลนำเอาสิ่งเหล่านั้น มาเป็นปัญหา หรือนำมาคิดพิจารณา เพราะ บัญญัติ หรือ ปรมัตถ์ ไม่ใช่ตัวหลักธรรม ไม่ใช่สิ่งที่เกิดขึ้น หรือปรากฏขึ้น หรือเป็นผล แห่งการปฏิบัติ ธรรม
ถ้าจะกล่าวให้เข้าใจง่ายขึ้น คำสองคำนั้น คือ บัญญัติ และ ปรมัตถ์ นั้น ไม่มีความหมายอะไรทั้งสิ้น จะทำความเข้าใจก็ได้ ไม่ทำความเข้าใจก็ได้ เพราะเป็นเพียงคำอธิบาย ให้เกิดความเข้าใจเท่านั้น ที่ข้าพเจัากล่าวเช่นนั้น ก็เนื่องเพราะ สิ่งที่มีอยู่ไม่ว่าจะเป็นนวัตกรรม ภาษา หรือ สิ่งที่มีอยู่เองตามธรรมชาตินั้น ล้วนถูกมนุษย์ บัญญัติเรียกเป็นบรรทัดฐานเดียวกัน ต่างกันตรงที่ภาษาที่ใช้เขียน ใช้พูด แต่ความหมาย หรือสถานะของสิ่งเหล่านั้น เหมือนกัน สืบทอดต่อกันมานานหลายพันปี เช่น น้ำ(ไทย) water,ฯลฯ (ของเหลว ประกอบด้วย ธาตุไฮโดรเจน และออกซิเจน) อย่างนี้เป็นต้น
ที่กล่าวไปทั้งหมดแล้วนั้น ก็พอจะเป็นอุทาหรณ์ สำหรับ กลุ่มบุคคล ที่ยึดติด ในปิฏก ให้เกิดการพัฒนา ให้เกิดความกระตือรือล้น ที่จะศึกษา และทำความเข้าใจ ในพระไตรปิฏกอย่างแท้จริง คือ ศึกษา ให้เกิดความเข้าใจว่า สิ่งที่เขาบันทึกไว้ มีสถานะ มีจุดมุ่งหมาย หรือวัตถุประสงค์ อย่างไร ไม่ใช่สักแต่ว่า อ่าน แต่ไม่รู้เรื่องอะไรเลย ถ้าเป็นอย่างนั้น ก็ไม่ผิดอะไรกับ เด็กชั้นอนุบาล ที่คุณครู ให้ท่องจำ พยัญชนะ ภาษาไทย ดอกขอรับ


หมายเหตุ
พระไตรปิฎก ไม่ใช่เป็นสำนวนภาษาไทย แต่เป็นสำนวนภาษาของต่างชาติ ผู้นับถือศาสนาพุทธล้วนได้รับการศึกษาจากพระไตรปิฎก มากน้อยต่างกันไป อย่างน้อยที่สุด ก็ศึกษาเรื่องศีล
แต่การที่นำความที่ตัวเองไม่ได้รู้เรื่อง ไม่ได้รู้ความหมายอย่างแท้จริงมาสอน มากล่าวอ้างโดยความอยากอวดว่ารู้ อยากอวดว่า ข้าฯรักศาสนา ข้าฯจรรโลงศาสนา" มันทำให้เสื่อมเสียศาสนา
ดังที่ข้าพเจ้าได้ยกตัวอย่างไปแล้วข้างตนถึง คำว่า บัญญัติ หรือปรมัตถ์
ดังนั้นในคำกล่าวของผู้ใช้ชื่อว่า "walaiporn" ความว่า
"ขึ้นชื่อว่าผู้ศึกษา ไม่ว่าจะอนุบาลหรือจะเป็นหรืออย่างไรก็แล้วแต่ สุดแต่ว่าใครจะให้ค่าความหมายอย่างไร ก็ยังได้ชื่อว่าเป็นผู้ศึกษา ยังดีกว่าคนที่ไม่ได้ศึกษา"
มันเป็นคำกล่าวของคนเขลาเบาปัญญา ขาดความรู้ ขาดความเข้าใจทั้งในหลักภาษาตามบทความ อีกทั้งยังมีความคิด เห็นแต่ตัว คิดว่า ในโลกนี้ มีแต่มนุษย์ที่นับถือศาสนาพุทธ แถมยังไม่รู้อีกว่า "ผู้ศรัทธาในศาสนาพุทธทุกคน ล้วนได้รับการศึกษา จากพระไตรปิฏกมากบ้าง น้อยบาง ตามแต่สังคมการเป็นอยู่"
ควรได้แก้ไขตัวเอง และหัดอ่านบทความให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ จะได้ชื่อว่า เป็นผู้มีปัญญา เพราะสิ่งที่ข้าพเจัาเขียนไป จงอ่านให้ดี ไม่ใช่คำสบประมาท หรือกระทบเทียบ อ่านให้ดี ใช้สมองสติปัญญาความเป็นคนที่ได้รับการศึกษา พระไตรปิฎก ของคุณคิดให้ดี
อย่าให้ใครได้สบประมาทว่า ศึกษา พระไตรปิฎก แล้วมีแต่ความเขลาเบาปัญญา
สุดท้ายต้องขออภัยที่เขียนตรงๆ เพื่อให้เกิดความเข้าใจตามความเป็นจริง



ดิฉันไม่เคยสอนใครนะ แล้วก็ไม่เคยบอกพร่ำบอกกับใครๆว่า จงทำตามคำสอนของดิฉัน เพื่อจะได้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน ไม่เหมือนกับใครบางคนที่คอยพร่ำบอก คอยยัดเยียดให้คนอื่นเขาเชื่อในความเชื่อของตัวเอง อ่านให้ดีๆนะว่าเคยเจอคำพูดแบบที่พร่ำๆมาบ้างไหม

คนอะไร ชอบว่าตัวเองอยู่เรื่อยเลย ชอบเอาเรื่องของตัวเองมาประจานให้คนอื่นฟัง :b32:

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ม.ค. 2009, 10:56 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2007, 09:55
โพสต์: 1632


 ข้อมูลส่วนตัว


walaiporn เขียน:
Buddha เขียน:
อ่านแล้วใช้สมองสติปัญญาพิจารณาให้ดีว่า เป็นความรู้ หรือ คำด่าว่ากล่าว

Buddha เขียน:
ท่านทั้งหลาย ข้อแสดงความคิดเห็นของข้าพเจ้าต่อไปนี้ ขอให้ถือว่า เป็นความคิดส่วนตัว ใครจะเห็นด้วย เห็นตาม หรือไม่เห็นด้วยเห็นตาม ก็ขึ้นอยู่กับวิจารณญาณของท่านทั้งหลาย

อัน สุตตันตปิฏก นั้น เป็นกระจาด หรือที่รวบรวม การได้ยินได้ฟัง จากโอษฐ์ ของพระพุทธเจ้า แล้วจดจำมา มาบอกเล่าต่อๆกันมา แล้วจึงมาเขียนบันทึกไว้ภายหลัง ดังนั้น สุตตันต จึง หมายถึง เรื่องที่ได้ยินได้ฟังและเล่าบอกต่อกันมา
ในทางที่เป็นจริงนั้น ผู้ได้อ่านพระไตรปิฏก หากคิดพิจารณา ให้เป็นไปตามหลักความจริงตามยุคตามสมัยแล้ว อีกทั้งยังต้องทำสำนวนภาษาบาลีสันสกฤต ให้เปลี่ยนเป็นสำนวนภาษาไทย หรือถ้าจะกล่าวให้เข้าใจง่ายขึ้น ต้องทำความเข้าใจในสำนวนที่ปรากฏอยู่ใน ปิฏก ทั้งหลาย ที่มีอยู่
เนื่องเพราะสำนวนภาษาในสมัยโบราณส่วนใหญ่นั้น มักจะอยู่ในรูปของสำนวนภาษาชั้นสูง เช่นสำนวนกลอน หรือสำนวนวรรณคดี หรือสำนวนกวี อย่างนี้เป็นต้น
สภาวะ บัญญัติ หรือ สภาวะปรมัตถ์ นั้น เป็นเพียง คำบอกกล่าวให้รู้ว่า สรรพสิ่ง ล้วนเป็นสิ่งที่มนุษย์ได้บัญญ้ติขึ้นทั้งสิ้น แต่สิ่งที่บัญญัติขึ้นมานั้น ก็ย่อมเป็นประโยชน์ ย่อมเป็น เหตุ และ ปัจจัย เป็นญาณอันจักนำบุคคลให้บรรลุสู่ชั้นอริยะบุคคล ตั้งแต่ชั้นโสดาบัน ไปจนถึง ชั้น นิพพาน
หมายความว่า ที่มีคำกล่าวถึง บัญญัติ และ ปรมัตถ์ นั้น เป็นเพียง การอธิบาย ให้เกิดความเข้าใจ ในส่วนรายละเอียด แห่งหลักธรรมะ ไม่ได้มีความหมายว่า ให้บุคคลนำเอาสิ่งเหล่านั้น มาเป็นปัญหา หรือนำมาคิดพิจารณา เพราะ บัญญัติ หรือ ปรมัตถ์ ไม่ใช่ตัวหลักธรรม ไม่ใช่สิ่งที่เกิดขึ้น หรือปรากฏขึ้น หรือเป็นผล แห่งการปฏิบัติ ธรรม
ถ้าจะกล่าวให้เข้าใจง่ายขึ้น คำสองคำนั้น คือ บัญญัติ และ ปรมัตถ์ นั้น ไม่มีความหมายอะไรทั้งสิ้น จะทำความเข้าใจก็ได้ ไม่ทำความเข้าใจก็ได้ เพราะเป็นเพียงคำอธิบาย ให้เกิดความเข้าใจเท่านั้น ที่ข้าพเจัากล่าวเช่นนั้น ก็เนื่องเพราะ สิ่งที่มีอยู่ไม่ว่าจะเป็นนวัตกรรม ภาษา หรือ สิ่งที่มีอยู่เองตามธรรมชาตินั้น ล้วนถูกมนุษย์ บัญญัติเรียกเป็นบรรทัดฐานเดียวกัน ต่างกันตรงที่ภาษาที่ใช้เขียน ใช้พูด แต่ความหมาย หรือสถานะของสิ่งเหล่านั้น เหมือนกัน สืบทอดต่อกันมานานหลายพันปี เช่น น้ำ(ไทย) water,ฯลฯ (ของเหลว ประกอบด้วย ธาตุไฮโดรเจน และออกซิเจน) อย่างนี้เป็นต้น
ที่กล่าวไปทั้งหมดแล้วนั้น ก็พอจะเป็นอุทาหรณ์ สำหรับ กลุ่มบุคคล ที่ยึดติด ในปิฏก ให้เกิดการพัฒนา ให้เกิดความกระตือรือล้น ที่จะศึกษา และทำความเข้าใจ ในพระไตรปิฏกอย่างแท้จริง คือ ศึกษา ให้เกิดความเข้าใจว่า สิ่งที่เขาบันทึกไว้ มีสถานะ มีจุดมุ่งหมาย หรือวัตถุประสงค์ อย่างไร ไม่ใช่สักแต่ว่า อ่าน แต่ไม่รู้เรื่องอะไรเลย ถ้าเป็นอย่างนั้น ก็ไม่ผิดอะไรกับ เด็กชั้นอนุบาล ที่คุณครู ให้ท่องจำ พยัญชนะ ภาษาไทย ดอกขอรับ


หมายเหตุ
พระไตรปิฎก ไม่ใช่เป็นสำนวนภาษาไทย แต่เป็นสำนวนภาษาของต่างชาติ ผู้นับถือศาสนาพุทธล้วนได้รับการศึกษาจากพระไตรปิฎก มากน้อยต่างกันไป อย่างน้อยที่สุด ก็ศึกษาเรื่องศีล
แต่การที่นำความที่ตัวเองไม่ได้รู้เรื่อง ไม่ได้รู้ความหมายอย่างแท้จริงมาสอน มากล่าวอ้างโดยความอยากอวดว่ารู้ อยากอวดว่า ข้าฯรักศาสนา ข้าฯจรรโลงศาสนา" มันทำให้เสื่อมเสียศาสนา
ดังที่ข้าพเจ้าได้ยกตัวอย่างไปแล้วข้างตนถึง คำว่า บัญญัติ หรือปรมัตถ์
ดังนั้นในคำกล่าวของผู้ใช้ชื่อว่า "walaiporn" ความว่า
"ขึ้นชื่อว่าผู้ศึกษา ไม่ว่าจะอนุบาลหรือจะเป็นหรืออย่างไรก็แล้วแต่ สุดแต่ว่าใครจะให้ค่าความหมายอย่างไร ก็ยังได้ชื่อว่าเป็นผู้ศึกษา ยังดีกว่าคนที่ไม่ได้ศึกษา"
มันเป็นคำกล่าวของคนเขลาเบาปัญญา ขาดความรู้ ขาดความเข้าใจทั้งในหลักภาษาตามบทความ อีกทั้งยังมีความคิด เห็นแต่ตัว คิดว่า ในโลกนี้ มีแต่มนุษย์ที่นับถือศาสนาพุทธ แถมยังไม่รู้อีกว่า "ผู้ศรัทธาในศาสนาพุทธทุกคน ล้วนได้รับการศึกษา จากพระไตรปิฏกมากบ้าง น้อยบาง ตามแต่สังคมการเป็นอยู่"
ควรได้แก้ไขตัวเอง และหัดอ่านบทความให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ จะได้ชื่อว่า เป็นผู้มีปัญญา เพราะสิ่งที่ข้าพเจัาเขียนไป จงอ่านให้ดี ไม่ใช่คำสบประมาท หรือกระทบเทียบ อ่านให้ดี ใช้สมองสติปัญญาความเป็นคนที่ได้รับการศึกษา พระไตรปิฎก ของคุณคิดให้ดี
อย่าให้ใครได้สบประมาทว่า ศึกษา พระไตรปิฎก แล้วมีแต่ความเขลาเบาปัญญา
สุดท้ายต้องขออภัยที่เขียนตรงๆ เพื่อให้เกิดความเข้าใจตามความเป็นจริง



ดิฉันไม่เคยสอนใครนะ แล้วก็ไม่เคยบอกพร่ำบอกกับใครๆว่า จงทำตามคำสอนของดิฉัน เพื่อจะได้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน ไม่เหมือนกับใครบางคนที่คอยพร่ำบอก คอยยัดเยียดให้คนอื่นเขาเชื่อในความเชื่อของตัวเอง อ่านให้ดีๆนะว่าเคยเจอคำพูดแบบที่พร่ำๆมาบ้างไหม

คนอะไร ชอบว่าตัวเองอยู่เรื่อยเลย ชอบเอาเรื่องของตัวเองมาประจานให้คนอื่นฟัง :b32:


คุณผู้ใฃ้ชื่อว่า walaiporn ขอรับ คุณแสดงความคิดเห็นอะไรมา คุณก็รู้อยู่แก่ใจของคุณ คุณก็รู้อยุ่ว่าคุณมีจุดประสงค์อะไร
คุณอิจฉา ข้าพเจ้าหรือ ที่ข้าพเจ้าบอกให้ เขาทั้งหลายเหล่านั้น รวมทั้งตัวคุณด้วย แถมให้อีกนิดว่า รวมทั้งมนุษย์ทั่วโลก แถมอีกหน่อย รวมไปถึงดวงดาว แห่งจักรวาลทั้งหลายด้วยก็ได้ ให้ทำตามคำสอน ของข้าพเจ้า ให้ปฏิบัติ และยึดถือหลักธรรมะ หรือหลักการที่ให้ข้าพเจ้าสอนให้ เป็นบรรทัดฐานเดียวกัน
ศาสนานะคุณ จะมาแบ่งแยกทางความคิดออกไปเป็นเยี่ยง ลัทธิ ต่างๆได้อย่างไรกัน
หลักธรรมเดียวกัน หลักปฏิบัติ เดียวกัน แต่ ดันสอนกันไปคนละอย่าง เข้าใจกันไปคนละอย่าง เพราะอะไรคุณรู้ไหม ก็เพราะความอวดรุ้ อวดฉลาด อวดอยากดัง อวดเก่ง โดยที่เก่งไม่จริง รุ้ไม่จริง อย่างคุณก็คนหนึ่งละ เถียงเก่ง ว่ากระทบเก่ง ไม่รู้จักอ่านแล้วทำความเข้าใจให้ดีว่า บทเรียน บทความของข้าพเจ้ามีจุดมุ่งหมายอย่างไร ถ้าคุณโอ้อวดตัวว่า มีการศึกษาจากพระไตรปิฏกจริง คุณก็น่าจะเข้าใจในสิ่งที่ข้าพเจ้าเขียนไป หรือถ้าคุณอ้างว่า ได้ศึกษาในพระไตรปิฎกมาบ้าง ก็น่าจะมีจิตใจ และความคิด ที่สูงกว่าที่คุณเป็นอยู่ในปัจจุบัน
ส่วนเรื่องอื่นๆ เกี่ยวกับผู้ที่ศึกษาจากพระไตรปิฎก ก็ให้พิจารณากันเอาเอง ว่าจะทำตามที่ข้าพเจ้าแนะนำหรือไม่ หรือจะถอยหลังเข้าคลองไปเรื่อยๆ ก็ตามใจ ข้าพเจ้าไม่ได้บังคับ ครูอาจารย์ข้าพเจ้า สั่งสอนข้าพเจ้าอยู่เสมอว่า ถ้าพวกมันไม่เชื่อ ก็ไม่ต้องสนใจ ปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติ แล้วพวกมันก็จะรู้ว่า พวกมันจะเชื่อสิ่งที่พิสูจน์ได้ กับสิ่งที่พวกมันพิสูจน์ไม่ได้ พวกมันจะเลือกเอาอย่างไหนข้าพเจ้าไม่เคยยัดเยียดให้ผู้คนมาเชื่อในหลักบรรทัดฐานของข้าพเจ้า แต่ข้าพเจ้าจะบอกไว้เลยว่า ถ้าไม่เชื่อแม้แต่คนเดียว ธรรมชาติ ก็จะเป็นผู้จัดการกับพวกคุณเอง ไม่ว่าจะเชื้อชาติไหน ชนชาติใด จะอยู่ที่ไหน หนีไม่พ้นดอกนะคุณคุณไปพิจารณาให้ดี และแก้ไขสภาพจิตใจ และความคิดอ่านของคุณให้สูงกว่าที่เป็นอยู่ เถิดนะคุณผู้ใช้ชื่อว่า Walaiporn


แก้ไขล่าสุดโดย จ่าสิบตรี เทวฤทธิ์ เมื่อ 17 ม.ค. 2009, 11:14, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ม.ค. 2009, 11:03 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2007, 09:55
โพสต์: 1632


 ข้อมูลส่วนตัว


walaiporn เขียน:
Buddha เขียน:
อ่านแล้วใช้สมองสติปัญญาพิจารณาให้ดีว่า เป็นความรู้ หรือ คำด่าว่ากล่าว

Buddha เขียน:
ท่านทั้งหลาย ข้อแสดงความคิดเห็นของข้าพเจ้าต่อไปนี้ ขอให้ถือว่า เป็นความคิดส่วนตัว ใครจะเห็นด้วย เห็นตาม หรือไม่เห็นด้วยเห็นตาม ก็ขึ้นอยู่กับวิจารณญาณของท่านทั้งหลาย

อัน สุตตันตปิฏก นั้น เป็นกระจาด หรือที่รวบรวม การได้ยินได้ฟัง จากโอษฐ์ ของพระพุทธเจ้า แล้วจดจำมา มาบอกเล่าต่อๆกันมา แล้วจึงมาเขียนบันทึกไว้ภายหลัง ดังนั้น สุตตันต จึง หมายถึง เรื่องที่ได้ยินได้ฟังและเล่าบอกต่อกันมา
ในทางที่เป็นจริงนั้น ผู้ได้อ่านพระไตรปิฏก หากคิดพิจารณา ให้เป็นไปตามหลักความจริงตามยุคตามสมัยแล้ว อีกทั้งยังต้องทำสำนวนภาษาบาลีสันสกฤต ให้เปลี่ยนเป็นสำนวนภาษาไทย หรือถ้าจะกล่าวให้เข้าใจง่ายขึ้น ต้องทำความเข้าใจในสำนวนที่ปรากฏอยู่ใน ปิฏก ทั้งหลาย ที่มีอยู่
เนื่องเพราะสำนวนภาษาในสมัยโบราณส่วนใหญ่นั้น มักจะอยู่ในรูปของสำนวนภาษาชั้นสูง เช่นสำนวนกลอน หรือสำนวนวรรณคดี หรือสำนวนกวี อย่างนี้เป็นต้น
สภาวะ บัญญัติ หรือ สภาวะปรมัตถ์ นั้น เป็นเพียง คำบอกกล่าวให้รู้ว่า สรรพสิ่ง ล้วนเป็นสิ่งที่มนุษย์ได้บัญญ้ติขึ้นทั้งสิ้น แต่สิ่งที่บัญญัติขึ้นมานั้น ก็ย่อมเป็นประโยชน์ ย่อมเป็น เหตุ และ ปัจจัย เป็นญาณอันจักนำบุคคลให้บรรลุสู่ชั้นอริยะบุคคล ตั้งแต่ชั้นโสดาบัน ไปจนถึง ชั้น นิพพาน
หมายความว่า ที่มีคำกล่าวถึง บัญญัติ และ ปรมัตถ์ นั้น เป็นเพียง การอธิบาย ให้เกิดความเข้าใจ ในส่วนรายละเอียด แห่งหลักธรรมะ ไม่ได้มีความหมายว่า ให้บุคคลนำเอาสิ่งเหล่านั้น มาเป็นปัญหา หรือนำมาคิดพิจารณา เพราะ บัญญัติ หรือ ปรมัตถ์ ไม่ใช่ตัวหลักธรรม ไม่ใช่สิ่งที่เกิดขึ้น หรือปรากฏขึ้น หรือเป็นผล แห่งการปฏิบัติ ธรรม
ถ้าจะกล่าวให้เข้าใจง่ายขึ้น คำสองคำนั้น คือ บัญญัติ และ ปรมัตถ์ นั้น ไม่มีความหมายอะไรทั้งสิ้น จะทำความเข้าใจก็ได้ ไม่ทำความเข้าใจก็ได้ เพราะเป็นเพียงคำอธิบาย ให้เกิดความเข้าใจเท่านั้น ที่ข้าพเจัากล่าวเช่นนั้น ก็เนื่องเพราะ สิ่งที่มีอยู่ไม่ว่าจะเป็นนวัตกรรม ภาษา หรือ สิ่งที่มีอยู่เองตามธรรมชาตินั้น ล้วนถูกมนุษย์ บัญญัติเรียกเป็นบรรทัดฐานเดียวกัน ต่างกันตรงที่ภาษาที่ใช้เขียน ใช้พูด แต่ความหมาย หรือสถานะของสิ่งเหล่านั้น เหมือนกัน สืบทอดต่อกันมานานหลายพันปี เช่น น้ำ(ไทย) water,ฯลฯ (ของเหลว ประกอบด้วย ธาตุไฮโดรเจน และออกซิเจน) อย่างนี้เป็นต้น
ที่กล่าวไปทั้งหมดแล้วนั้น ก็พอจะเป็นอุทาหรณ์ สำหรับ กลุ่มบุคคล ที่ยึดติด ในปิฏก ให้เกิดการพัฒนา ให้เกิดความกระตือรือล้น ที่จะศึกษา และทำความเข้าใจ ในพระไตรปิฏกอย่างแท้จริง คือ ศึกษา ให้เกิดความเข้าใจว่า สิ่งที่เขาบันทึกไว้ มีสถานะ มีจุดมุ่งหมาย หรือวัตถุประสงค์ อย่างไร ไม่ใช่สักแต่ว่า อ่าน แต่ไม่รู้เรื่องอะไรเลย ถ้าเป็นอย่างนั้น ก็ไม่ผิดอะไรกับ เด็กชั้นอนุบาล ที่คุณครู ให้ท่องจำ พยัญชนะ ภาษาไทย ดอกขอรับ


หมายเหตุ
พระไตรปิฎก ไม่ใช่เป็นสำนวนภาษาไทย แต่เป็นสำนวนภาษาของต่างชาติ ผู้นับถือศาสนาพุทธล้วนได้รับการศึกษาจากพระไตรปิฎก มากน้อยต่างกันไป อย่างน้อยที่สุด ก็ศึกษาเรื่องศีล
แต่การที่นำความที่ตัวเองไม่ได้รู้เรื่อง ไม่ได้รู้ความหมายอย่างแท้จริงมาสอน มากล่าวอ้างโดยความอยากอวดว่ารู้ อยากอวดว่า ข้าฯรักศาสนา ข้าฯจรรโลงศาสนา" มันทำให้เสื่อมเสียศาสนา
ดังที่ข้าพเจ้าได้ยกตัวอย่างไปแล้วข้างตนถึง คำว่า บัญญัติ หรือปรมัตถ์
ดังนั้นในคำกล่าวของผู้ใช้ชื่อว่า "walaiporn" ความว่า
"ขึ้นชื่อว่าผู้ศึกษา ไม่ว่าจะอนุบาลหรือจะเป็นหรืออย่างไรก็แล้วแต่ สุดแต่ว่าใครจะให้ค่าความหมายอย่างไร ก็ยังได้ชื่อว่าเป็นผู้ศึกษา ยังดีกว่าคนที่ไม่ได้ศึกษา"
มันเป็นคำกล่าวของคนเขลาเบาปัญญา ขาดความรู้ ขาดความเข้าใจทั้งในหลักภาษาตามบทความ อีกทั้งยังมีความคิด เห็นแต่ตัว คิดว่า ในโลกนี้ มีแต่มนุษย์ที่นับถือศาสนาพุทธ แถมยังไม่รู้อีกว่า "ผู้ศรัทธาในศาสนาพุทธทุกคน ล้วนได้รับการศึกษา จากพระไตรปิฏกมากบ้าง น้อยบาง ตามแต่สังคมการเป็นอยู่"
ควรได้แก้ไขตัวเอง และหัดอ่านบทความให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ จะได้ชื่อว่า เป็นผู้มีปัญญา เพราะสิ่งที่ข้าพเจัาเขียนไป จงอ่านให้ดี ไม่ใช่คำสบประมาท หรือกระทบเทียบ อ่านให้ดี ใช้สมองสติปัญญาความเป็นคนที่ได้รับการศึกษา พระไตรปิฎก ของคุณคิดให้ดี
อย่าให้ใครได้สบประมาทว่า ศึกษา พระไตรปิฎก แล้วมีแต่ความเขลาเบาปัญญา
สุดท้ายต้องขออภัยที่เขียนตรงๆ เพื่อให้เกิดความเข้าใจตามความเป็นจริง



ดิฉันไม่เคยสอนใครนะ แล้วก็ไม่เคยบอกพร่ำบอกกับใครๆว่า จงทำตามคำสอนของดิฉัน เพื่อจะได้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน ไม่เหมือนกับใครบางคนที่คอยพร่ำบอก คอยยัดเยียดให้คนอื่นเขาเชื่อในความเชื่อของตัวเอง อ่านให้ดีๆนะว่าเคยเจอคำพูดแบบที่พร่ำๆมาบ้างไหม

คนอะไร ชอบว่าตัวเองอยู่เรื่อยเลย ชอบเอาเรื่องของตัวเองมาประจานให้คนอื่นฟัง :b32:


คุณผู้ใฃ้ชื่อว่า walaiporn ขอรับ คุณแสดงความคิดเห็นอะไรมา คุณก็รู้อยู่แก่ใจของคุณ คุณก็รู้อยุ่ว่าคุณมีจุดประสงค์อะไร
คุณอิจฉา ข้าพเจ้าหรือ ที่ข้าพเจ้าบอกให้ เขาทั้งหลายเหล่านั้น รวมทั้งตัวคุณด้วย แถมให้อีกนิดว่า รวมทั้งมนุษย์ทั่วโลก แถมอีกหน่อย รวมไปถึงดวงดาว แห่งจักรวาลทั้งหลายด้วยก็ได้ ให้ทำตามคำสอน ของข้าพเจ้า ให้ปฏิบัติ และยึดถือหลักธรรมะ หรือหลักการที่ให้ข้าพเจ้าสอนให้ เป็นบรรทัดฐานเดียวกัน
ศาสนานะคุณ จะมาแบ่งแยกทางความคิดออกไปเป็นเยี่ยง ลัทธิ ต่างๆได้อย่างไรกัน
หลักธรรมเดียวกัน หลักปฏิบัติ เดียวกัน แต่ ดันสอนกันไปคนละอย่าง เข้าใจกันไปคนละอย่าง เพราะอะไรคุณรู้ไหม ก็เพราะความอวดรุ้ อวดฉลาด อวดอยากดัง อวดเก่ง โดยที่เก่งไม่จริง รุ้ไม่จริง อย่างคุณก็คนหนึ่งละ เถียงเก่ง ว่ากระทบเก่ง ไม่รู้จักอ่านแล้วทำความเข้าใจให้ดีว่า บทเรียน บทความของข้าพเจ้ามีจุดมุ่งหมายอย่างไร ถ้าคุณโอ้อวดตัวว่า มีการศึกษาจากพระไตรปิฏกจริง คุณก็น่าจะเข้าใจในสิ่งที่ข้าพเจ้าเขียนไป หรือถ้าคุณอ้างว่า ได้ศึกษาในพระไตรปิฎกมาบ้าง ก็น่าจะมีจิตใจ และความคิด ที่สูงกว่าที่คุณเป็นอยู่ในปัจจุบัน
ส่วนเรื่องอื่นๆ เกี่ยวกับผู้ที่ศึกษาจากพระไตรปิฎก ก็ให้พิจารณาอันเอาเอง ว่าจะทำตามที่ข้าพเจ้าแนะนำหรือไม่ หรือจะถอยหลังเข้าคลองไปเรื่อยๆ ก็ตามใจ ข้าพเจ้าไม่ได้บังคับ "ครูอาจารย์ข้าพเจ้า สั่งสอนข้าพเจ้าอยู่เสมอว่า ถ้าพวกมันไม่เชื่อ ก็ไม่ต้องสนใจ ปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติ แล้วพวกมันก็จะรู้ว่า พวกมันจะเชื่อสิ่งที่พิสูจน์ได้ กับสิ่งที่พวกมันพิสูจน์ไม่ได้ พวกมันจะเลือกเอาอย่างไหน"ข้าพเจ้าไม่เคยยัดเยียดให้ผู้คนมาเชื่อในหลักบรรทัดฐานของข้าพเจ้า แต่ข้าพเจ้าจะบอกไว้เลยว่า ถ้าไม่เชื่อแม้แต่คนเดียว ธรรมชาติ ก็จะเป็นผู้จัดการกับพวกคุณเอง ไม่ว่าจะเชื้อชาติไหน ชนชาติใด จะอยู่ที่ไหน หนีไม่พ้นดอกนะคุณ
เพราะอะไรคุณรู้ไหม ก็เพราะ ศาสนาได้ถูกทำลายไปหมดแล้ว ที่ว่าถุกทำลายนั้น ก็คือถูกทำลายความถูกต้อง ของหลักธรรม และหลักปฏิบัติ จนแบ่งแยกกันกลายเป็นลัทธิในศาสนา คุณหัดไปดูตามสำนักปฏิบัติ ธรรมต่างๆซิว่า แม้จะได้ศึกษาจากพระไตรปิฎก มาเหมือนกัน ในแต่ละสำนัก กลับมีการสอน และการปฏิบัติ ที่แตกต่างจากกัน นั่นแหละ คือความเสื่อม จงทำความเข้าใจไว้
คุณไปพิจารณาให้ดี และแก้ไขสภาพจิตใจ และความคิดอ่านของคุณให้สูงกว่าที่เป็นอยู่ เถิดนะคุณผู้ใช้ชื่อว่า Walaiporn


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ม.ค. 2009, 18:33 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5975

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


บูดจ๋า ... :b32:

เครียดมากเลยหรือจ๊ะ ระวังหน่อยนะ เส้นเลือดฝอยจะแตกเอาเดี๋ยวจะกลายเป็นอัมพฤกษ์ หรือ อัมพาต จะลำบากเอา :b32:


" ส่วนเรื่องอื่นๆ เกี่ยวกับผู้ที่ศึกษาจากพระไตรปิฎก ก็ให้พิจารณาอันเอาเอง ว่าจะทำตามที่ข้าพเจ้าแนะนำหรือไม่ หรือจะถอยหลังเข้าคลองไปเรื่อยๆ ก็ตามใจ ข้าพเจ้าไม่ได้บังคับ "ครูอาจารย์ข้าพเจ้า สั่งสอนข้าพเจ้าอยู่เสมอว่า ถ้าพวกมันไม่เชื่อ ก็ไม่ต้องสนใจ ปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติ แล้วพวกมันก็จะรู้ว่า พวกมันจะเชื่อสิ่งที่พิสูจน์ได้ กับสิ่งที่พวกมันพิสูจน์ไม่ได้ พวกมันจะเลือกเอาอย่างไหน"ข้าพเจ้าไม่เคยยัดเยียดให้ผู้คนมาเชื่อในหลักบรรทัดฐานของข้าพเจ้า แต่ข้าพเจ้าจะบอกไว้เลยว่า ถ้าไม่เชื่อแม้แต่คนเดียว ธรรมชาติ ก็จะเป็นผู้จัดการกับพวกคุณเอง ไม่ว่าจะเชื้อชาติไหน ชนชาติใด จะอยู่ที่ไหน หนีไม่พ้นดอกนะคุณ "

อย่างนั้นเลยหรือจ๊ะบูดจ๋า :b1:

ไม่แปลกใจเลยจ้ะ ว่าทำไมตั้งชื่อตัวเองว่า บูด อารมณ์บูดง่ายอย่างนี้นี่เอง :b32:

ปากคาบคำภีร์ไว้นาน มันเมื่อยมากเลยใช่ไหมบูด จึงต้องมาทำออโรม่าแถวๆนี้ :b32:

เอ้า ... บูดโพสอะไรมา ยินดีน้อมรับไว้หมดเลยจ้ะ เพื่อบูดจะได้อารมณ์ดีขึ้น :b32:

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามการกระทำของตัวเองน๊ะจ๊ะอย่าลืม ไม่ใช่เพราะใครหรืออะไรทำให้เขาเป็นเช่นนั้น อย่าลืมสิจ๊ะบูดจ๋า :b12:

อย่าเครียดมากนักนะเป็นห่วง แต่ถ้าได้โพสความในใจลงมาแล้ว ทำให้รู้สึกสบายใจขึ้น มีความสุขมากขึ้น ก็ตามสบายนะบูดจ๋า มาถูกคนแล้วจ้ะ เพราะเป็นนักฟังที่ดีจ้ะ บูดจ๋า .... :b9:

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ม.ค. 2009, 18:46 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


คุณวลัยพรพูดเพราะๆ ก็เป็นนะครับ บูดจ๋าๆๆ :b1:

แต่เวลาพูดกับกรัชกาย =>

อ้างคำพูด:
เชิญบ้า ต่อไปคนเดียวเถอะ อยากจะบ้าแค่ไหนก็บ้าไป ตนอื่นเขาพูดคำสองคำก็รู้เรื่องแล้ว นี่อะไร พูดเท่าไรก็ไม่รู้เรื่อง คิดว่า คุญคนละภาษาก็ไม่ใช่ ภาษาไทยแท้ๆ หรือว่า จะแปลคำว่า " อเสวนาจพาลานัง " ไม่ออกก็ไม่น่าจะใช่ เชิญออกแขก เล่นลิเกไปตามบทที่คุรต้องการเถอะ ดิฉันจบแล้ว แต่ถ้าจะมาเพื่อแพร่เชื้อบ้าใส่ดิฉัน เสียใจด้วย ไม่บ้าไปตามคุณหรอก

ธรรมะสวัสดี
viewtopic.php?f=1&t=19639&start=30


ไม่มีจ๋าสักคำ คำก็บ้า สองคำก็บ้า มีแต่บ้าๆๆๆๆ :b38: :b41:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ม.ค. 2009, 21:10 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5975

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


การเจริญอานาปนสติ มี 2 แบบ

1.ใช้สติจับความรู้สึกตรงจุดที่ลมกระทบ " วาโยโผฏฐพฺพรูปํ " ( วาโย=ลม , โผฏฐพฺพ=กระทบ , รูปํ=รูป ) ตรงบริเวณปลายจมูกทั้งขณะหายใจเข้าและหายใจออก พร้อมกับกำหนดรู้อาการกระทบ เมื่อจับไปนานๆ จะรู้สึกว่าลมหายใจค่อยๆเบาลง จนในที่สุดไม่สามารถจับได้ บางทีก็ทำให้เกิดความฟุ้งซ่านขึ้น

2.ใช้สติจับที่การเคลื่อนที่ของพอง-ยุบ หรืออาการของท้องที่เป็นผลกระทบของลมที่ผนังท้องด้านใน โดยไม่พิจรณาสัณฐานของท้อง แยกออกเป็น
ก. รู้ลงไปตรงๆกับอาการท้องพอง-ยุบ ตามลมหายใจเข้าออก หายใจเข้า ท้องพอง หายใจออก ท้องยุบ ยกตัวอย่างให้เห็นภาพชัดเจนขึ้น เช่น การเป่าลมใส่ลูกโป่ง ถ้าเป่าลมใส่ ลูกโป่งจะพอง ถ้าเอาลมออก ลูกโป่งจะแฟ่บ
ข.ใช้ " หนอ " ช่วยในการรู้ เช่น พองหนอ ยุบหนอ ตามอาการพอง-ยุบ ของท้อง
วิธีนี้ บางคนกำหนดแล้ว ท้องแข็งเป็นกระดาน บางคนแก้ตรงนี้ไม่ได้ ก็เลยพาลเลิกปฏิบัติแนวนี้ไป เพราะคิดว่า ตัวเองทำไม่ได้

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 ม.ค. 2009, 20:41 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5975

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


walaiporn เขียน:
การเจริญอานาปนสติ มี 2 แบบ

1.ใช้สติจับความรู้สึกตรงจุดที่ลมกระทบ " วาโยโผฏฐพฺพรูปํ " ( วาโย=ลม , โผฏฐพฺพ=กระทบ , รูปํ=รูป ) ตรงบริเวณปลายจมูกทั้งขณะหายใจเข้าและหายใจออก พร้อมกับกำหนดรู้อาการกระทบ เมื่อจับไปนานๆ จะรู้สึกว่าลมหายใจค่อยๆเบาลง จนในที่สุดไม่สามารถจับได้ บางทีก็ทำให้เกิดความฟุ้งซ่านขึ้น

2.ใช้สติจับที่การเคลื่อนที่ของพอง-ยุบ หรืออาการของท้องที่เป็นผลกระทบของลมที่ผนังท้องด้านใน โดยไม่พิจรณาสัณฐานของท้อง แยกออกเป็น
ก. รู้ลงไปตรงๆกับอาการท้องพอง-ยุบ ตามลมหายใจเข้าออก หายใจเข้า ท้องพอง หายใจออก ท้องยุบ ยกตัวอย่างให้เห็นภาพชัดเจนขึ้น เช่น การเป่าลมใส่ลูกโป่ง ถ้าเป่าลมใส่ ลูกโป่งจะพอง ถ้าเอาลมออก ลูกโป่งจะแฟ่บ
ข.ใช้ " หนอ " ช่วยในการรู้ เช่น พองหนอ ยุบหนอ ตามอาการพอง-ยุบ ของท้อง
วิธีนี้ บางคนกำหนดแล้ว ท้องแข็งเป็นกระดาน บางคนแก้ตรงนี้ไม่ได้ ก็เลยพาลเลิกปฏิบัติแนวนี้ไป เพราะคิดว่า ตัวเองทำไม่ได้


สำหรับคนที่ใช้การเจริญอานาปนสติแบบที่ 2 นั้น

วิธีเริ่มต้น ทั้งของข้อ ก. และข้อ ข. คือ เมื่อนั่งลง ให้เอาฝ่ามือทั้งสองข้าง วางประสานกันที่หน้าท้องตรงสะดือ ให้หายใจยาวๆก่อน แล้วปล่อยลมหายใจยาวๆตามสบาย แรกๆถ้ามีเสียงดัง หรือมีอะไรมากระทบ ยังไม่ต้องไปกำหนดตรงสิ่งๆนั้น ให้เอาจิตจดจ่ออยู่กับอาการท้องที่พองขึ้น ยุบลง ตามลมหายใจเข้าออก

สำหรับข้อ ก. นั้น ให้เอาจิตจดจ่อดูแต่อาการที่ท้องพองยุบอย่างเดียว ไม่ต้องใช้คำภาวนาใดๆทั้งสิ้น เพราะว่า ใช้รูป-นามเป็นอารมณ์

สำหรับข้อ ข. เหมาะสำหรับคนที่ชอบฟุ้งซ่าน

ในการใช้ภาวนา " หนอ " เข้าช่วยนั้น บางคนยังไม่รู้เลยว่า เวลาหายใจเข้าท้องจะพอง หายใจออก ท้องจะยุบ ฉะนั้นจึงทำได้ 2 แบบ คือ พอหายใจเข้าก็กำหนดพองหนอ หายใจออก กำหนด ยุบหนอ ตามลมหายใจเข้าออก อันนี้จะไม่ดูอาการของท้องที่พองยุบก็ได้ เพียงใช้การภาวนาตามลมหายใจเข้าออก

ส่วนอีกแบบคือ นั่งนิ่งๆ เอาฝ่ามือทั้งสองประสานวางทับกันบนหน้าท้อง หายใจยาวๆไปเรื่อยๆก่อน จนกระทั่งจับอาการท้องพองยุบตามลมหายใจเข้าออกได้อย่างชัดเจน ค่อยใช้คำภานา พองหนอ ยุบหนอ ตามอาการที่ท้องพองยุบ

แต่ถ้าบางคนนั่งแล้วยังจับอาการท้องพองยุบไม่ได้ ให้นอนลง นอนหงาย เอาฝ่ามือวางประสานบนหน้าท้อง หายใจยาวๆไปเรื่อยๆ จนกว่าจะจับได้ชัด แล้วค่อยภาวนาพองหนอ ยุบหนอ ตามอาการของท้องที่พองยุบตามลมหายใจเข้าและออก พอท่านอนจับได้ชัดเจนดีแล้ว ค่อยมาเปลี่ยนเป็นท่านั่ง ลองทำดู ถ้าทำแล้วก็ยังจับไม่ได้อีก ก็ให้นอนจับท้องพองยุบไปเรื่อยๆ แต่ส่วนมากจะทำแบบนี้ไม่กี่ครั้ง เมื่อมาทำในท่านั่งก็จะจับได้ชัดเจน

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ม.ค. 2009, 06:46 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5975

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


สำหรับผู้ที่ใช้วิธีกำหนดดูลมหายใจ เมื่อลมหายใจละเอียดมากขึ้น จะจับลมหายใจไม่ได้ เหตุเนื่องจากว่า จิตเริ่มเข้าสู่ความสงบ แต่บางคนไม่รู้ บางคนก็สงสัยว่าลมหายใจนั้นหายไปไหน บางคนก็พยายามที่จะดึงลมหายใจออกมาให้เกิดขึ้นใหม่ ตรงนี้ เมื่อจิตเข้าสู่ความสงบ ลมที่กระทบปลายจมูกจะเบามากจนบางทีเหมือนลมหายใจนั้นหายไปจนไม่สามารถที่จะจับได้ ไม่ต้องไปพะวงหรือสงสัย เพราะว่า จะมีอาการของลมกระทบอีกที่ ที่ยังเกิดอย่างต่อเนื่องคือ อาการท้องพองยุบตามลมหายใจเข้าออกที่ชัดเจนมากๆ ให้เอาจิตมาจดจ่อตรงนี้แทน คือ เปลี่ยนที่กำหนด เพื่อจิตจะได้ไม่เกิดความฟุ้งซ่านเนื่องจากไปสงสัยว่าลมหายใจนั้นหายไปไหน

มีจุดสังเกตุอยู่อย่างหนึ่ง สำหรับผู้ที่เจริญอานาปนสติ ขณะนั่ง โดยผู้ที่ใช้การบริกรรมภาวนาอย่างเดียวนั้น เท่าที่เห็นๆ ส่วนมากจะเกิดนิมิต บางคนก็ไปติดนิมิต บางคนก็ไม่รู้ว่านี่คือ นิมิต ( เนื่องจากจิตของตัวเองไม่ยอมรับตามความเป็นจริง ด้วยความไม่รู้ หรือ เกิดความเชื่อต่อสิ่งที่ถูกสอนต่อๆกันมา )

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ม.ค. 2009, 06:39 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5975

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


จะรู้ได้อย่างไรว่าจิตเข้าสู่สมาธิแล้ว

บางคนก็สงสัยว่าอาการที่เกิดสมาธินั้น เป็นอาการอย่างไร ให้ดูง่ายๆ เวลาที่จับลมหายใจไม่ได้ บางคนก็เหมือนกายหายไป บางคนก็รู้สึกว่ามันนิ่ง มันสงบ จับอะไรไม่ได้เลย แต่จริงๆแล้ว ยังมีอาการทางกายที่จับได้อย่างชัดเจนคือ ลมที่กระทบท้องตามลมหายใจเข้าออก พอง ยุบ อยู่อย่างนั้น หรือเหมือนลมหายใจไม่มี นั่นแหละคืออาการที่กำลังเกิดสมาธิ ให้เปลี่ยนที่กำหนด ให้เอาจิตมาจดจ่อดูอาการท้องพองยุบแทน เพราะบางคนยังเจริญสติไม่มากพอ พอมีความรู้สึกว่า ลมหายใจ ความรู้สึกตัวก็ขาดหายไปทันที รู้ตัวอีกทีคือหมดเวลาตามที่ตั้งเวลาเอาไว้ นี่คือ สมาธิที่ขาดสติ จริงๆแล้วอาการเกิดสมาธินั้นมีหลายรูปแบบ ที่ยกมานี้ ยกมาเพียงคร่าวๆ

ในแง่ของการปฏิบัติ ควรเจริญสติปัฏฐาน 4 และทำสมาธิไปควบคู่กัน ไม่ใช่แค่ทำสมาธิเพียงอย่างเดียว ส่วนถ้าถามว่า งั้นเจริญสติอย่างเดียวได้ไหม ก็ต้องถามกลับว่า ทางเดินนั้นมี 2 ทาง จะไปทางตรงหรือทางอ้อม ทางตรงนั้น อย่างไรจึงเรียกว่าทางตรง ทางอ้อมนั้น อย่างไรจึงเรียกว่า ทางอ้อม

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 26 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 46 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร