วันเวลาปัจจุบัน 28 เม.ย. 2024, 20:44  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 252 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5 ... 17  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 พ.ย. 2011, 08:52 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 10 พ.ย. 2009, 10:41
โพสต์: 4463

อายุ: 0
ที่อยู่: วัฏสงสาร

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
การละขันธ์ ๕
[๒๕๑] ฉันนั้นเหมือนกัน วัจฉะ บุคคลเมื่อบัญญัติว่าเป็นสัตว์ พึงบัญญัติเพราะ
รูปใด
รูปนั้นตถาคตละได้แล้ว มีมูลรากอันขาดแล้ว ทำให้เป็นดุจตาลยอดด้วน ถึงความไม่มี
มีความไม่เกิดขึ้นต่อไปเป็นธรรมดา ตถาคตพ้นจากการนับว่ารูปมีคุณอันลึก อันใครๆ ประมาณ
ไม่ได้ หยั่งถึงได้โดยยาก. เปรียบเหมือนมหาสมุทรฉะนั้น ไม่ควรจะกล่าวว่าเกิด ไม่ควรจะ
กล่าวว่าไม่เกิด ไม่ควรจะกล่าวว่าเกิดก็มี ไม่เกิดก็มี ไม่ควรจะกล่าวว่า เกิดก็หามิได้ ไม่เกิด
ก็หามิได้. บุคคลเมื่อบัญญัติว่าเป็นสัตว์ พึงบัญญัติเพราะเวทนาใด ... เพราะสัญญาใด ... เพราะ
สังขารเหล่าใด ... เพราะวิญญาณใด ... วิญญาณนั้น ตถาคตละได้แล้ว มีมูลรากอันขาดแล้ว
ทำให้ดุจเป็นตาลยอดด้วน ถึงความไม่มี มีความไม่เกิดขึ้นต่อไปเป็นธรรมดา ตถาคตพ้นจากการ
นับว่าวิญญาณ มีคุณอันลึก อันใครๆ ประมาณไม่ได้ หยั่งถึงได้โดยยาก.
เปรียบเหมือน
มหาสมุทรฉะนั้น ไม่ควรจะกล่าวว่าไม่เกิด ไม่ควรจะกล่าวว่าเกิดก็มี ไม่เกิด
ก็มี ไม่ควรจะกล่าวว่า เกิดก็หามิได้ ไม่เกิดก็หามิได้.


แก้ไขล่าสุดโดย หลับอยุ่ เมื่อ 15 พ.ย. 2011, 18:17, แก้ไขแล้ว 3 ครั้ง.

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 พ.ย. 2011, 09:19 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 10 พ.ย. 2009, 10:41
โพสต์: 4463

อายุ: 0
ที่อยู่: วัฏสงสาร

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๙ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๑
ขุททกนิกาย มหานิทเทส



ว่าด้วยวิเวก ๓ อย่าง
[๓๓] คำว่า นรชนเช่นนั้น ย่อมอยู่ไกลจากวิเวก มีความว่า วิเวก ได้แก่ วิเวก ๓
อย่าง คือ กายวิเวก จิตตวิเวก อุปธิวิเวก.
กายวิเวกเป็นไฉน? ภิกษุในพระธรรมวินัยนี้ ย่อมซ่องเสพเสนาสนะอันสงัด คือ
ป่า โคนต้นไม้ ภูเขา ซอกเขา ถ้ำ ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง ลอมฟาง และเป็นผู้สงัดด้วยกายอยู่
คือ เดินผู้เดียว ยืนผู้เดียว นั่งผู้เดียว นอนผู้เดียว เข้าบ้านเพื่อบิณฑบาตผู้เดียว กลับผู้เดียว นั่ง
อยู่ในที่เร้นลับผู้เดียว อธิษฐานจงกรมผู้เดียว เป็นผู้เดียว เที่ยว อยู่ เปลี่ยนอริยาบถ ประพฤติ
รักษาเป็นไป ให้เป็นไป นี้ชื่อว่า กายวิเวก.
จิตตวิเวกเป็นไฉน?
ภิกษุผู้บรรลุปฐมฌาน
มีจิตสงัดจากนิวรณ์
บรรลุทุติยฌาน
มีจิต
สงัดจากวิตกและวิจาร
บรรลุตติยฌาน
มีจิตสงัดจากปีติ บรรลุจตุตตถฌาน มีจิตสงัดจากสุขและทุกข์
บรรลุอากาสานัญจายตนฌาน
มีจิตสงัดจากรูปสัญญา ปฏิฆสัญญา นานัตตสัญญา
บรรลุวิญญาณัญจายตนฌาน
มีจิตสงัดจากอากาสานัญจายตนสัญญา
บรรลุอากิญจัญญายตนฌาน
มีจิต
สงัดจากวิญญาณัญจายตนสัญญา
บรรลุเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน
มีจิตสงัดจากอากิญจัญญายตน
สัญญา
(เมื่อภิกษุนั้น) เป็นโสดาบันบุคคล มีจิตสงัดจากสักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพัตตปรามาส
ทิฏฐานุสัย วิจิกิจฉานุสัย และจากกิเลสที่ตั้งอยู่ในเหล่าเดียวกันกับสักกายทิฏฐิเป็นต้น
เป็นสกทาคามีบุคคล มีจิตสงัดจากกามราคสังโยชน์ ปฏิฆสังโยชน์ อย่างหยาบ กามราคานุสัย
ปฏิฆานุสัย อย่างหยาบ และจากกิเลสที่ตั้งอยู่ในเหล่าเดียวกันกันกามราคสังโยชน์อย่างหยาบ
เป็นต้นนั้น
เป็นอนาคามีบุคคล
มีจิตสงัดจากกามราคสังโยชน์ ปฏิฆสังโยชน์อย่างละเอียด
กามราคานุสัย ปฏิฆานุสัย อย่างละเอียด และจากกิเลสที่ตั้งอยู่ในเหล่าเดียวกันกับกามราค-
*สังโยชน์อย่างละเอียดเป็นต้นนั้น
เป็นอรหันตบุคคลมีจิตสงัดจากรูปราคะ อรูปราคะ มานะ
อุทธัจจะ อวิชชา มานานุสัย ภวราคานุสัย อวิชชานุสัย กิเลสที่ตั้งอยู่ในเหล่าเดียวกันกับ
รูปราคะเป็นต้นนั้น และจากสังขารนิมิตทั้งปวงในภายนอก
นี้ชื่อว่าจิตตวิเวก.
อุปธิวิเวกเป็นไฉน? กิเลสก็ดี ขันธ์ก็ดี อภิสังขารก็ดี เรียกว่าอุปธิ. อมตะ นิพพาน
เรียกว่าอุปธิวิเวก ได้แก่ธรรมเป็นที่ระงับสังขารทั้งปวง เป็นที่สละคืนอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้น
ตัณหา เป็นที่สำรอก เป็นที่ดับ เป็นที่ออกไปจากตัณหาเป็นเครื่องร้อยรัด นี้ชื่อว่าอุปธิวิเวก.
ก็กายวิเวก ย่อมมีแก่บุคคลผู้มีกายหลีกออกแล้ว ยินดียิ่งในเนกขัมมะ จิตตวิเวก
ย่อมมีแก่บุคคลผู้มีจิตบริสุทธิ์ ถึงซึ่งความเป็นผู้มีจิตผ่องแผ้วอย่าง
ยิ่ง อุปธิวิเวก ย่อมมีแก่
บุคคลผู้หมดอุปธิถึงซึ่งนิพพานอันเป็นวิสังขาร.
คำว่า ไกลจากวิเวก มีความว่า นรชนนั้นใด เป็นผู้ข้องอยู่ในถ้ำอย่างนี้ อันกิเลส
มากปิดบังไว้อย่างนี้ หยั่งลงในที่หลงอย่างนี้ นรชนนั้นย่อมอยู่ไกลแม้จากกายวิเวก ย่อมอยู่
ไกลแม้จากจิตตวิเวก ย่อมอยู่ไกลแม้จากอุปธิวิเวก คืออยู่ในที่ห่างไกลแสนไกล มิใช่ใกล้
มิใช่ใกล้ชิด มิใช่เคียง มิใช่ใกล้เคียง. คำว่า อย่างนั้น คือ ผู้หยั่งลงในที่หลง ชนิดนั้น
เช่นนั้น ดำรงอยู่ดังนั้น แบบนั้น เหมือนเช่นนั้น เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า นรชนเช่นนั้น
ย่อมอยู่ไกลจากวิเวก.
เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๙ บรรทัดที่ ๕๕๖ - ๕๘๙. หน้าที่ ๒๔ - ๒๕.
http://www.84000.org/tipitaka/read/v.ph ... agebreak=0


แก้ไขล่าสุดโดย หลับอยุ่ เมื่อ 15 พ.ย. 2011, 11:10, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 พ.ย. 2011, 10:06 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5013


 ข้อมูลส่วนตัว


หลับอยุ่ เขียน:
Quote Tipitaka:
การละขันธ์ ๕
[๒๕๑] ฉันนั้นเหมือนกัน วัจฉะ บุคคลเมื่อบัญญัติว่าเป็นสัตว์ พึงบัญญัติเพราะ
รูปใด
รูปนั้นตถาคตละได้แล้ว มีมูลรากอันขาดแล้ว ทำให้เป็นดุจตาลยอดด้วน ถึงความไม่มี
มีความไม่เกิดขึ้นต่อไปเป็นธรรมดา ตถาคตพ้นจากการนับว่ารูปมีคุณอันลึก อันใครๆ ประมาณ
ไม่ได้ หยั่งถึงได้โดยยาก. เปรียบเหมือนมหาสมุทรฉะนั้น ไม่ควรจะกล่าวว่าเกิด ไม่ควรจะ
กล่าวว่าไม่เกิด ไม่ควรจะกล่าวว่าเกิดก็มี ไม่เกิดก็มี ไม่ควรจะกล่าวว่า เกิดก็หามิได้ ไม่เกิด
ก็หามิได้. บุคคลเมื่อบัญญัติว่าเป็นสัตว์ พึงบัญญัติเพราะเวทนาใด ... เพราะสัญญาใด ... เพราะ
สังขารเหล่าใด ... เพราะวิญญาณใด ... วิญญาณนั้น ตถาคตละได้แล้ว มีมูลรากอันขาดแล้ว
ทำให้ดุจเป็นตาลยอดด้วน ถึงความไม่มี มีความไม่เกิดขึ้นต่อไปเป็นธรรมดา ตถาคตพ้นจากการ
นับว่าวิญญาณ มีคุณอันลึก อันใครๆ ประมาณไม่ได้ หยั่งถึงได้โดยยาก
.เปรียบเหมือน
มหาสมุทรฉะนั้น ไม่ควรจะกล่าวว่าไม่เกิด ไม่ควรจะกล่าวว่าเกิดก็มี ไม่เกิด
ก็มี ไม่ควรจะกล่าวว่า เกิดก็หามิได้ ไม่เกิดก็หามิได้.


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 พ.ย. 2011, 10:19 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5013


 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:

หยุดคิด ตรึกไปใน วิญญาณเป็นอะไร ยังไง ให้ได้เสียก่อน
เพราะ ตามปิฎจจสมุปบาทแล้ว วิญญาณเป็นปัจจัยให้เกิดผัสสะ
ผัสสะให้เกิดเวทนา

การจะปรากฎรู้ตรงนี้ ได้ชัด เวทนาตรงนั้นต้องไม่น้อมไปดึงสัญญามาปรากฎ

ถ้าเราสลัดความคิด สลัดทิฏฐิอันใดอันวิตกตรึกไปอยู่เนือง ๆ
นั่นคือ โอกาส ที่เราจะ รู้ผัสสะที่ปรากฎ

ไม่ใช่ วิตก/ตรึก ไม่หยุดแล้วเห็นได้ เข้าใจได้


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 พ.ย. 2011, 10:37 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 7
สมาชิก ระดับ 7
ลงทะเบียนเมื่อ: 03 ต.ค. 2011, 15:47
โพสต์: 539


 ข้อมูลส่วนตัว


eragon_joe เขียน:
:b8:

หยุดคิด ตรึกไปใน วิญญาณเป็นอะไร ยังไง ให้ได้เสียก่อน
เพราะ ตามปิฎจจสมุปบาทแล้ว วิญญาณเป็นปัจจัยให้เกิดผัสสะ
ผัสสะให้เกิดเวทนา

การจะปรากฎรู้ตรงนี้ ได้ชัด เวทนาตรงนั้นต้องไม่น้อมไปดึงสัญญามาปรากฎ

ถ้าเราสลัดความคิด สลัดทิฏฐิอันใดอันวิตกตรึกไปอยู่เนือง ๆ
นั่นคือ โอกาส ที่เราจะ รู้ผัสสะที่ปรากฎ

ไม่ใช่ วิตก/ตรึก ไม่หยุดแล้วเห็นได้ เข้าใจได้



อวิชชา> สังขาร > วิญญาณ > นาม-รูป > สพายตนะ > ผัสสะ > เวทนา > ตัณหา > อุปทาน> ภพ > ชาติ > ชรา-มรณะ >อวิชชา

(อวิชชา) คือความไม่รู้ ไม่รู้ความจริงของโลกและชีวิตทั้งชายและหญิง
ทำให้ชายและหญิงรักกัน ทำให้เกิดให้เกิดการประชุมกันของชายและหญิง(สังขาร)
แล้วทำให้เกิดการวิญญาณจากนรก เดรัจฉาน หรือมนุษย์มาปฏิสนธิในครรภ์ (วิญญาณ)
แล้วทำให้เกิดนามรูป (ขันธ์ 5) นามรูปทำให้เกิด ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ (สพายตนะ)
สพายตนะทำให้เกิด ผัสสะ หรือ การกระทบ ผัสสะทำให้เกิดความรู้สึก (เวทนา) เวทนาทำให้เกิด(ตัณหา) ตัณหาทำให้เกิด (อุปทาน) ต้องการตอบสนองตัณหา อุปทานทำให้เกิด ภพ ชาติ และชรา มรณะแล้วมาที่อวิชชาอีก เป็นวัฏจักรเวียนว่ายตายเกิดนับภพนับชาติไม่ถ้วน


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 พ.ย. 2011, 10:41 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5013


 ข้อมูลส่วนตัว


ก็คือผู้ที่มีความสุขแต่ยังไม่เคย หยุดวิตก/ตรึกได้
และคิดว่านั่นคือการเป็นผู้ที่เห็นความจริงตามความเป็นจริงตามปฏิจจสมุปบาทแล้ว อยู่นั่นเอง
และคิดว่านั่นคือการเป็นผู้ที่ปฏิบัติธรรมตามสมควรแก่ธรรมแล้ว อยู่นั่นเอง

onion onion onion


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 พ.ย. 2011, 11:05 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 10 พ.ย. 2009, 10:41
โพสต์: 4463

อายุ: 0
ที่อยู่: วัฏสงสาร

 ข้อมูลส่วนตัว


แล้วจิตพระอรหันต์มีไหม?


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 พ.ย. 2011, 11:11 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5013


 ข้อมูลส่วนตัว


เอกอนเข้าใจว่า

ท่านน่าจะไม่เห็นว่านั่นเป็น จิต น่ะ
หรือ จิตในลักษณะนั้น จะเป็นเช่นไร

เพราะการไปถึงระดับนั้น เอกอนคิดว่า
ท่านคงถ่ายถอนความยึดติดอะไร ๆ ไปมาก
อายตนะพระอรหันต์ เอกอนยังไม่รู้จริง ๆ

คือคิดว่าต้องมีพระสูตรที่กล่าวถึงเรื่องนี้น่ะ
แต่เอกอนยังอ่านไม่พบ

แต่เท่าที่พอรู้จากการปะติดปะต่อในเรื่อง
ลักษณะของวิญญาณที่ปรากฎ
กะลักษณะ ธรรมกายที่ใหญ่ขึ้น ๆ ตามภูมิธรรม
ยิ่งเข้ากลางในกลาง ก็ยิ่งมีความกว้างมากขึ้น

มันเหมือนกับ ยิ่งลาดไปสู่เรื่องความรู้ใน วิญญาณ กะ ธรรมธาตุ

ตรงนี้ล่ะ ที่เอกอนไม่อาจจะประมาณ จิตอริยะบุคคลในระดับต่าง ๆ ได้

:b1: :b1: :b1:

smiley smiley smiley

ใครมีความรู้ก็ หย่อน ๆ นิ้วลงมาบ้างก็ดี :b12:


แก้ไขล่าสุดโดย eragon_joe เมื่อ 15 พ.ย. 2011, 11:38, แก้ไขแล้ว 3 ครั้ง.

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 พ.ย. 2011, 11:17 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 10 พ.ย. 2009, 10:41
โพสต์: 4463

อายุ: 0
ที่อยู่: วัฏสงสาร

 ข้อมูลส่วนตัว


หลับอยุ่ เขียน:
Quote Tipitaka:
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๙ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๑
ขุททกนิกาย มหานิทเทส



ว่าด้วยวิเวก ๓ อย่าง
[๓๓] คำว่า นรชนเช่นนั้น ย่อมอยู่ไกลจากวิเวก มีความว่า วิเวก ได้แก่ วิเวก ๓
อย่าง คือ กายวิเวก จิตตวิเวก อุปธิวิเวก.
กายวิเวกเป็นไฉน? ภิกษุในพระธรรมวินัยนี้ ย่อมซ่องเสพเสนาสนะอันสงัด คือ
ป่า โคนต้นไม้ ภูเขา ซอกเขา ถ้ำ ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง ลอมฟาง และเป็นผู้สงัดด้วยกายอยู่
คือ เดินผู้เดียว ยืนผู้เดียว นั่งผู้เดียว นอนผู้เดียว เข้าบ้านเพื่อบิณฑบาตผู้เดียว กลับผู้เดียว นั่ง
อยู่ในที่เร้นลับผู้เดียว อธิษฐานจงกรมผู้เดียว เป็นผู้เดียว เที่ยว อยู่ เปลี่ยนอริยาบถ ประพฤติ
รักษาเป็นไป ให้เป็นไป นี้ชื่อว่า กายวิเวก.
จิตตวิเวกเป็นไฉน?
ภิกษุผู้บรรลุปฐมฌาน
มีจิตสงัดจากนิวรณ์
บรรลุทุติยฌาน
มีจิต
สงัดจากวิตกและวิจาร
บรรลุตติยฌาน
มีจิตสงัดจากปีติ บรรลุจตุตตถฌาน มีจิตสงัดจากสุขและทุกข์
บรรลุอากาสานัญจายตนฌาน
มีจิตสงัดจากรูปสัญญา ปฏิฆสัญญา นานัตตสัญญา
บรรลุวิญญาณัญจายตนฌาน
มีจิตสงัดจากอากาสานัญจายตนสัญญา
บรรลุอากิญจัญญายตนฌาน
มีจิต
สงัดจากวิญญาณัญจายตนสัญญา
บรรลุเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน
มีจิตสงัดจากอากิญจัญญายตน
สัญญา
(เมื่อภิกษุนั้น) เป็นโสดาบันบุคคล มีจิตสงัดจากสักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพัตตปรามาส
ทิฏฐานุสัย วิจิกิจฉานุสัย และจากกิเลสที่ตั้งอยู่ในเหล่าเดียวกันกับสักกายทิฏฐิเป็นต้น
เป็นสกทาคามีบุคคล มีจิตสงัดจากกามราคสังโยชน์ ปฏิฆสังโยชน์ อย่างหยาบ กามราคานุสัย
ปฏิฆานุสัย อย่างหยาบ และจากกิเลสที่ตั้งอยู่ในเหล่าเดียวกันกันกามราคสังโยชน์อย่างหยาบ
เป็นต้นนั้น
เป็นอนาคามีบุคคล
มีจิตสงัดจากกามราคสังโยชน์ ปฏิฆสังโยชน์อย่างละเอียด
กามราคานุสัย ปฏิฆานุสัย อย่างละเอียด และจากกิเลสที่ตั้งอยู่ในเหล่าเดียวกันกับกามราค-
*สังโยชน์อย่างละเอียดเป็นต้นนั้น
เป็นอรหันตบุคคลมีจิตสงัดจากรูปราคะ อรูปราคะ มานะ
อุทธัจจะ อวิชชา มานานุสัย ภวราคานุสัย อวิชชานุสัย กิเลสที่ตั้งอยู่ในเหล่าเดียวกันกับ
รูปราคะเป็นต้นนั้น และจากสังขารนิมิตทั้งปวงในภายนอก
นี้ชื่อว่าจิตตวิเวก.
อุปธิวิเวกเป็นไฉน? กิเลสก็ดี ขันธ์ก็ดี อภิสังขารก็ดี เรียกว่าอุปธิ. อมตะ นิพพาน
เรียกว่าอุปธิวิเวก ได้แก่ธรรมเป็นที่ระงับสังขารทั้งปวง เป็นที่สละคืนอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้น
ตัณหา เป็นที่สำรอก เป็นที่ดับ เป็นที่ออกไปจากตัณหาเป็นเครื่องร้อยรัด นี้ชื่อว่าอุปธิวิเวก.
ก็กายวิเวก ย่อมมีแก่บุคคลผู้มีกายหลีกออกแล้ว ยินดียิ่งในเนกขัมมะ จิตตวิเวก
ย่อมมีแก่บุคคลผู้มีจิตบริสุทธิ์ ถึงซึ่งความเป็นผู้มีจิตผ่องแผ้วอย่าง
ยิ่ง อุปธิวิเวก ย่อมมีแก่
บุคคลผู้หมดอุปธิถึงซึ่งนิพพานอันเป็นวิสังขาร.
คำว่า ไกลจากวิเวก มีความว่า นรชนนั้นใด เป็นผู้ข้องอยู่ในถ้ำอย่างนี้ อันกิเลส
มากปิดบังไว้อย่างนี้ หยั่งลงในที่หลงอย่างนี้ นรชนนั้นย่อมอยู่ไกลแม้จากกายวิเวก ย่อมอยู่
ไกลแม้จากจิตตวิเวก ย่อมอยู่ไกลแม้จากอุปธิวิเวก คืออยู่ในที่ห่างไกลแสนไกล มิใช่ใกล้
มิใช่ใกล้ชิด มิใช่เคียง มิใช่ใกล้เคียง. คำว่า อย่างนั้น คือ ผู้หยั่งลงในที่หลง ชนิดนั้น
เช่นนั้น ดำรงอยู่ดังนั้น แบบนั้น เหมือนเช่นนั้น เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า นรชนเช่นนั้น
ย่อมอยู่ไกลจากวิเวก.
เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๙ บรรทัดที่ ๕๕๖ - ๕๘๙. หน้าที่ ๒๔ - ๒๕.
http://www.84000.org/tipitaka/read/v.ph ... agebreak=0

ยังไงก็จะหนีและขัดกับพระสูตรนี้ไม่ได้


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 พ.ย. 2011, 11:58 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 10 พ.ย. 2009, 10:41
โพสต์: 4463

อายุ: 0
ที่อยู่: วัฏสงสาร

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
[๔๒๙] เราเมื่อมีจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน
ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ก็น้อมจิตไปเพื่ออาสวักขยญาณ. ย่อมรู้ชัดตามเป็น
จริงว่า นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เหล่านี้อาสวะ นี้อาสว-
*สมุทัย นี้อาสวนิโรธ นี้อาสวนิโรธคามินีปฏิปทา เมื่อเรารู้เห็นอย่างนี้ จิตก็หลุดพ้นแล้ว แม้จาก
กามาสวะ แม้จากภวาสวะ แม้จากอวิชชาสวะ เมื่อจิตหลุดพ้นแล้ว ก็มีญาณว่า พ้นแล้ว รู้ชัดว่า
ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำๆ เสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี.
ดูกรอัคคิเวสสนะ ในปัจฉิมยามแห่งราตรี เราได้บรรลุวิชชาที่ ๓ อันนี้ เมื่อเราไม่ประมาท มีความ
เพียร ส่งจิตไปอยู่ อวิชชาเรากำจัดเสียแล้ว
วิชชาเกิดขึ้นแล้ว ความมืดเรากำจัดเสียแล้ว แสง
สว่างเกิดขึ้นแล้ว.
แม้สุขเวทนาที่เกิดขึ้นแล้วเห็นปานนี้ ก็มิได้ครอบงำจิตเราตั้งอยู่ได้.
เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ บรรทัดที่ ๗๘๓๗ - ๗๘๖๘. หน้าที่ ๓๒๑ - ๓๒๒.
http://www.84000.org/tipitaka/read/v.ph ... agebreak=0


แก้ไขล่าสุดโดย หลับอยุ่ เมื่อ 15 พ.ย. 2011, 18:21, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 พ.ย. 2011, 13:03 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 7
สมาชิก ระดับ 7
ลงทะเบียนเมื่อ: 03 ต.ค. 2011, 15:47
โพสต์: 539


 ข้อมูลส่วนตัว


หลับอยุ่ เขียน:
แล้วจิตพระอรหันต์มีไหม?


พระอรหันต์ยังมีจิต แต่เป็นจิตที่สงบ หรือไม่ทำงาน หลับไหล
เพราะเวทนาดับ สัญญา สังขาร วิญญาณจึงไม่เกิด
จิตไม่เกิดขึ้น ไม่เกิดจึงไม่ดับ เมื่อสิ่งนี้มี สิ่งนี้จึงมี


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 พ.ย. 2011, 13:30 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5013


 ข้อมูลส่วนตัว


ทำไม ในห้วงน้ำที่มีสเปริม์แหวกว่ายอยู่เป็นล้านตัว
จึงได้มีสเปริม์เพียงตัวเดียวที่เจาะเข้าไปฝังตัวในไข่ สำเร็จ
เพราะไข่ หรือ เพราะสเปริม์
และก็มีช่วงเวลาที่ ไข่ ไม่ปรากฎ สเปริม์ก็เลยแห้ว ก็มี
และช่วงที่ไข่ปรากฎ แต่ สเปริม์ไม่ปรากฎ ก็มี ( อิอิ ไข่แห้ว :b9: )
ทำไมต้องเป็น สเปริม์ตัวนั้น ไม่เป็นสเปริม์ตัวอื่น

แล้วไหนจะการปรากฎของไข่
แล้วไหนจะการปรากฎของสเปริม์

:b9: :b9: :b9:

อิอิ อยู่ ๆ ไปโผล่กลางทะเลได้ไงหว๋า
อิอิ พายเรือเข้าฝั่งก่อน

:b9: :b9: :b9:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 พ.ย. 2011, 14:11 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 7
สมาชิก ระดับ 7
ลงทะเบียนเมื่อ: 03 ต.ค. 2011, 15:47
โพสต์: 539


 ข้อมูลส่วนตัว


eragon_joe เขียน:
ทำไม ในห้วงน้ำที่มีสเปริม์แหวกว่ายอยู่เป็นล้านตัว
จึงได้มีสเปริม์เพียงตัวเดียวที่เจาะเข้าไปฝังตัวในไข่ สำเร็จ
เพราะไข่ หรือ เพราะสเปริม์
และก็มีช่วงเวลาที่ ไข่ ไม่ปรากฎ สเปริม์ก็เลยแห้ว ก็มี
และช่วงที่ไข่ปรากฎ แต่ สเปริม์ไม่ปรากฎ ก็มี ( อิอิ ไข่แห้ว :b9: )
ทำไมต้องเป็น สเปริม์ตัวนั้น ไม่เป็นสเปริม์ตัวอื่น

แล้วไหนจะการปรากฎของไข่
แล้วไหนจะการปรากฎของสเปริม์

:b9: :b9: :b9:

อิอิ อยู่ ๆ ไปโผล่กลางทะเลได้ไงหว๋า
อิอิ พายเรือเข้าฝั่งก่อน

:b9: :b9: :b9:



เกิดจากเหตุและปัจจัย เมื่อมีเหตุต้องมีผล เมื่อดับเหตุได้ย่อมไม่มีผลให้เกิด
เหตุคือโอกาส ปัจจัยคือสิ่งที่เกื้อหนุนให้เกิดโอกาสหรือเหตุ

เมื่อสเปิร์มตัวที่แข็งแรงเจาะเข้าไปได้ไข่ก็จะสร้างผนังไม่ให้ตัวอื่นเข้าไป
1 ไข่ผสม 1 สเปิร์ม จะได้ลูก 1 คน ถ้าไข่นั้นแยกเป็น 2 หน่วย คือได้ลูกแฝด เรียกว่าแฝดเหมือน
เมื่อใดเดือนนั้นแม่ตกไข่พร้อมกัน 2 ข้าง ผสมกับ สเปิร์ม 2 ตัว คือได้ลูกแฝด เรียกว่าแฝดคนละฝา
ทุกอย่างเกิดจากเหตุและปัจจัย ไม่ได้เกิดขึ้นลอยๆ หรือบังเอิญเกิดขึ้น ทำไมไข่จึงผสมกันก็เพราะไข่สุก สเปิร์มแข็งแรง เกิดอวิชชาความไม่รู้ของชาย และหญิงเกิดปฏิสนธิในครรภ์ทำให้เกิด นามรูป

ไอสไตน์ถามพระพุทธเจ้า ว่าทำไมอิเล็กตรอนถึงหมุนรอบโปรตอน พระพุทธเจ้าจึงตอบว่าเกิดจากเหตุและปัจจัย (เอามาจากหนังสือครับ)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 พ.ย. 2011, 14:13 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 09 มิ.ย. 2007, 21:13
โพสต์: 2631

อายุ: 0
ที่อยู่: กทม.

 ข้อมูลส่วนตัว


ไม่เที่ยง เกิดดับ เขียน:
หลับอยุ่ เขียน:
แล้วจิตพระอรหันต์มีไหม?


พระอรหันต์ยังมีจิต แต่เป็นจิตที่สงบ หรือไม่ทำงาน หลับไหล
เพราะเวทนาดับ สัญญา สังขาร วิญญาณจึงไม่เกิด
จิตไม่เกิดขึ้น ไม่เกิดจึงไม่ดับ เมื่อสิ่งนี้มี สิ่งนี้จึงมี
smiley smiley smiley

.....................................................
นิพพานที่นี่ เดี๋ยวนี้


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 พ.ย. 2011, 14:39 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5013


 ข้อมูลส่วนตัว


ไม่เที่ยง เกิดดับ เขียน:

เกิดจากเหตุและปัจจัย เมื่อมีเหตุต้องมีผล เมื่อดับเหตุได้ย่อมไม่มีผลให้เกิด
เหตุคือโอกาส ปัจจัยคือสิ่งที่เกื้อหนุนให้เกิดโอกาสหรือเหตุ

เมื่อสเปิร์มตัวที่แข็งแรงเจาะเข้าไปได้ไข่ก็จะสร้างผนังไม่ให้ตัวอื่นเข้าไป
1 ไข่ผสม 1 สเปิร์ม จะได้ลูก 1 คน ถ้าไข่นั้นแยกเป็น 2 หน่วย คือได้ลูกแฝด เรียกว่าแฝดเหมือน
เมื่อใดเดือนนั้นแม่ตกไข่พร้อมกัน 2 ข้าง ผสมกับ สเปิร์ม 2 ตัว คือได้ลูกแฝด เรียกว่าแฝดคนละฝา
ทุกอย่างเกิดจากเหตุและปัจจัย ไม่ได้เกิดขึ้นลอยๆ หรือบังเอิญเกิดขึ้น ทำไมไข่จึงผสมกันก็เพราะไข่สุก สเปิร์มแข็งแรง เกิดอวิชชาความไม่รู้ของชาย และหญิงเกิดปฏิสนธิในครรภ์ทำให้เกิด นามรูป

ไอสไตน์ถามพระพุทธเจ้า ว่าทำไมอิเล็กตรอนถึงหมุนรอบโปรตอน พระพุทธเจ้าจึงตอบว่าเกิดจากเหตุและปัจจัย (เอามาจากหนังสือครับ)


ไม่ใช่เป็นไปตาม ทฤษฎีสตริง เหร๋อ

s006


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 252 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5 ... 17  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: Google [Bot] และ บุคคลทั่วไป 173 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร