วันเวลาปัจจุบัน 29 มี.ค. 2024, 13:41  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 107 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6 ... 8  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 มี.ค. 2010, 00:56 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
อาสาสมัคร
อาสาสมัคร
ลงทะเบียนเมื่อ: 21 มี.ค. 2009, 20:48
โพสต์: 745


 ข้อมูลส่วนตัว


หลับอยุ่ เขียน:
คุณขงเบ้งก่อนจะพูดอะไรช่วยดูก่อนนะครับ


จิตเป็นธาตุรู้ ไหมครับ?
เป็นมายตนะไหมครับ
แล้วหากจะดูจิตเห็นจิตอยู่ในสติปัฏฐาน4ต้องมีฌาณไหมครับ?
ฌาณต้องก่อนสติปัฏฐานมีหลังไหมครับ?



สรุปจะถามอะไรงับ

.....................................................
“เวลาทำสมาธิ ให้ระลึกลมหายใจเข้าออก ให้รู้ลมหายใจเข้าออก ไม่ต้องบังคับลมหายใจ ตามรู้ลมหายใจเข้าออก สงบก็รู้ ไม่สงบก็รู้ สงบก็ไม่ยินดี ไม่สงบก็ไม่ยินร้าย ไม่เอาทั้งสงบและไม่สงบ เอาแค่รู้ตามความเป็นจริงของสภาวธรรมปัจจุบันนั้น”

ธรรมเหล่านี้เป็นไปเพื่อคลายกำหนัด
เป็นไปเพื่อไม่ประกอบสัตว์ไว้
เป็นไปเพื่อไม่สั่งสมกิเลส
เป็นไปเพื่อความเป็นผู้มักน้อย
เป็นไปเพื่อสันโดษ
เป็นไปเพื่อความสงัดจากหมู่คณะ
เป็นไปเพื่อปรารภความเพียร
เป็นไปเพื่อความเป็นคนเลี้ยงง่าย


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 มี.ค. 2010, 01:08 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 10 พ.ย. 2009, 10:41
โพสต์: 4463

อายุ: 0
ที่อยู่: วัฏสงสาร

 ข้อมูลส่วนตัว


walaiporn เขียน:

การสนทนาเรื่อง ฌาน ก็ต้องเรื่องฌาน
ฌานมีโลกียะ กับ โลกุตระ ไม่ใช่ไปอ้างเรื่องอื่นๆเข้ามา
พวกชอบอ้าง ก็อ้างไปเรื่อย เอาไปปนกันหมด


หากคุณวลัยพรสามารถบอกได้ว่าถูกต้องตามตำราเป๊ะเลยคุณวลัยพรย่อมรู้สภาวะนั้นดีเหมือนพระสารีบุตรหรือเปล่าครับ?
แต่คุณวลัยพรถามผมกับคุณเช่นนั้น ว่ามีสภาวะยังไง?
แล้วคุณก็กล่าวคำนี้ที่ผมอ้างอิงออกมา คุณต้องดูด้วยว่าเจ้าของกระทู้เขาถามอะไร?เกี่ยวกับเรื่องไหนไม่ได้เอามาปนครับ


แก้ไขล่าสุดโดย หลับอยุ่ เมื่อ 26 มี.ค. 2010, 01:09, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 มี.ค. 2010, 01:15 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5977

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


หลับอยุ่ เขียน:
walaiporn เขียน:

การสนทนาเรื่อง ฌาน ก็ต้องเรื่องฌาน
ฌานมีโลกียะ กับ โลกุตระ ไม่ใช่ไปอ้างเรื่องอื่นๆเข้ามา
พวกชอบอ้าง ก็อ้างไปเรื่อย เอาไปปนกันหมด


หากคุณวลัยพรสามารถบอกได้ว่าถูกต้องตามตำราเป๊ะเลยคุณวลัยพรย่อมรู้สภาวะนั้นดีเหมือนพระสารีบุตรหรือเปล่าครับ?
แต่คุณวลัยพรถามผมกับคุณเช่นนั้น ว่ามีสภาวะยังไง?
แล้วคุณก็กล่าวคำนี้ที่ผมอ้างอิงออกมา คุณต้องดูด้วยว่าเจ้าของกระทู้เขาถามอะไร?เกี่ยวกับเรื่องไหนไม่ได้เอามาปนครับ





งั้นหรือ ... :b1:
เห็นอ้างเรื่อง โลกุตรฌาน ก็เลยถามกลับว่า สภาวะล่ะ เอาแบบพูดภาษาง่ายๆ
งั้นจบการสนทนา

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 มี.ค. 2010, 01:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 10 พ.ย. 2009, 10:41
โพสต์: 4463

อายุ: 0
ที่อยู่: วัฏสงสาร

 ข้อมูลส่วนตัว




.bmp
.bmp [ 352.18 KiB | เปิดดู 3437 ครั้ง ]
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๕ พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๒
วิภังคปกรณ์



บรรดาสติปัฏฐาน ๔ สติปัฏฐานไหนเป็นกุศล สติปัฏฐานไหนเป็นอกุศล
สติปัฏฐานไหนเป็นอัพยากฤต ฯลฯ สติปัฏฐานไหนเป็นสรณะ สติปัฏฐานไหน
เป็นอรณะ


ตามลิงค์นี้ครับ
เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๕ บรรทัดที่ ๖๓๙๕ - ๖๔๑๖. หน้าที่ ๒๗๖ - ๒๗๗.
http://84000.org/tipitaka/pitaka3/v.php ... agebreak=0


แก้ไขล่าสุดโดย หลับอยุ่ เมื่อ 26 มี.ค. 2010, 01:19, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 มี.ค. 2010, 01:40 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


การจะเข้าใจสภาวะธรรม ว่า มีสติ และมีสติบริสุทธิ์ นั้นต่างกันอย่างไร
ก็ต้องเข้าใจเรียนรู้ ที่มาที่ไป ด้วยการปฏิบัติเท่านั้น

สติที่บริสุทธิ์เป็นอริยะทรัพย์คือปัญญา

ภิกษุในธรรมวินัยนี้ สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม
บรรลุปฐมฌาน มีวิตก มีวิจาร มีปีติและสุขเกิดแต่วิเวกอยู่

แม้ในปฐมฌานี้ สภาวะธรรมก็ประกอบด้วยองค์ 4 เป็นผู้มีสติ แต่จิตแล่นไปในวิตกวิจาร มีความตามติดใจในสุขเวทนา สติยังไม่บริสุทธิ์เพราะความพอใจในกุศลธรรมในวิตกในวิจาร แต่ก็เป็นผู้มีสติ เพราะสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 มี.ค. 2010, 01:44 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เธอบรรลุทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่งจิตในภายใน
เป็นธรรมเอกผุดขึ้น เพราะวิตกวิจารสงบไป
ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิอยู่

แม้ในทุติยฌานี้ จิตไม่อาศัยวิตก ไม่อาศัยวิจาร จิตเป็นธรรมชาติรู้ชัดโดยสภาวะของจิตต่ออารมณ์อันเป็นกุศลที่ได้ตั้งได้รู้นั้น จิตทรงด้วยอารมณ์นั้น ด้วยสุขสัญญาที่ปรากฏ ยินดีต่อปิติ และสุขเวทนา
จิตนั้นก็ยังมีสติ อันมั่นอยู่ในกุศลธรรมที่เจริญไว้ แต่สตินั้นก็ยังไม่บริสุทธิ์ เพราะยังยินดีต่อสุขสัญญา ต่อปิติ และเวทนา

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 มี.ค. 2010, 01:46 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 21 ก.ย. 2007, 17:49
โพสต์: 1721

ที่อยู่: สุโขทัยธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


190 เขียน:
:b8:

ตัวรู้ หรือผู้รู้ หรือธาตุรู้ คืออะไร? - กะคือวิญญาณ

จะทำให้เกิดขึ้นได้อย่างไร? - อารมภายนอก มากระทบวัตถุภายใน จึงเกิด

รู้ได้อย่างไร? - รู้ด้วยสติที่ประกอบด้วย อริยสัจ4


:b8: โมทนา



:b44: ภูเขาน้ำ หรอ


แก้ไขล่าสุดโดย ดุสิตธานี เมื่อ 26 มี.ค. 2010, 01:47, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 มี.ค. 2010, 01:55 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เธอมีอุเบกขา มีสติ มีสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยกาย
เพราะปีติสิ้นไป บรรลุตติยฌานที่พระอริยทั้งหลาย สรรเสริญว่า
ผู้ได้ฌานนี้ เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติอยู่เป็นสุข

แม้ใน ตติยฌาน เพราะปิติสิ้นไป ไม่ทำความปราถนาหรือยินดีต่อปิติอันเป็นเหตุให้จิตฟุ้งไปในสภาวะนั้น จิตจะไม่ใส่ใจในทุกขเวทนาที่เกิดขึ้น วางเฉยต่ออารมณ์ใดๆ เพราะสุขสัญญา อันละเอียดกว่าสุขเวทนาอันเกิดขึ้นในทุติยฌาน จิตนั้นก็มีสติ แต่สติที่เกิดขึ้นก็ยังไม่บริสุทธิ์ เพียงแต่สงัดจากกาม และอกุศลธรรม แต่ยังคงพอใจในสุขสัญญาอันละเอียด

ผู้ทรงอารมณ์ในตติยฌาน ในระหว่างวันย่อมเป็นได้ และเป็นผู้มีความสุข ไม่ตรึกตามติดใจในเรื่องอื่นใดนอกจากเสพอารมณ์อันเป็นสุขในภายใน

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 มี.ค. 2010, 02:04 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เธอบรรลุจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข
เพราะละสุขละทุกข์ และดับโสมนัสโทมนัสก่อนๆ ได้
มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์อยู่

ผู้ที่เจริญ สัมมาสมาธิ ซึ่งบรรลุคุณสมบัติของสมาธิในจตุตถฌาน ย่อมสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม
ไม่ใส่ใจแม้สุขอันเกิดจากสุขสัญญา ไม่ตามติดใจในสุขเวทนา เพราะสัจจะสัญญาอันละเอียดกว่าสุขสัญญาเกิดขึ้น เป็นสัญญาในอุเบกขา และจิตก็ยังคงเสวยอทุกขมสุขเวทนาไปในขณะเดียวกัน สติที่เกิดในขณะนี้จึงเป็นสติที่บริสุทธิ์ เพราะสงัดแม้จากกาม สงัดแม้จากอกุศลธรรม ไม่ตามติดใจแม้แต่ความสุขอันเกิดจากสุขสัญญาเพราะอุเบกขาสัญญาอันละเอียดกว่าเจริญขึ้น จิตที่ประกอบด้วยสติอันบริสุทธิ์อย่างนี้จึงสามารถน้อมไปเพื่ออาสวักขยญาณ เพื่อถอนสังโยชน์ ละอนุสัยกิเลสได้

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 มี.ค. 2010, 02:25 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
walaiporn เขียน:

การสนทนาเรื่อง ฌาน ก็ต้องเรื่องฌาน
ฌานมีโลกียะ กับ โลกุตระ ไม่ใช่ไปอ้างเรื่องอื่นๆเข้ามา
พวกชอบอ้าง ก็อ้างไปเรื่อย เอาไปปนกันหมด


หัวข้อคือ ตัวรู้ ผู้รู้คืออะไร ทำให้เกิดขึ้นได้อย่างไร

จิตเป็นธรรมชาติรู้ มีสภาวะธรรม คือ "รู้" แต่ "รู้ชัด" เป็นหน้าที่ของปัญญาเจตสิก และจิตก็รู้ ในความรู้ชัดนั้นอีกทีหนึ่ง

คราวนี้มันเกี่ยวกับ ฌานอย่างไร
ในเมื่อจิตรู้ ในรู้ชัดซึ่งเป็นปัญญาเจตสิก คือรู้ให้สุดๆไปเลย จนกระทั้งรู้ว่าหลุดพ้นหรือไม่หลุดพ้น
การรู้แบบนี้ จึงเรียกว่า จะทำอย่างไรให้ ปัญญาเกิด

ปัญญามีสมาธิเป็นบาทฐาน นั่นหมายความว่า ปัญญาต้องอาศัยสมาธิ เพื่อความเจริญ ซึ่งการเจริญปัญญาก็มีอีกชื่อคือวิปัสสนาภาวนาซึ่งก็มีสมาธิเป็นบาทฐานอยู่ดี ปัญญาจะดีนั้น จิตก็ต้องไม่มีอะไรคอยรบกวนซึ่งคือกระแสกิเลส
อะไรเป็นเครื่องกั้นกระแสตัณหา โดยเบื้องต้นคือ กามและอกุศลธรรมนั่นเอง
อาศัย "สติ" นี่แหละเป็นตัวกั้นกระแสในโลก ให้จิตมีหิริ โอตัปปะ มีคุณธรรม มีมนุษยธรรม มีสัมมาทิฏฐิ รักษาจิตไม่ให้ห่างจากกุศลธรรม อย่างนี้ เรียกว่าเป็นผู้มีสติสัมปชัญญะ กล่าวคือระลึกรู้ว่าทำอะไร มีปัญญาอันเรียกว่าสัมปชัญญะรู้สึกตัวว่าทำเพื่ออะไร อะไรควรทำ ไม่ควรทำ

แต่หากต้องการ ปัญญาอันเป็นเครื่องนำออกจากทุกข์ นั่นคือต้องการจิตอันเป็นโลกุตตรภูมิ
สติที่ต้องชำระ ต้องชำระให้บริสุทธิ์อย่างยิ่งเพื่อ เจริญปัญญาให้เกิดอาสวัขยญาณ

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 มี.ค. 2010, 02:36 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5977

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
อ้างคำพูด:
walaiporn เขียน:

การสนทนาเรื่อง ฌาน ก็ต้องเรื่องฌาน
ฌานมีโลกียะ กับ โลกุตระ ไม่ใช่ไปอ้างเรื่องอื่นๆเข้ามา
พวกชอบอ้าง ก็อ้างไปเรื่อย เอาไปปนกันหมด


หัวข้อคือ ตัวรู้ ผู้รู้คืออะไร ทำให้เกิดขึ้นได้อย่างไร

จิตเป็นธรรมชาติรู้ มีสภาวะธรรม คือ "รู้" แต่ "รู้ชัด" เป็นหน้าที่ของปัญญาเจตสิก และจิตก็รู้ ในความรู้ชัดนั้นอีกทีหนึ่ง

คราวนี้มันเกี่ยวกับ ฌานอย่างไร
ในเมื่อจิตรู้ ในรู้ชัดซึ่งเป็นปัญญาเจตสิก คือรู้ให้สุดๆไปเลย จนกระทั้งรู้ว่าหลุดพ้นหรือไม่หลุดพ้น
การรู้แบบนี้ จึงเรียกว่า จะทำอย่างไรให้ ปัญญาเกิด

ปัญญามีสมาธิเป็นบาทฐาน นั่นหมายความว่า ปัญญาต้องอาศัยสมาธิ เพื่อความเจริญ ซึ่งการเจริญปัญญาก็มีอีกชื่อคือวิปัสสนาภาวนาซึ่งก็มีสมาธิเป็นบาทฐานอยู่ดี ปัญญาจะดีนั้น จิตก็ต้องไม่มีอะไรคอยรบกวนซึ่งคือกระแสกิเลส
อะไรเป็นเครื่องกั้นกระแสตัณหา โดยเบื้องต้นคือ กามและอกุศลธรรมนั่นเอง
อาศัย "สติ" นี่แหละเป็นตัวกั้นกระแสในโลก ให้จิตมีหิริ โอตัปปะ มีคุณธรรม มีมนุษยธรรม มีสัมมาทิฏฐิ รักษาจิตไม่ให้ห่างจากกุศลธรรม อย่างนี้ เรียกว่าเป็นผู้มีสติสัมปชัญญะ กล่าวคือระลึกรู้ว่าทำอะไร มีปัญญาอันเรียกว่าสัมปชัญญะรู้สึกตัวว่าทำเพื่ออะไร อะไรควรทำ ไม่ควรทำ

แต่หากต้องการ ปัญญาอันเป็นเครื่องนำออกจากทุกข์ นั่นคือต้องการจิตอันเป็นโลกุตตรภูมิ
สติที่ต้องชำระ ต้องชำระให้บริสุทธิ์อย่างยิ่งเพื่อ เจริญปัญญาให้เกิดอาสวัขยญาณ





เวลาอ่าน อ่านให้ละเอียดก่อน ก่อนที่จะตีความว่าพูดกับใครหรืออะไร
ไม่ใช่เอาก๊อปมาแปะไปเรื่อยเปื่อย

ก็ถามเรื่องสภาวะที่เป็นรูปธรรม ไม่ใช่เอาแบบตำรามาแปะ ท่องจำมาน่ะมีประโยชน์
แต่ไม่ได้ตอบมาตามสภาวะที่แยกได้ชัดเจน ก็ไม่เป็นไร
ซึ่งบอกไปแล้วว่าจบการสนทนาแล้ว คิดว่า น่าจะเข้าใจนะ

แต่จากกระทู้นี้ แสดงว่าไม่เข้าใจ งั้นจะนำมาให้อ่านอีกรอบ ว่าพูดกับใคร แล้วทำไมถึงพูดแบบนั้น
อ่านจากที่นำมาแปะนี่เลยนะ





ขงเบ้งเทพแห่งกลยุทธ์ เขียน:
หลับอยุ่ เขียน:
ฌาณต้องมีก่อนสติปัฏฐานมีทีหลัง

เชิญตามลิงค์นี้ได้เลยครับ :b8:
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๕ พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๒
วิภังคปกรณ์





เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๕ บรรทัดที่ ๖๓๑๑ - ๖๓๘๔. หน้าที่ ๒๗๓ - ๒๗๕.
http://84000.org/tipitaka/pitaka3/v.php ... agebreak=0



แล้วแต่คนงับ

บางพวก ปัญญานำสมาธิ

บางพวก สมาธินำปัญญา

สาธุงับ

แต่พวกที่ชอบอ้างสติปัฏฐาน เข้าใจยาก ไม่รู้จักสติปัฏฐาน มหาสติ มหาปัญญา แบบของจริงหรอก

ลอยลมไปเรื่อยๆ





นี่คือ คำตอบกระทู้นี่ ต่อเนื่องกัน

viewtopic.php?f=1&t=30327&st=0&sk=t&sd=a&start=15


walaiporn เขียน:

การสนทนาเรื่อง ฌาน ก็ต้องเรื่องฌาน
ฌานมีโลกียะ กับ โลกุตระ ไม่ใช่ไปอ้างเรื่องอื่นๆเข้ามา
พวกชอบอ้าง ก็อ้างไปเรื่อย เอาไปปนกันหมด




แต่ถ้าต้องการจะตอบจริงๆล่ะก็
ถามแค่ว่า สภาวะของฌานที่เป็นโลกียะ กับ โลกุตระ แตกต่างกันอย่างไร
ยกตัวอย่างง่ายสุดๆเลย เพราะเนื้อความไม่มาก

สภาวะของจตุตถฌานที่เป็นโลกียะ กับโลกุตระนั้น แตกต่างกันยังไง
อาการที่เกิดขึ้นน่ะ มันแตกต่างกันลิบลับ ต้องการให้บอกแค่นี้แหละว่าแตกต่างกันยังไง

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


แก้ไขล่าสุดโดย walaiporn เมื่อ 26 มี.ค. 2010, 02:44, แก้ไขแล้ว 2 ครั้ง.

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 มี.ค. 2010, 02:40 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
walaiporn เขียน:

การสนทนาเรื่อง ฌาน ก็ต้องเรื่องฌาน
ฌานมีโลกียะ กับ โลกุตระ ไม่ใช่ไปอ้างเรื่องอื่นๆเข้ามา
พวกชอบอ้าง ก็อ้างไปเรื่อย เอาไปปนกันหมด


คำถามนี้ เป็นคำถามที่ดี เหมาะทั้งโดยปริยัติ ทั้งโดยปฏิบัติ และโดยปฏิเวธ

การแสดงความเห็น แสดงตามหัวข้อกระทู้

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 มี.ค. 2010, 02:45 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5977

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


walaiporn เขียน:



แต่ถ้าต้องการจะตอบจริงๆล่ะก็
ถามแค่ว่า สภาวะของฌานที่เป็นโลกียะ กับ โลกุตระ แตกต่างกันอย่างไร
ยกตัวอย่างง่ายสุดๆเลย เพราะเนื้อความไม่มาก

สภาวะของจตุตถฌานที่เป็นโลกียะ กับโลกุตระนั้น แตกต่างกันยังไง
อาการที่เกิดขึ้นน่ะ มันแตกต่างกันลิบลับ ต้องการให้บอกแค่นี้แหละว่าแตกต่างกันยังไง





งั้นกรุณาช่วยตอบคำถามเรื่องสภาวะที่ถามไปด้วย

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


แก้ไขล่าสุดโดย walaiporn เมื่อ 26 มี.ค. 2010, 02:46, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 มี.ค. 2010, 03:01 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


walaiporn เขียน:
walaiporn เขียน:



แต่ถ้าต้องการจะตอบจริงๆล่ะก็
ถามแค่ว่า สภาวะของฌานที่เป็นโลกียะ กับ โลกุตระ แตกต่างกันอย่างไร
ยกตัวอย่างง่ายสุดๆเลย เพราะเนื้อความไม่มาก

สภาวะของจตุตถฌานที่เป็นโลกียะ กับโลกุตระนั้น แตกต่างกันยังไง
อาการที่เกิดขึ้นน่ะ มันแตกต่างกันลิบลับ ต้องการให้บอกแค่นี้แหละว่าแตกต่างกันยังไง





งั้นกรุณาช่วยตอบคำถามเรื่องสภาวะที่ถามไปด้วย


จิตใดที่ อาศัยนิพพาน มีนิพพานเป็นอารมณ์ จิตนั้นมีสภาวะอันแล่นไปในนิพพาน เป็นโลกุตตรฌาน
จิตใดที่ อาศัยนามรูป รู้ตามนามรูป มีนามรูปเป็นอารมณ์ จิตนั้นมีสภาวะแล่นไปในฌานอันเป็นโลกียะ

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


แก้ไขล่าสุดโดย เช่นนั้น เมื่อ 26 มี.ค. 2010, 03:04, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 มี.ค. 2010, 03:04 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5977

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
walaiporn เขียน:
walaiporn เขียน:



แต่ถ้าต้องการจะตอบจริงๆล่ะก็
ถามแค่ว่า สภาวะของฌานที่เป็นโลกียะ กับ โลกุตระ แตกต่างกันอย่างไร
ยกตัวอย่างง่ายสุดๆเลย เพราะเนื้อความไม่มาก

สภาวะของจตุตถฌานที่เป็นโลกียะ กับโลกุตระนั้น แตกต่างกันยังไง
อาการที่เกิดขึ้นน่ะ มันแตกต่างกันลิบลับ ต้องการให้บอกแค่นี้แหละว่าแตกต่างกันยังไง





งั้นกรุณาช่วยตอบคำถามเรื่องสภาวะที่ถามไปด้วย


จิตใดที่ อาศัยนิพพาน มีนิพพานเป็นอารมณ์ จิตนั้นมีสภาวะอันแล่นไปในนิพพาน เป็นโลกกุตตระฌาน
จิตใดที่ อาศัยนามรูป รู้ตามนามรูป มีนามรูปเป็นอารมณ์ จิตนั้นมีสภาวะแล่นไปในฌานอันเป็นโลกียะ





บอกแล้วว่า เอาที่เป็นรูปธรรม แบบภาษาชาวบ้านๆ ที่ไม่ได้เรียนปริยัติ
ขนาดมีคนเรียนปริยัติมา เรื่อง นิพพานยังถกเถียงกันแทบเป็นแทบตาย ยังไม่รู้จบ

เอาแบบภาษาชาวบ้านนะ พอพูดปั๊บบ ร้องอ๋อ ทันที
อ้อ ... มันแตกต่างกันแบบนี้นี่เอง

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 107 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6 ... 8  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 38 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร