วันเวลาปัจจุบัน 25 เม.ย. 2024, 16:02  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 110 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 4, 5, 6, 7, 8  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 ก.พ. 2010, 14:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
อาสาสมัคร
อาสาสมัคร
ลงทะเบียนเมื่อ: 21 มี.ค. 2009, 20:48
โพสต์: 744


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
จนแล้วจนรอดที่สมมุติเรียก นายกรัชกาย ก็ไม่ได้อะไรเลยเหมือนเดิม ไม่มีไม่ได้หลักปฏิบัติกะเขาเสียที

ขอคำแนะนำ...เค้าก็ไม่ตอบ เราจึงมีแต่ปริยัติเหมือนเดิม เฮ้อ... :b7:


อิอิ

ท่านกรัชกาย

ไม่มีหลักการปฏิบัติหรืองับ

ลองของผมหน่อยมั้ยงับ

“เวลาทำสมาธิ ให้ระลึกลมหายใจเข้าออก ให้รู้ลมหายใจเข้าออก หายใจเข้าสั้นก็รู้ หายใจออกสั้นก็รู้ หายใจเข้ายาวก็รู้ หายใจออกยาวก็รู้ ไม่ต้องบังคับลมหายใจ ตามรู้ลมหายใจเข้าออก สงบก็รู้ ไม่สงบก็รู้ สงบก็ไม่ยินดี ไม่สงบก็ไม่ยินร้าย ไม่เอาทั้งสงบและไม่สงบ เอาแค่รู้ตามความเป็นจริงของสภาวธรรมปัจจุบันนั้น”

.....................................................
“เวลาทำสมาธิ ให้ระลึกลมหายใจเข้าออก ให้รู้ลมหายใจเข้าออก ไม่ต้องบังคับลมหายใจ ตามรู้ลมหายใจเข้าออก สงบก็รู้ ไม่สงบก็รู้ สงบก็ไม่ยินดี ไม่สงบก็ไม่ยินร้าย ไม่เอาทั้งสงบและไม่สงบ เอาแค่รู้ตามความเป็นจริงของสภาวธรรมปัจจุบันนั้น”

ธรรมเหล่านี้เป็นไปเพื่อคลายกำหนัด
เป็นไปเพื่อไม่ประกอบสัตว์ไว้
เป็นไปเพื่อไม่สั่งสมกิเลส
เป็นไปเพื่อความเป็นผู้มักน้อย
เป็นไปเพื่อสันโดษ
เป็นไปเพื่อความสงัดจากหมู่คณะ
เป็นไปเพื่อปรารภความเพียร
เป็นไปเพื่อความเป็นคนเลี้ยงง่าย


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 ก.พ. 2010, 14:38 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ขงเบ้งเทพแห่งกลยุทธ์ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
จนแล้วจนรอดที่สมมุติเรียก นายกรัชกาย ก็ไม่ได้อะไรเลยเหมือนเดิม ไม่มีไม่ได้หลักปฏิบัติกะเขาเสียที

ขอคำแนะนำ...เค้าก็ไม่ตอบ เราจึงมีแต่ปริยัติเหมือนเดิม เฮ้อ... :b7:


อิอิ

ท่านกรัชกาย

ไม่มีหลักการปฏิบัติหรืองับ

ลองของผมหน่อยมั้ยงับ

“เวลาทำสมาธิ ให้ระลึกลมหายใจเข้าออก ให้รู้ลมหายใจเข้าออก หายใจเข้าสั้นก็รู้ หายใจออกสั้นก็รู้ หายใจเข้ายาวก็รู้ หายใจออกยาวก็รู้ ไม่ต้องบังคับลมหายใจ ตามรู้ลมหายใจเข้าออก สงบก็รู้ ไม่สงบก็รู้ สงบก็ไม่ยินดี ไม่สงบก็ไม่ยินร้าย ไม่เอาทั้งสงบและไม่สงบ เอาแค่รู้ตามความเป็นจริงของสภาวธรรมปัจจุบันนั้น”


งับๆ :b1:
หากกรัชกายทำตามนั้นแล้ว จะมีฤทธิ์มีเดชไปสู้กับพยานาคได้ไหมงับน่า :b20:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 ก.พ. 2010, 17:22 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
อาสาสมัคร
อาสาสมัคร
ลงทะเบียนเมื่อ: 21 มี.ค. 2009, 20:48
โพสต์: 744


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ขงเบ้งเทพแห่งกลยุทธ์ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
จนแล้วจนรอดที่สมมุติเรียก นายกรัชกาย ก็ไม่ได้อะไรเลยเหมือนเดิม ไม่มีไม่ได้หลักปฏิบัติกะเขาเสียที

ขอคำแนะนำ...เค้าก็ไม่ตอบ เราจึงมีแต่ปริยัติเหมือนเดิม เฮ้อ... :b7:


อิอิ

ท่านกรัชกาย

ไม่มีหลักการปฏิบัติหรืองับ

ลองของผมหน่อยมั้ยงับ

“เวลาทำสมาธิ ให้ระลึกลมหายใจเข้าออก ให้รู้ลมหายใจเข้าออก หายใจเข้าสั้นก็รู้ หายใจออกสั้นก็รู้ หายใจเข้ายาวก็รู้ หายใจออกยาวก็รู้ ไม่ต้องบังคับลมหายใจ ตามรู้ลมหายใจเข้าออก สงบก็รู้ ไม่สงบก็รู้ สงบก็ไม่ยินดี ไม่สงบก็ไม่ยินร้าย ไม่เอาทั้งสงบและไม่สงบ เอาแค่รู้ตามความเป็นจริงของสภาวธรรมปัจจุบันนั้น”


งับๆ :b1:
หากกรัชกายทำตามนั้นแล้ว จะมีฤทธิ์มีเดชไปสู้กับพยานาคได้ไหมงับน่า :b20:



จะไปตีกับพญานาคทำไมนิ

เป็นมิตรกันแล้ว เราก็ภาวนาของเราไปสิท่านกรัชกาย

เอา มรรค ผล พระนิพพานดีกว่า อิอิ

.....................................................
“เวลาทำสมาธิ ให้ระลึกลมหายใจเข้าออก ให้รู้ลมหายใจเข้าออก ไม่ต้องบังคับลมหายใจ ตามรู้ลมหายใจเข้าออก สงบก็รู้ ไม่สงบก็รู้ สงบก็ไม่ยินดี ไม่สงบก็ไม่ยินร้าย ไม่เอาทั้งสงบและไม่สงบ เอาแค่รู้ตามความเป็นจริงของสภาวธรรมปัจจุบันนั้น”

ธรรมเหล่านี้เป็นไปเพื่อคลายกำหนัด
เป็นไปเพื่อไม่ประกอบสัตว์ไว้
เป็นไปเพื่อไม่สั่งสมกิเลส
เป็นไปเพื่อความเป็นผู้มักน้อย
เป็นไปเพื่อสันโดษ
เป็นไปเพื่อความสงัดจากหมู่คณะ
เป็นไปเพื่อปรารภความเพียร
เป็นไปเพื่อความเป็นคนเลี้ยงง่าย


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 ก.พ. 2010, 21:22 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ขงเบ้งเทพแห่งกลยุทธ์ เขียน:

ลองของผมหน่อยมั้ยงับ

“เวลาทำสมาธิ ให้ระลึกลมหายใจเข้าออก ให้รู้ลมหายใจเข้าออก หายใจเข้าสั้นก็รู้ หายใจออกสั้นก็รู้ หายใจเข้ายาวก็รู้ หายใจออกยาวก็รู้ ไม่ต้องบังคับลมหายใจ ตามรู้ลมหายใจเข้าออก สงบก็รู้ ไม่สงบก็รู้ สงบก็ไม่ยินดี ไม่สงบก็ไม่ยินร้าย ไม่เอาทั้งสงบและไม่สงบ เอาแค่รู้ตามความเป็นจริงของสภาวธรรมปัจจุบันนั้น”

เราก็ภาวนาของเราไปสิท่านกรัชกาย

เอา มรรค ผล พระนิพพานดีกว่า อิอิ



ท่านขงเบ้งฯ แค่เราภาวนาลมหายใจเข้าๆออกๆ ยังงั้น ก็ได้มรรค ผล นิพพานแล้วหรือขอรับ

อะไรจะง่ายปานนั้น

แล้ว มรรค ผล นิพพาน เป็นยังไงล่ะขอรับ ทำอะไรช่วยอะไรเราได้บ้างล่ะขอรับ :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 ก.พ. 2010, 21:53 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
จะไปตีกับพญานาคทำไมนิ

เป็นมิตรกันแล้ว เราก็ภาวนาของเราไปสิท่านกรัชกาย

เอา มรรค ผล พระนิพพานดีกว่า อิอิ



สมมุติว่าได้อย่าง ขงเบ้งฯ ว่าแล้ว พอจะลงไปตีกับพยานาคไหวไหมขอรับ

อยากตีกับพยานาค :b1: :b12:

http://www.kroobannok.com/27502

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 ก.พ. 2010, 22:50 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
อาสาสมัคร
อาสาสมัคร
ลงทะเบียนเมื่อ: 21 มี.ค. 2009, 20:48
โพสต์: 744


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ขงเบ้งเทพแห่งกลยุทธ์ เขียน:

ลองของผมหน่อยมั้ยงับ

“เวลาทำสมาธิ ให้ระลึกลมหายใจเข้าออก ให้รู้ลมหายใจเข้าออก หายใจเข้าสั้นก็รู้ หายใจออกสั้นก็รู้ หายใจเข้ายาวก็รู้ หายใจออกยาวก็รู้ ไม่ต้องบังคับลมหายใจ ตามรู้ลมหายใจเข้าออก สงบก็รู้ ไม่สงบก็รู้ สงบก็ไม่ยินดี ไม่สงบก็ไม่ยินร้าย ไม่เอาทั้งสงบและไม่สงบ เอาแค่รู้ตามความเป็นจริงของสภาวธรรมปัจจุบันนั้น”

เราก็ภาวนาของเราไปสิท่านกรัชกาย

เอา มรรค ผล พระนิพพานดีกว่า อิอิ



ท่านขงเบ้งฯ แค่เราภาวนาลมหายใจเข้าๆออกๆ ยังงั้น ก็ได้มรรค ผล นิพพานแล้วหรือขอรับ

อะไรจะง่ายปานนั้น

แล้ว มรรค ผล นิพพาน เป็นยังไงล่ะขอรับ ทำอะไรช่วยอะไรเราได้บ้างล่ะขอรับ :b1:



มรรค เป็น ชื่อของสภาวะธรรมขณะชำแรกกิเลสออกจากจิต

ผล เป็น ชื่อของ สภาวะธรรม ขณะกิเลสกับจิตแยกจากกัน ไม่ข้องกันอีก

นิพพาน เป็น สภาวะธรรมธาตุที่เหนือบัญญัติ ไม่มีคำสมมุติใดมาอธิบายได้แจ้ง

อันนี้ไม่ใช่อานาปาณสติธรรมดา

แต่ ตัวนี้คือสมาธิที่เป็นไปเพื่อความสิ้นตัญหา

เพื่อธรรมเครื่องหลุดพ้น

.....................................................
“เวลาทำสมาธิ ให้ระลึกลมหายใจเข้าออก ให้รู้ลมหายใจเข้าออก ไม่ต้องบังคับลมหายใจ ตามรู้ลมหายใจเข้าออก สงบก็รู้ ไม่สงบก็รู้ สงบก็ไม่ยินดี ไม่สงบก็ไม่ยินร้าย ไม่เอาทั้งสงบและไม่สงบ เอาแค่รู้ตามความเป็นจริงของสภาวธรรมปัจจุบันนั้น”

ธรรมเหล่านี้เป็นไปเพื่อคลายกำหนัด
เป็นไปเพื่อไม่ประกอบสัตว์ไว้
เป็นไปเพื่อไม่สั่งสมกิเลส
เป็นไปเพื่อความเป็นผู้มักน้อย
เป็นไปเพื่อสันโดษ
เป็นไปเพื่อความสงัดจากหมู่คณะ
เป็นไปเพื่อปรารภความเพียร
เป็นไปเพื่อความเป็นคนเลี้ยงง่าย


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ก.พ. 2010, 08:55 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
เวลาทำสมาธิ ให้ระลึกลมหายใจเข้าออก ให้รู้ลมหายใจเข้าออก หายใจเข้าสั้นก็รู้ หายใจออกสั้นก็รู้ หายใจเข้ายาวก็รู้ หายใจออกยาวก็รู้ ไม่ต้องบังคับลมหายใจ ตามรู้ลมหายใจเข้าออก สงบก็รู้ ไม่สงบก็รู้ สงบก็ไม่ยินดี ไม่สงบก็ไม่ยินร้าย ไม่เอาทั้งสงบและไม่สงบ เอาแค่รู้ตามความเป็นจริงของสภาวธรรมปัจจุบันนั้น”


ขอคำอธิบายประเด็นใช้ลมหายใจเข้าออกว่าทำไม มีเหตุผลอย่างไรถึงทำให้ถึงมรรคผลนิพพานได้ :b1: คือ กิเลสหลุดไปได้ยังไง

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ก.พ. 2010, 14:48 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
อาสาสมัคร
อาสาสมัคร
ลงทะเบียนเมื่อ: 21 มี.ค. 2009, 20:48
โพสต์: 744


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:
เวลาทำสมาธิ ให้ระลึกลมหายใจเข้าออก ให้รู้ลมหายใจเข้าออก หายใจเข้าสั้นก็รู้ หายใจออกสั้นก็รู้ หายใจเข้ายาวก็รู้ หายใจออกยาวก็รู้ ไม่ต้องบังคับลมหายใจ ตามรู้ลมหายใจเข้าออก สงบก็รู้ ไม่สงบก็รู้ สงบก็ไม่ยินดี ไม่สงบก็ไม่ยินร้าย ไม่เอาทั้งสงบและไม่สงบ เอาแค่รู้ตามความเป็นจริงของสภาวธรรมปัจจุบันนั้น”


ขอคำอธิบายประเด็นใช้ลมหายใจเข้าออกว่าทำไม มีเหตุผลอย่างไรถึงทำให้ถึงมรรคผลนิพพานได้ :b1: คือ กิเลสหลุดไปได้ยังไง



การที่เรายึดลมหายใจ หรือทำสมาธิด้วยวิธีใดก็ตามเน้น สงบ

ไม่เน้นเอาสัจธรรม การที่เน้นเอาสงบ จึงเป็น ตัญหา 3 อยู่

การละตัญหาเท่ากับ ละ สมุทัย ทุกข์ก็จะไม่เกิด

ทุกข์ก็ดับ มรรคก็เกิด นิโรธะก็เกิด

ความจริงแล้วการเอาสัจธรรม ถือว่า เป็น สัมมาทิฏฐิ

.....................................................
“เวลาทำสมาธิ ให้ระลึกลมหายใจเข้าออก ให้รู้ลมหายใจเข้าออก ไม่ต้องบังคับลมหายใจ ตามรู้ลมหายใจเข้าออก สงบก็รู้ ไม่สงบก็รู้ สงบก็ไม่ยินดี ไม่สงบก็ไม่ยินร้าย ไม่เอาทั้งสงบและไม่สงบ เอาแค่รู้ตามความเป็นจริงของสภาวธรรมปัจจุบันนั้น”

ธรรมเหล่านี้เป็นไปเพื่อคลายกำหนัด
เป็นไปเพื่อไม่ประกอบสัตว์ไว้
เป็นไปเพื่อไม่สั่งสมกิเลส
เป็นไปเพื่อความเป็นผู้มักน้อย
เป็นไปเพื่อสันโดษ
เป็นไปเพื่อความสงัดจากหมู่คณะ
เป็นไปเพื่อปรารภความเพียร
เป็นไปเพื่อความเป็นคนเลี้ยงง่าย


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ก.พ. 2010, 20:03 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2007, 09:55
โพสต์: 1632


 ข้อมูลส่วนตัว


เจ้าผู้ใช้ชื่อว่า "วังทอง" เอ็งอย่าทำเป็นโอ้อวด และอวดอุตริฯ และทำตัวแบบ "นายว่า ขี้ข้าอย่างเอ็งก็พลอยตาม" เอ็งบอกว่าได้โมกขธรรมหรือ โมกขธรรมของเอ็งมันมีอะไรบ้างละ เอ็งว่า ร่างกายเอ็งโปร่งแสงหรือ เอ็งบอกที่อยู่ หมายเลขบัตรประชาชนมา ข้าฯจะให้เจ้าหน้าที่ไปพิสูจน์ เอ็งกล้าไหม ถ้าไม่กล้า ก็เอาหัวไปมุดชายผ้าถุงมาดาของเอ็งเอาไว้อย่าได้โผล่หน้ามาอีก


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ก.พ. 2010, 20:54 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2007, 09:55
โพสต์: 1632


 ข้อมูลส่วนตัว


sriariya เขียน:
เจ้าผู้ใช้ชื่อว่า "วังทอง" เอ็งอย่าทำเป็นโอ้อวด และอวดอุตริฯ และทำตัวแบบ "นายว่า ขี้ข้าอย่างเอ็งก็พลอยตาม" เอ็งบอกว่าได้โมกขธรรมหรือ โมกขธรรมของเอ็งมันมีอะไรบ้างละ เอ็งว่า ร่างกายเอ็งโปร่งแสงหรือ เอ็งบอกที่อยู่ หมายเลขบัตรประชาชนมา ข้าฯจะให้เจ้าหน้าที่ไปพิสูจน์ เอ็งกล้าไหม ถ้าไม่กล้า ก็เอาหัวไปมุดชายผ้าถุงมาดาของเอ็งเอาไว้อย่าได้โผล่หน้ามาอีก


ส่วนคนอื่นๆ ก็อย่าอวดอุตริฯ ไม่รู้จริง ก็อย่าทำเป็นสอน

ข้าฯจะโปรด.... อย่างพวกเอ็งเอาไว้ว่า " สมาธิ เป็นธรรมชาติของมนุษย์ ที่เกิดขึ้น โดยธรรมชาติ ไม่ว่าบุคคลผู้นั้นจะนับถือศาสนาไหน เชื้อชาติไหน ก็ตาม ดังนั้น สมาธิ จึงเป็นเพียงเครื่องมือ หรือปัจจัยประกอบในการแสดงพฤติกรรมต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่เจริญแล้ว สมาธิ ไม่ได้เป็นสิ่งที่ทำให้เกิดการดับ แห่งกิเลส แต่

สมาธิ เป็นเพียง ทำให้บุคคลรู้จักควบคุมตัวเอง คือ ความมีสติ สัมปชัญญะ

เมื่อท่านทั้งหลายอ่านแล้ว ก็ให้คิดพิจารณาให้ดี อย่าทำตัวเป็น ประเภทตัวละครเรื่อง "มังกรหยก"
และอย่าทำเป็นเป็นอวดรู้ อวดฉลาด อวดอุตริฯ บิดเบือนหลักธรรมคำสอน ทางพุทธศาสนา
อย่าคิดว่า ไม่มีความผิดทางกฎหมายนะขอรับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ก.พ. 2010, 20:15 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2007, 09:55
โพสต์: 1632


 ข้อมูลส่วนตัว


อะไรคือ ทุกข์,สมุทัย,นิโรธ,มรรค ตามพระไตรปิฎก

ทุกข์ หมายถึง 1.สภาพที่ทนอยู่ได้ยาก, สภาพที่คงทนอยู่ไม่ได้ เพราะถูกบีบคั้นด้วยความเกิดขึ้นและความดับสลาย เนื่องจากต้องเป็นไปตามเหตุปัจจัยที่ไม่ขึ้นต่อตัวมันเอง 2.สภาพที่ทนได้ยาก, ความรู้สึกไม่สบาย ได้แก่ ทุกขเวทนา, ถ้ามาคู่กับโทมนัส (ในเวทนา ๕) ทุกข์ หมายถึงความไม่สบายกายคือทุกข์กาย (โทมนัสคือไม่สบายใจ) แต่ถ้ามาลำพัง (ในเวทนา ๓) ทุกข์ หมายถึงความไม่สบายกายไม่สบายใจ คือทั้งทุกข์กายและทุกข์ใจ

สมุทัย หมายถึง เหตุให้เกิดทุกข์ ได้แก่ ตัณหา คือความทะยานอยาก เช่น อยากได้นั่นได้นี่ อยากเป็นโน่นเป็นนี่ อยากไม่เป็นโน่นเป็นนี่ (ข้อ ๒ ในอริยสัจ ๔) ดู ตัณหา

นิโรธ หมายถึง ความดับทุกข์ คือดับตัณหาได้สิ้นเชิง, ภาวะปลอดทุกข์เพราะไม่มีทุกข์ที่จะเกิดขึ้นได้ หมายถึงพระนิพพาน

มรรค หมายถึง ทาง, หนทาง 1.มรรค ว่าโดยองค์ประกอบ คือ ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ เรียกเต็มว่า อริยอัฏฐังคิกมรรค แปลว่าทางมีองค์ ๘ ประการอันประเสริฐ เรียกสามัญว่า มรรคมีองค์ ๘ คือ
๑.สัมมาทิฏฐิ เห็นชอบ
๒.สัมมาสังกัปปะ ดำริชอบ
๓.สัมมาวาจา เจรจาชอบ
๔.สัมมากัมมันตะ ทำการชอบ
๕.สัมมาอาชีวะ เลี้ยงชีพชอบ
๖.สัมมาวายามะ เพียรชอบ
๗.สัมมาสติ ระลึกชอบ
๘.สัมมาสมาธิ ตั้งจิตมั่นชอบ

2.มรรค ว่าโดยระดับการให้สำเร็จกิจ คือ ทางอันให้ถึงความเป็นอริยบุคคลแต่ละขั้น, ญาณที่ทำให้ละสังโยชน์ได้ขาด เป็นชื่อแห่งโลกุตตรธรรม คู่กับผล มี ๔ ชั้นคือ โสดาปัตติมรรค ๑ สกทาคามิมรรค ๑ อนาคามิมรรค ๑ อรหัตตมรรค ๑
(จากพจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับพระธรรมปิฎกฯ)

เมื่อท่านทั้งหลายได้อ่านความหมายและทำความเข้าใจเกี่ยวกับ อริยสัจ ๔ กันพอสังเขปแล้ว
ก็ให้คิดพิจารณาให้ดีซิว่า
ตามหลักธรรมคำสอน แห่งข้าพเจ้าศรีอารยเมตไตรย ที่กล่าวไว้ว่า
เครื่องดิ้นรน แห่งสรรพสิ่ง อันเป็นเหตุให้เกิด ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค ล้วนมีองค์ ๘ ประกอบไปด้วย

๑.การครองเรือน
๒.ทาน คือ การให้
๓.กตัญญู การรู้คุณในสรรพสิ่ง
๔.เจรจา การติดต่อสื่อสาร
๕.สรรพอาชีพ
๖.ประพฤติ
๗.ระลึก
๘.ดำริ
เป็นเหตุที่ทำให้เกิด อริยสัจ ตามหลักพระไตรปิฎกหรือไม่
พิจารณาให้ดี ปัญญาเกิด ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ก็ปรากฏนับไม่ถ้วน ฉะนี้

จ่าสิบตรี เทวฤทธิ์ ทูลพันธ์
๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 04 มี.ค. 2010, 19:58 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2007, 09:55
โพสต์: 1632


 ข้อมูลส่วนตัว


เมื่อท่านทั้งหลาย ได้ทำความเข้าใจ ในหลักการทางพระไตรปิฎก เกี่ยวกับ ทุกข์,สมุทัย,นิโรธ,มรรค จนเกิดความเข้าใจ

และเมื่อท่านทั้งหลาย ได้ทำความเข้าใจเกี่ยวกับ หลัก โมกษะธรรม อันเป็นเหตุแห่ง ทุกข์ ,สมุทัย, นิโรธ ,มรรค กันดีแล้ว

ท่านทั้งหลาย ก็จะพบ สัจจะธรรม และอาจจะรู้จริงรู้แจ้ง ไปถึงการปฏิบัติในหมวดธรรมอื่นๆตามมาด้วย

หลักปฏิบัติ ทางพุทธศาสนา อย่างหนึ่ง คือ การปฏิบัติสมาธิ ตามหลัก รูปฌาน(ชาน)

ท่านทั้งหลาย ไม่ว่าจะอยู่ในบทบาทใด ที่เกี่ยวข้องกับพุทธศาสนา ควรได้ทำความเข้าใจ และจดจำ คำว่า

การปฏิบัติสมาธิ ตามหลัก รูปฌาน(ชาน) เอาไว้ให้แม่นมั่น เพราะเป็นคำจำกัดความเฉพาะที่ถูกต้องในการใช้เรียกตามหลักพุทธศาสนา

ซึ่งในที่นี้ข้าพเจ้าไม่ต้องอธิบายในเรื่องของ รูปฌาน(ชาน) เหตุเพราะ คำจำกัดความเฉพาะ มีความหมายที่ชัดเจน ชัดแจ้งอยู่แล้ว

ส่วน อรูปฌาน(ชาน) นั้นเป็นเรื่องยาก และอาจมีอันตรายต่อตัวผู้ปฏิบัติ ก็เป็นได้ แต่ท่านทั้งหลายอย่าได้หลงเชื่อในคำกล่าวของข้าพเจ้าเสียเลยทีเดียว นะขอรับ เพราะคำกล่าวของข้าพเจ้า เป็นเพียงการวิจัย ศึกษา ค้นคว้า และทดลองปฏิบัติ ยังไม่ได้ผลที่ชัดเจน เนื่องจากข้าพเจัาเองก็เกรงจะเป็นอันตรายต่อตัวเอง เพราะต้องปฏิสัมพันธ์ กับสังคมสิ่งแวดล้อม
ก็ให้ท่านทั้งหลายฟังหูไว้หูก็แล้วกัน

จ่าสิบตรี เทวฤทธิ์ ทูลพันธ์
๔ มีนาคม ๒๕๕๓


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 มี.ค. 2010, 19:51 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 5
สมาชิก ระดับ 5
ลงทะเบียนเมื่อ: 10 ก.พ. 2010, 13:35
โพสต์: 355

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


มาเข้าใจbasic ของ โมกษะ โมกขธรรม กันก่อนว่าหมายถึงอะไร?

ในยุคก่อนพุทธกาล มีผู้แสวงหาโมกษะกันมาก แต่ก็ไม่มีผู้ใดเข้าถึงโมกษะ แต่ทว่ามีอาจารย์ 2 ท่าน ที่คนทั้งหลายเชื่อว่า เข้าถึงโมกษะแล้ว คือ อาฬารดาบสและอุทกดาบส เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะออกผนวช ใช้ชิ่อว่า มุนีสมณะ และมุนีสมณะก็ทรงศึกษาจากครูบาอาจารย์ทั้ง 2 ท่านนั้นด้วย

อาฬารดาบส สอนการทำสมาธิให้มุนีสมณะ จนทำสมาธิได้เท่าอาจารย์ คือฌาน 7 หรืออรูปฌาน 3 ส่วนอุทกดาบสก็สอนเจ้าชาย จนทำสมาธิได้เท่าอาจารย์เช่นกัน คือได้ฌาน 8 หรืออรูปฌาน 4 แต่เจ้าชายมุนีสมณะกลับรู้ด้วยตนเองว่า อรูปฌานทั้ง 2 ยังไม่ใช่โมกขธรรมหรือโมกษะ จึงออกจากสำนักแสวงหาโมกขธรรมต่อไป

โมกขธรรมหรือโมกษะ เป็นศัพท์ในศาสนาพราหมณ์ พระพุทธเจ้า( มุนีสมณะ หรือศากยมุนี )ก็เป็นนักบวชในศาสนาพราหมณ์ และก็ทรงแสวงหาโมกขธรรมหรือโมกษะเหมือนบุคคลอื่นๆในยุคนั้น

แล้ว...โมกขธรรมหรือโมกษะซึ่งเป็นเป้าหมายสูงสุดของศาสนาพราหมณ์ หมายถึงอะไรล่ะ

โมกขธรรมหรือโมกษะ หมายถึง "ความหลุดพ้น หรือ นิพพาน หรือวิมุติ" ซึ่งเป็นทางไปสู่ความไม่เกิด ไม่แก่ ไม่เจ็บ ไม่ตาย และเป็นอมตะ

ศาสนาพราหมณ์สมัยพุทธกาลมี 6 ลัทธิใหญ่ๆ แต่ละลัทธิสอนใกล้เคียงกันว่า ผู้ที่เข้าไปถึงโมกขธรรม หรือ โมกษะ หรือ หลุดพ้นแล้ว หรือ นิพพาน หรือวิมุติ จิตบริสุทธิ์ที่เรียกว่า อาตมัน(อัตตา)ของผู้นั้น จะเข้าไปรวมกับปรมาตมัน หรือพรหมัน ซึ่งเป็นปฐมวิญญาณ(อมตะ)และเป็นผู้ให้กำเนิดทุกสรรพสิ่งในจักรวาล ปรมาตมันกับพรหมันเป็นสิ่งเดียวกัน พรหมันจะแยกแตกตัวหรือกระจายตัวเองเป็นจำนวนเท่าไร ไปทำหน้าที่ต่างกันอย่างไรก็ตาม แต่แท้จริง สิ่งนั้นก็คือ “พรหมัน”หรือ “องค์พระผู้เป็นเจ้า” นั่นเอง ศาสนาฮินดูเรียกพรหมันที่แตกตัวออกไปทำหน้าที่ใหญ่ 3 หน้าที่ว่า "ตรีมูรติ"

“องค์พระผู้เป็นเจ้า” ที่ทำหน้าที่สร้างหรือทำสรรพสิ่งให้เกิดขึ้น เรียกว่า "พรหม"
“องค์พระผู้เป็นเจ้า” ที่ทำหน้าที่ดำรงรักษาสรรพสิ่งที่ถูกสร้างมา เรียกว่า "นารายณ์"
“องค์พระผู้เป็นเจ้า” ที่ทำหน้าที่ทำลายสรรพสิ่งที่ถูกสร้างมา เรียกว่า "ศิวะ"

"ตรีมูรติ" - พรหม นารายณ์ ศิวะ สะท้อนให้เห็นว่า ทุกสรรพสิ่งในจักรวาลล้วน เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป หรือ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ทั้งนั้น ด้วยเหตุนี้ ผู้ที่หลุดพ้น ไม่เกิด ไม่แก่ ไม่เจ็บ ไม่ตาย จึงเท่ากับเป็นผู้ที่เข้าไปรวมกับปรมาตมัน หรือพรหมัน ซึ่งเป็นปฐมวิญญาณ(อมตะ)นั่นเอง ศาสนาพุทธเรียกผู้ที่หลุดพ้น ไม่เกิด ไม่แก่ ไม่เจ็บ ไม่ตายว่า "อสังขตธาตุ"


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 มี.ค. 2010, 19:55 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 5
สมาชิก ระดับ 5
ลงทะเบียนเมื่อ: 10 ก.พ. 2010, 13:35
โพสต์: 355

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ถกกันมา 7 หน้า แต่ไม่รู้ว่าโมกษธรรมคืออะไร? มีแต่คุยกันเรื่องเพ้อเจ้อ ไม่คุยกันที่แก่น
ผมจึงนำแก่นมาลง แต่พยามตั้งกระทู้มา 4 ครั้งแล้ว แต่โดนทีมงานลบทุกที

คนดีที่โลกลืม เขียน:
มาเข้าใจbasic ของ โมกษะ โมกขธรรม กันก่อนว่าหมายถึงอะไร?

ในยุคก่อนพุทธกาล มีผู้แสวงหาโมกษะกันมาก แต่ก็ไม่มีผู้ใดเข้าถึงโมกษะ แต่ทว่ามีอาจารย์ 2 ท่าน ที่คนทั้งหลายเชื่อว่า เข้าถึงโมกษะแล้ว คือ อาฬารดาบสและอุทกดาบส เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะออกผนวช ใช้ชิ่อว่า มุนีสมณะ และมุนีสมณะก็ทรงศึกษาจากครูบาอาจารย์ทั้ง 2 ท่านนั้นด้วย

อาฬารดาบส สอนการทำสมาธิให้มุนีสมณะ จนทำสมาธิได้เท่าอาจารย์ คือฌาน 7 หรืออรูปฌาน 3 ส่วนอุทกดาบสก็สอนเจ้าชาย จนทำสมาธิได้เท่าอาจารย์เช่นกัน คือได้ฌาน 8 หรืออรูปฌาน 4 แต่เจ้าชายมุนีสมณะกลับรู้ด้วยตนเองว่า อรูปฌานทั้ง 2 ยังไม่ใช่โมกขธรรมหรือโมกษะ จึงออกจากสำนักแสวงหาโมกขธรรมต่อไป

โมกขธรรมหรือโมกษะ เป็นศัพท์ในศาสนาพราหมณ์ พระพุทธเจ้า( มุนีสมณะ หรือศากยมุนี )ก็เป็นนักบวชในศาสนาพราหมณ์ และก็ทรงแสวงหาโมกขธรรมหรือโมกษะเหมือนบุคคลอื่นๆในยุคนั้น

แล้ว...โมกขธรรมหรือโมกษะซึ่งเป็นเป้าหมายสูงสุดของศาสนาพราหมณ์ หมายถึงอะไรล่ะ

โมกขธรรมหรือโมกษะ หมายถึง "ความหลุดพ้น หรือ นิพพาน หรือวิมุติ" ซึ่งเป็นทางไปสู่ความไม่เกิด ไม่แก่ ไม่เจ็บ ไม่ตาย และเป็นอมตะ

ศาสนาพราหมณ์สมัยพุทธกาลมี 6 ลัทธิใหญ่ๆ แต่ละลัทธิสอนใกล้เคียงกันว่า ผู้ที่เข้าไปถึงโมกขธรรม หรือ โมกษะ หรือ หลุดพ้นแล้ว หรือ นิพพาน หรือวิมุติ จิตบริสุทธิ์ที่เรียกว่า อาตมัน(อัตตา)ของผู้นั้น จะเข้าไปรวมกับปรมาตมัน หรือพรหมัน ซึ่งเป็นปฐมวิญญาณ(อมตะ)และเป็นผู้ให้กำเนิดทุกสรรพสิ่งในจักรวาล ปรมาตมันกับพรหมันเป็นสิ่งเดียวกัน พรหมันจะแยกแตกตัวหรือกระจายตัวเองเป็นจำนวนเท่าไร ไปทำหน้าที่ต่างกันอย่างไรก็ตาม แต่แท้จริง สิ่งนั้นก็คือ “พรหมัน”หรือ “องค์พระผู้เป็นเจ้า” นั่นเอง ศาสนาฮินดูเรียกพรหมันที่แตกตัวออกไปทำหน้าที่ใหญ่ 3 หน้าที่ว่า "ตรีมูรติ"

“องค์พระผู้เป็นเจ้า” ที่ทำหน้าที่สร้างหรือทำสรรพสิ่งให้เกิดขึ้น เรียกว่า "พรหม"
“องค์พระผู้เป็นเจ้า” ที่ทำหน้าที่ดำรงรักษาสรรพสิ่งที่ถูกสร้างมา เรียกว่า "นารายณ์"
“องค์พระผู้เป็นเจ้า” ที่ทำหน้าที่ทำลายสรรพสิ่งที่ถูกสร้างมา เรียกว่า "ศิวะ"

"ตรีมูรติ" - พรหม นารายณ์ ศิวะ สะท้อนให้เห็นว่า ทุกสรรพสิ่งในจักรวาลล้วน เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป หรือ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ทั้งนั้น ด้วยเหตุนี้ ผู้ที่หลุดพ้น ไม่เกิด ไม่แก่ ไม่เจ็บ ไม่ตาย จึงเท่ากับเป็นผู้ที่เข้าไปรวมกับปรมาตมัน หรือพรหมัน ซึ่งเป็นปฐมวิญญาณ(อมตะ)นั่นเอง ศาสนาพุทธเรียกผู้ที่หลุดพ้น ไม่เกิด ไม่แก่ ไม่เจ็บ ไม่ตายว่า "อสังขตธาตุ"


แก้ไขล่าสุดโดย คนดีที่โลกลืม เมื่อ 09 มี.ค. 2010, 20:00, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 มี.ค. 2010, 20:39 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2007, 09:55
โพสต์: 1632


 ข้อมูลส่วนตัว


เจ้า พลศักดิ์ คนดี ที่ลืมโลก
เจ้ามันพล่ามเพ้อเจ้อ ในเรื่องที่ตัวเจ้าไม่ได้รู้เรื่องรู้ราวอะไรเลย
ทีมงานเขาจะลบกระทู้อะไร ก็เรื่องของเขา มันหน้าที่ของเขา
เขาจะห้ามไม่ให้ใครเข้าเวบฯ ก็เรื่องของเขา เจ้ามันไม่รู้จักที่ควร หรือไม่ควร

เจ้าไปลอกข้อความของเวบฯอื่นมา ทำไมไม่ให้เกียรติเขา ทำไมไม่บอกว่า นำมาจากไหน
เอ็งรู้แก่นอะไรของเอ็งกันนะ สภาพจิตใจของเอ็งมันสติเฟื่อง ชัดๆ
เขาลบกระทู้ก็โวยวาย ว่าให้เขาเป็นมาร แล้วตัวเจ้าเป็นอะไรกันละ สภาพจิตใจ ความคิดของเจ้า เป็นมารหรือไม่ พิจารณาตัวเองซิ
เจ้ารู้อะไรเกี่ยวกับเทพเจ้าทางศาสนา ฮินดู ก็แค่ลอกเรียน และลอกเลียนแบบ ของเขามา
เจ้านับถือศาสนาอะไรกันนะ บ้าไม่มีหูรูดจริงๆเลย

เจ้าอยากเรียนวิชชาของจริงไหมละ มาเรียนกับข้าฯซิวะ ข้าฯคิดค่าเรียน จนจบหลักสูตร ห้าแสนบาทวะ มาซิ มาเรียนก้บข้าฯข้าฯจะสอนให้ เอาชนิดจบปุีป เหาะกลับบ้านไปเลยดีไหม (อิ อิ อิ ล้อเล่นน่า เจ้าสติเฟื่อง)


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 110 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 4, 5, 6, 7, 8  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 123 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร