วันเวลาปัจจุบัน 28 เม.ย. 2024, 09:59  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 86 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มี.ค. 2012, 19:46 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


แทนที่จะกำหนดรู้ (ภาษาทางธรรมเรียกว่า ปริญญากิจ) การเปลี่ยนแปลงบีบคั้นกดดันนั่นตามความเป็นจริง (เป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา) แล้วจิตใจจะคลายความยึดติดถือมั่นในอารมณ์นั้นๆ แต่เปล่าทั้งเพ...กลายเป็นว่าตัวเองประสบไตรลักษณ์อยู่ต่อหน้าแท้ๆ กลับเป็นทุกข์ไปเสียฉิบ

ครั้นขัดใจอย่างนั้นแล้ว จึงดิ้นหาทางออกจากสิ่งที่ประสบนั่นด้วยวิธีต่างๆ เรียกเป็นภาษาทางธรรมว่า ปรุงแต่ง...ตามความเคยชิน ตัวอย่างนี้ท่องพุทโธๆ (คิดว่าเป็นทางออก) แต่เปล่า เพราะมันสวนกระแสธรรมชาติ ซ้ำยังปิดบังสัจธรรมเสียอีก

ปัญหามีนิดเดียวคือมนุษย์ (เรา) จะให้ธรรมะหรือธรรมชาติมันเป็นอย่างที่ตัวเองต้องการ มันพลาดตรงนี้

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มี.ค. 2012, 20:03 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว




babee.gif
babee.gif [ 13.06 KiB | เปิดดู 3777 ครั้ง ]
โฮฮับ เขียน:


และอีกอย่างที่ควรปฏิบัติก็ คือ การศึกษาปริยัติบ้างไม่มากก็น้อย




ปริยัติ "ศึกษาปริยัติ" ปริยัติที่ท่านโฮแนะนำให้ศึกษาเนี่ย ได้แก่ อะไร ศึกษายังไง ขอรับ


ท่านโฮฮับที่เคารพอย่างสูง ที่แนะนำให้ศึกษาปริยัติ ศึกษายังไง แล้วปริยัติได้แก่อะไร :b10:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แก้ไขล่าสุดโดย กรัชกาย เมื่อ 12 มี.ค. 2012, 05:21, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มี.ค. 2012, 22:01 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 7
สมาชิก ระดับ 7
ลงทะเบียนเมื่อ: 03 ต.ค. 2011, 15:47
โพสต์: 539


 ข้อมูลส่วนตัว


เราศึกษาธรรมะเพื่อการหลุดพ้น หรือ นิพพาน
ที่เราไม่หลุดพ้นก็เพราะมีกิเลส หรือ โลภ โกรธ หลง
ที่เราโลภ โกรธ หลง ก็เพราะเราไม่รู้ความจริงตามกฎไตรลักษณ์ว่าสรรพสิ่งมีเกิดขึ้น มีดับสลายหายไปเป็นธรรมดาของมันอย่างนั้น เมื่อเราไม่รู้เราจึงเชื่อหรือหลงสิ่งกระทบทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ สุดท้ายเกิดตัณหา แล้วทุกข์ก็เกิดขึ้น


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 มี.ค. 2012, 05:24 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
โฮฮับ เขียน:


และอีกอย่างที่ควรปฏิบัติก็ คือ การศึกษาปริยัติบ้างไม่มากก็น้อย




ปริยัติ "ศึกษาปริยัติ" ปริยัติที่ท่านโฮแนะนำให้ศึกษาเนี่ย ได้แก่ อะไร ศึกษายังไง ขอรับ


ท่านโฮฮับที่เคารพอย่างสูง ที่แนะนำให้ศึกษาปริยัติ ศึกษายังไง แล้วปริยัติได้แก่อะไร



ท่านโฮฮับที่เคารพอย่างสูง ที่แนะนำให้ศึกษาปริยัติ ศึกษายังไง แล้วปริยัติได้แก่อะไร

อ้าว กดผิด เอาใหม่

ตามนั้นแหละ ไม่ควรทำตัวเป็นนักธรรมเป็ด เคยได้ยินนักธรรมเป็ด ไหม :b10:

ยู่ ฮู ฮู้ ฮู
ยู่ ฮู ฮู้ ฮู ... :b15:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 มี.ค. 2012, 20:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2007, 09:55
โพสต์: 1632


 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
sriariya เขียน:
สิ่งที่คุณโต้ตอบมา แสดงให้เห็นว่า คุณอ่านภาษาไทยแล้วไม่เข้าใจในความหมายของภาษาไทยอยู่ดี ที่กล่าวไปนี้ไม่ใช่เป็นการด่านะขอรับ คุณอ่านให้ดีซิว่า ทั้งหมดที่คุณเถียงแบบ ไม่รู้เรื่อง นะ จริงหรือไม่
ข้าพเจ้าเขียนว่า "สิ่งที่ได้กล่าวไปทั้ง 3 อย่าง 3 ข้อ เป็นสิ่งที่บดบังมิให้บุคคลมองเห็น หรือบุคคลรู้ซึ้ง หรือเข้าใจใน อนิจจลักษณะ,ทุกขลักษณะ,อนัตตาลักษณะ[/u]

เรื่องด่าจ่าว่าไม่ได้ด่าก็เอาตามนั้น ถือเสียว่าเป็นความเคยชินของจ่า
และไม่อยากยกประโยคที่ด่ามาต่อความยาวสาวความยืด ขี้เกียจต้องมานั่งอธิบาย
สมมุติบัญญัติ
sriariya เขียน:
ข้าพเจ้าเองก็ไม่ค่อยรู้เรื่องศัพท์ภาษาบาลีนักดอกนะ
ไตรลักษณ์ อะไรที่อยู่ในใจเรา เพ้อเจ้อ แล้วคุณ
ไตรลักษณ์ คือ อะไร มันจะอยู่ในใจได้อย่างไร ถ้าไม่เรียนรู้ ไม่ได้ศึกษาทำความเข้าใจ

ไตรลักษณ์มันเป็นอาการของจิต แล้วจะไม่อยู่ในใจได้ไงเล่า
ก่ารเปลี่ยนแปลงเกิดดับของจิตทำให้เกิด ไตรลักษณ์ คือ
อนิจจลักษณ์ ทุกขลักษณ์และอนัตตลักษณ์

ฉะนั้นไอ้ตัวสันตติ นี่แหละทำให้เกิดอนิจจลักษณ์
มันไม่ได้มาบดบังอนิจจลักษณ์ แต่มันเป็นเหตุปัจจัยของอนิจลักษณ์
การที่จะรู้ อนิจลักษณ์เขาจะไปดูการเกิดดับของสภาวะอารมณ์
ไม่ได้ไปดูการเกิดดับของจิต เพราะดูไม่ทันอยู่แล้ว
ดังนั้น สันตติไม่ได้บดบังอนิจลักษณ์

สันตติเป็นการเกิดดับต่อเนื่องอย่างรวดเร็ว มันเป็นอาการของจิต
ที่เราดูไม่ทันมันเกิดจากความต่อเนื่อง ความต่อเนื่องก็เป็นอาการของจิต
ดังนั้นมันไม่มีอะไรมาบดบัง เพียงแต่เราดูไม่ทันเท่านั้นเอง


"บดบัง"แปลว่า มีสิ่งหนึ่งมาบังแสงของอีกสิ่งไว้ จ่าไปตีความให้ดี
ข้างบนเป็นคำตอบในประเด็นของคุณปลีกวิเวก

ส่วนเรื่องของจ่าที่ว่า"ความเคยชิน"ที่ผมโต้แย้งไปว่า
เป็นกายสังขารและวจีสังขารไม่เห็นจ่าตอบกลับมาเลย
จ่าครับสิ่งใดที่เราไม่รู้ ก็อย่าเที่ยวได้ชี้หน้าคนอื่นว่า เพ้อเจ้อ การแสดงออกแบบนี้
มันทำให้รู้ครับว่าผู้นั้นมีอาการทางสมอง เรียกว่าพิการซ้ำซ้อนครับ

sriariya เขียน:
คุณกล่าวว่า บางครั้ง เราก็เห็น ก็แสดงว่า ไม่มีสิ่งใดมาบดบัง
คุณกล่าวว่า แต่เป็นเพราะเราไม่รู้ไม่เข้าใจ ว่าสิ่งที่เห็น มันเป็นไตรลักษณ์ เลยไม่สนใจ สิ่งที่คุณกล่าวมานั้นแหละคือการถูกบดบัง ด้วย
สันตติ ความสืบต่อ,อิริยาบถ อาการ ยืน เดิน สั่ง นอน, และ ฆนะ คือ ก้อน ชิ้น อัน
แล้วคุณจะมาเถียงเรื่องอะไร ลองอ่านแล้วทำความเข้าใจให้ดีซิ[/b]

จ่ามาว่าผมว่าผมไม่เข้าใจภาษาไทย จ่าก็ลองไปเปิดพจนานุกรมดูว่า
"บดบัง"แปลว่าอะไร แล้วค่อยมาเถียงเรื่อง บัญญัติกับผม
มันจะได้ไม่เสียเวลา


ง่ายๆเลยจิตมีดวงเดียวเกิดดับอย่างรวดเร็ว
"บดบังแปลว่า" มีของสองสิ่ง สิ่งหนึ่งมาบังสิ่งหนึ่งไว้ จ่าเอาประโยคนี้ไปตีความใหม่
อย่าเที่ยวได้ตีคนเพราะความเคยชิน อย่าลืม ท...ทหารอดทน


ฮ่า ฮ่า ฮ่า เจ้าผู้ใช้ชื่อว่า โฮฮับ

เจ้ารู้ไหมว่า จิต หรือ ใจ ในทางพุทธศาสนา นั้นหมายถึงอะไร จิตหรือใจ ถ้าเป็นตามหลักการแพทย์เขาเรียกว่าอะไร และจิตหรือใจ ในทางศาสนา นั้นในทางการแพทย์คืออะไร
ข้าฯก็ไม่อยากจะมานั่งอธิบายให้คนปัญญาหน่อมอย่างเอ็งได้รู้ได้เข้าใจอะไรมากนัก เพราะสิ่งที่เอ็งเขียนมาทั้งหมด ก็คือ การถูกบดบัง นั่นแหละ
เจ้าจะเขียนอย่างไร แสดงความเขลาแล้วอวดฉลาดอย่างไร " อิริยาบท ,สันตติ การสืบต่อ,ฆนะ คือ ก้อน ชิ้น อัน " ก็คือ สิ่งที่มาบัง หรือบดบัง มิให้บุคคลมองเห็น หรือบุคคลรู้ซึ้ง หรือเข้าใจใน อนิจจลักษณะ,ทุกขลักษณะ,อนัตตาลักษณะ หรือ ไตรลักษณะ คำว่า บัง หมายถึง กัน กั้น หรือปิดไม่ให้เห็น ไม่ให้ผ่าน ไม่ให้โดน (จากพจนานุกรมไทย ฉบับราชบัณพิตยสถาน) คำว่า "บดบัง" เป็น ภาษาพูดให้คล้องจองกัน ซึ่งก็มีความหมายเช่นเดียวกับคำว่า "บัง" นั่นแหละ

แล้วทีนี้เจ้ารู้หรือยังว่า อะไรมันเป็นสิ่ง บดบังอะไร เอ็งเข้าใจในความหมายของภาษาไทยหรือไม่ ฮ่า ฮ่า ฮ่า

อีกประการหนึ่ง ในทางพุทธศาสนาถ้าเจ้ารู้จักและเข้าใจในคำว่า "จิต หรือ ใจ" เจ้าก็จะรู้ว่า ไตรลักษณ์ จะต้องเกิดจากการเรียนรู้ ได้ยิน ได้ฟัง ได้คิด ได้พิจารณา แต่เนื่องจากมีการเกิดและดับอย่างต่อเนื่อง หรือสืบต่อกัน (สันตติ)อย่างหนึ่ง ,อิริยาบถ อย่างหนึ่ง, ฆนะ หรือ ฆนะสัญญา สำคัญว่าเป็นก้อนเป็นชิ้นเป็นอัน จึงทำให้ทั้งสามสิ่ง เป็นสิ่งที่บังปัญญา บังความรู้ความเข้าใจ ไม่ให้เห็นสภาวะที่เป็น อนัตตา,ทุกขา,อนิจจัง

อนึ่งในทางพุทธศาสนา หากเป็นนามธรรม จิต หรือ ใจ คือ.....ก็มีสันตติ คือ เกิดและดับเป็นปัจจัยสืบต่อเนื่องกันไป (พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับพระธรรมปิฎก) และการสืบต่อเนื่องกันไปของจิตหรือใจ จึงเป็นสิ่งที่บังสัญญาไม่ให้รู้ ไม่ให้เข้าใจ ไม่ใช้มองเห็นสภาวะที่เป็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ฉะนี้


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 มี.ค. 2012, 20:33 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 4
สมาชิก ระดับ 4
ลงทะเบียนเมื่อ: 08 ส.ค. 2010, 14:17
โพสต์: 260

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


sriariya เขียน:
โฮฮับ เขียน:
sriariya เขียน:
สิ่งที่คุณโต้ตอบมา แสดงให้เห็นว่า คุณอ่านภาษาไทยแล้วไม่เข้าใจในความหมายของภาษาไทยอยู่ดี ที่กล่าวไปนี้ไม่ใช่เป็นการด่านะขอรับ คุณอ่านให้ดีซิว่า ทั้งหมดที่คุณเถียงแบบ ไม่รู้เรื่อง นะ จริงหรือไม่
ข้าพเจ้าเขียนว่า "สิ่งที่ได้กล่าวไปทั้ง 3 อย่าง 3 ข้อ เป็นสิ่งที่บดบังมิให้บุคคลมองเห็น หรือบุคคลรู้ซึ้ง หรือเข้าใจใน อนิจจลักษณะ,ทุกขลักษณะ,อนัตตาลักษณะ[/u]

เรื่องด่าจ่าว่าไม่ได้ด่าก็เอาตามนั้น ถือเสียว่าเป็นความเคยชินของจ่า
และไม่อยากยกประโยคที่ด่ามาต่อความยาวสาวความยืด ขี้เกียจต้องมานั่งอธิบาย
สมมุติบัญญัติ
sriariya เขียน:
ข้าพเจ้าเองก็ไม่ค่อยรู้เรื่องศัพท์ภาษาบาลีนักดอกนะ
ไตรลักษณ์ อะไรที่อยู่ในใจเรา เพ้อเจ้อ แล้วคุณ
ไตรลักษณ์ คือ อะไร มันจะอยู่ในใจได้อย่างไร ถ้าไม่เรียนรู้ ไม่ได้ศึกษาทำความเข้าใจ

ไตรลักษณ์มันเป็นอาการของจิต แล้วจะไม่อยู่ในใจได้ไงเล่า
ก่ารเปลี่ยนแปลงเกิดดับของจิตทำให้เกิด ไตรลักษณ์ คือ
อนิจจลักษณ์ ทุกขลักษณ์และอนัตตลักษณ์

ฉะนั้นไอ้ตัวสันตติ นี่แหละทำให้เกิดอนิจจลักษณ์
มันไม่ได้มาบดบังอนิจจลักษณ์ แต่มันเป็นเหตุปัจจัยของอนิจลักษณ์
การที่จะรู้ อนิจลักษณ์เขาจะไปดูการเกิดดับของสภาวะอารมณ์
ไม่ได้ไปดูการเกิดดับของจิต เพราะดูไม่ทันอยู่แล้ว
ดังนั้น สันตติไม่ได้บดบังอนิจลักษณ์

สันตติเป็นการเกิดดับต่อเนื่องอย่างรวดเร็ว มันเป็นอาการของจิต
ที่เราดูไม่ทันมันเกิดจากความต่อเนื่อง ความต่อเนื่องก็เป็นอาการของจิต
ดังนั้นมันไม่มีอะไรมาบดบัง เพียงแต่เราดูไม่ทันเท่านั้นเอง


"บดบัง"แปลว่า มีสิ่งหนึ่งมาบังแสงของอีกสิ่งไว้ จ่าไปตีความให้ดี
ข้างบนเป็นคำตอบในประเด็นของคุณปลีกวิเวก

ส่วนเรื่องของจ่าที่ว่า"ความเคยชิน"ที่ผมโต้แย้งไปว่า
เป็นกายสังขารและวจีสังขารไม่เห็นจ่าตอบกลับมาเลย
จ่าครับสิ่งใดที่เราไม่รู้ ก็อย่าเที่ยวได้ชี้หน้าคนอื่นว่า เพ้อเจ้อ การแสดงออกแบบนี้
มันทำให้รู้ครับว่าผู้นั้นมีอาการทางสมอง เรียกว่าพิการซ้ำซ้อนครับ

sriariya เขียน:
คุณกล่าวว่า บางครั้ง เราก็เห็น ก็แสดงว่า ไม่มีสิ่งใดมาบดบัง
คุณกล่าวว่า แต่เป็นเพราะเราไม่รู้ไม่เข้าใจ ว่าสิ่งที่เห็น มันเป็นไตรลักษณ์ เลยไม่สนใจ สิ่งที่คุณกล่าวมานั้นแหละคือการถูกบดบัง ด้วย
สันตติ ความสืบต่อ,อิริยาบถ อาการ ยืน เดิน สั่ง นอน, และ ฆนะ คือ ก้อน ชิ้น อัน
แล้วคุณจะมาเถียงเรื่องอะไร ลองอ่านแล้วทำความเข้าใจให้ดีซิ[/b]

จ่ามาว่าผมว่าผมไม่เข้าใจภาษาไทย จ่าก็ลองไปเปิดพจนานุกรมดูว่า
"บดบัง"แปลว่าอะไร แล้วค่อยมาเถียงเรื่อง บัญญัติกับผม
มันจะได้ไม่เสียเวลา


ง่ายๆเลยจิตมีดวงเดียวเกิดดับอย่างรวดเร็ว
"บดบังแปลว่า" มีของสองสิ่ง สิ่งหนึ่งมาบังสิ่งหนึ่งไว้ จ่าเอาประโยคนี้ไปตีความใหม่
อย่าเที่ยวได้ตีคนเพราะความเคยชิน อย่าลืม ท...ทหารอดทน


ฮ่า ฮ่า ฮ่า เจ้าผู้ใช้ชื่อว่า โฮฮับ

เจ้ารู้ไหมว่า จิต หรือ ใจ ในทางพุทธศาสนา นั้นหมายถึงอะไร จิตหรือใจ ถ้าเป็นตามหลักการแพทย์เขาเรียกว่าอะไร และจิตหรือใจ ในทางศาสนา นั้นในทางการแพทย์คืออะไร
ข้าฯก็ไม่อยากจะมานั่งอธิบายให้คนปัญญาหน่อมอย่างเอ็งได้รู้ได้เข้าใจอะไรมากนัก เพราะสิ่งที่เอ็งเขียนมาทั้งหมด ก็คือ การถูกบดบัง นั่นแหละ
เจ้าจะเขียนอย่างไร แสดงความเขลาแล้วอวดฉลาดอย่างไร " อิริยาบท ,สันตติ การสืบต่อ,ฆนะ คือ ก้อน ชิ้น อัน " ก็คือ สิ่งที่มาบัง หรือบดบัง มิให้บุคคลมองเห็น หรือบุคคลรู้ซึ้ง หรือเข้าใจใน อนิจจลักษณะ,ทุกขลักษณะ,อนัตตาลักษณะ หรือ ไตรลักษณะ คำว่า บัง หมายถึง กัน กั้น หรือปิดไม่ให้เห็น ไม่ให้ผ่าน ไม่ให้โดน (จากพจนานุกรมไทย ฉบับราชบัณพิตยสถาน) คำว่า "บดบัง" เป็น ภาษาพูดให้คล้องจองกัน ซึ่งก็มีความหมายเช่นเดียวกับคำว่า "บัง" นั่นแหละ

แล้วทีนี้เจ้ารู้หรือยังว่า อะไรมันเป็นสิ่ง บดบังอะไร เอ็งเข้าใจในความหมายของภาษาไทยหรือไม่ ฮ่า ฮ่า ฮ่า

อีกประการหนึ่ง ในทางพุทธศาสนาถ้าเจ้ารู้จักและเข้าใจในคำว่า "จิต หรือ ใจ" เจ้าก็จะรู้ว่า ไตรลักษณ์ จะต้องเกิดจากการเรียนรู้ ได้ยิน ได้ฟัง ได้คิด ได้พิจารณา แต่เนื่องจากมีการเกิดและดับอย่างต่อเนื่อง หรือสืบต่อกัน (สันตติ)อย่างหนึ่ง ,อิริยาบถ อย่างหนึ่ง, ฆนะ หรือ ฆนะสัญญา สำคัญว่าเป็นก้อนเป็นชิ้นเป็นอัน จึงทำให้ทั้งสามสิ่ง เป็นสิ่งที่บังปัญญา บังความรู้ความเข้าใจ ไม่ให้เห็นสภาวะที่เป็น อนัตตา,ทุกขา,อนิจจัง

อนึ่งในทางพุทธศาสนา หากเป็นนามธรรม จิต หรือ ใจ คือ.....ก็มีสันตติ คือ เกิดและดับเป็นปัจจัยสืบต่อเนื่องกันไป (พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับพระธรรมปิฎก) และการสืบต่อเนื่องกันไปของจิตหรือใจ จึงเป็นสิ่งที่บังสัญญาไม่ให้รู้ ไม่ให้เข้าใจ ไม่ใช้มองเห็นสภาวะที่เป็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ฉะนี้


sriariya เขียน:
ไตรลักษณ์ ทางลัดของผู้ไม่ต้องการคิดมาก


ไม่รู้สิ่ รู้แต่ว่า ใครแถวๆนี้กำลังคิดมาก อย่างศรีธัญญาไง ไหนบอกทางลัดไง ลัดซะอ้อมจักรวาล ไปมาครบยัง อ่อ ต้องถามว่าลัดไปลัดมากี่รอบแล้วดิ่ ลุงเทวฤทธิ์ โห ดีนะที่เราไปทางปกติ ถ้าไปทางลัดนี่หอบแย่เลย เอ๊ะ ทางลัด หรือทางรัดนะ แน่นเอี๊ยดๆ

ฮาฮ๊าฮา ฮาห่าห้าฮ๊าหา :b22:

.....................................................
สิ่งใดในโลกล้วน อนิจจัง คงแต่บาปบุญยัง เที่ยงแท้
คือเงาติดตัวตรัง ตรึงแน่ อยู่นา ตามแต่บุญบาปแล้ ก่อเกื้อ รักษา

รูปภาพ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 มี.ค. 2012, 20:44 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2007, 09:55
โพสต์: 1632


 ข้อมูลส่วนตัว


ปลงซะ เขียน:
sriariya เขียน:
โฮฮับ เขียน:
sriariya เขียน:
สิ่งที่คุณโต้ตอบมา แสดงให้เห็นว่า คุณอ่านภาษาไทยแล้วไม่เข้าใจในความหมายของภาษาไทยอยู่ดี ที่กล่าวไปนี้ไม่ใช่เป็นการด่านะขอรับ คุณอ่านให้ดีซิว่า ทั้งหมดที่คุณเถียงแบบ ไม่รู้เรื่อง นะ จริงหรือไม่
ข้าพเจ้าเขียนว่า "สิ่งที่ได้กล่าวไปทั้ง 3 อย่าง 3 ข้อ เป็นสิ่งที่บดบังมิให้บุคคลมองเห็น หรือบุคคลรู้ซึ้ง หรือเข้าใจใน อนิจจลักษณะ,ทุกขลักษณะ,อนัตตาลักษณะ[/u]

เรื่องด่าจ่าว่าไม่ได้ด่าก็เอาตามนั้น ถือเสียว่าเป็นความเคยชินของจ่า
และไม่อยากยกประโยคที่ด่ามาต่อความยาวสาวความยืด ขี้เกียจต้องมานั่งอธิบาย
สมมุติบัญญัติ
sriariya เขียน:
ข้าพเจ้าเองก็ไม่ค่อยรู้เรื่องศัพท์ภาษาบาลีนักดอกนะ
ไตรลักษณ์ อะไรที่อยู่ในใจเรา เพ้อเจ้อ แล้วคุณ
ไตรลักษณ์ คือ อะไร มันจะอยู่ในใจได้อย่างไร ถ้าไม่เรียนรู้ ไม่ได้ศึกษาทำความเข้าใจ

ไตรลักษณ์มันเป็นอาการของจิต แล้วจะไม่อยู่ในใจได้ไงเล่า
ก่ารเปลี่ยนแปลงเกิดดับของจิตทำให้เกิด ไตรลักษณ์ คือ
อนิจจลักษณ์ ทุกขลักษณ์และอนัตตลักษณ์

ฉะนั้นไอ้ตัวสันตติ นี่แหละทำให้เกิดอนิจจลักษณ์
มันไม่ได้มาบดบังอนิจจลักษณ์ แต่มันเป็นเหตุปัจจัยของอนิจลักษณ์
การที่จะรู้ อนิจลักษณ์เขาจะไปดูการเกิดดับของสภาวะอารมณ์
ไม่ได้ไปดูการเกิดดับของจิต เพราะดูไม่ทันอยู่แล้ว
ดังนั้น สันตติไม่ได้บดบังอนิจลักษณ์

สันตติเป็นการเกิดดับต่อเนื่องอย่างรวดเร็ว มันเป็นอาการของจิต
ที่เราดูไม่ทันมันเกิดจากความต่อเนื่อง ความต่อเนื่องก็เป็นอาการของจิต
ดังนั้นมันไม่มีอะไรมาบดบัง เพียงแต่เราดูไม่ทันเท่านั้นเอง


"บดบัง"แปลว่า มีสิ่งหนึ่งมาบังแสงของอีกสิ่งไว้ จ่าไปตีความให้ดี
ข้างบนเป็นคำตอบในประเด็นของคุณปลีกวิเวก

ส่วนเรื่องของจ่าที่ว่า"ความเคยชิน"ที่ผมโต้แย้งไปว่า
เป็นกายสังขารและวจีสังขารไม่เห็นจ่าตอบกลับมาเลย
จ่าครับสิ่งใดที่เราไม่รู้ ก็อย่าเที่ยวได้ชี้หน้าคนอื่นว่า เพ้อเจ้อ การแสดงออกแบบนี้
มันทำให้รู้ครับว่าผู้นั้นมีอาการทางสมอง เรียกว่าพิการซ้ำซ้อนครับ

sriariya เขียน:
คุณกล่าวว่า บางครั้ง เราก็เห็น ก็แสดงว่า ไม่มีสิ่งใดมาบดบัง
คุณกล่าวว่า แต่เป็นเพราะเราไม่รู้ไม่เข้าใจ ว่าสิ่งที่เห็น มันเป็นไตรลักษณ์ เลยไม่สนใจ สิ่งที่คุณกล่าวมานั้นแหละคือการถูกบดบัง ด้วย
สันตติ ความสืบต่อ,อิริยาบถ อาการ ยืน เดิน สั่ง นอน, และ ฆนะ คือ ก้อน ชิ้น อัน
แล้วคุณจะมาเถียงเรื่องอะไร ลองอ่านแล้วทำความเข้าใจให้ดีซิ[/b]

จ่ามาว่าผมว่าผมไม่เข้าใจภาษาไทย จ่าก็ลองไปเปิดพจนานุกรมดูว่า
"บดบัง"แปลว่าอะไร แล้วค่อยมาเถียงเรื่อง บัญญัติกับผม
มันจะได้ไม่เสียเวลา


ง่ายๆเลยจิตมีดวงเดียวเกิดดับอย่างรวดเร็ว
"บดบังแปลว่า" มีของสองสิ่ง สิ่งหนึ่งมาบังสิ่งหนึ่งไว้ จ่าเอาประโยคนี้ไปตีความใหม่
อย่าเที่ยวได้ตีคนเพราะความเคยชิน อย่าลืม ท...ทหารอดทน


ฮ่า ฮ่า ฮ่า เจ้าผู้ใช้ชื่อว่า โฮฮับ

เจ้ารู้ไหมว่า จิต หรือ ใจ ในทางพุทธศาสนา นั้นหมายถึงอะไร จิตหรือใจ ถ้าเป็นตามหลักการแพทย์เขาเรียกว่าอะไร และจิตหรือใจ ในทางศาสนา นั้นในทางการแพทย์คืออะไร
ข้าฯก็ไม่อยากจะมานั่งอธิบายให้คนปัญญาหน่อมอย่างเอ็งได้รู้ได้เข้าใจอะไรมากนัก เพราะสิ่งที่เอ็งเขียนมาทั้งหมด ก็คือ การถูกบดบัง นั่นแหละ
เจ้าจะเขียนอย่างไร แสดงความเขลาแล้วอวดฉลาดอย่างไร " อิริยาบท ,สันตติ การสืบต่อ,ฆนะ คือ ก้อน ชิ้น อัน " ก็คือ สิ่งที่มาบัง หรือบดบัง มิให้บุคคลมองเห็น หรือบุคคลรู้ซึ้ง หรือเข้าใจใน อนิจจลักษณะ,ทุกขลักษณะ,อนัตตาลักษณะ หรือ ไตรลักษณะ คำว่า บัง หมายถึง กัน กั้น หรือปิดไม่ให้เห็น ไม่ให้ผ่าน ไม่ให้โดน (จากพจนานุกรมไทย ฉบับราชบัณพิตยสถาน) คำว่า "บดบัง" เป็น ภาษาพูดให้คล้องจองกัน ซึ่งก็มีความหมายเช่นเดียวกับคำว่า "บัง" นั่นแหละ

แล้วทีนี้เจ้ารู้หรือยังว่า อะไรมันเป็นสิ่ง บดบังอะไร เอ็งเข้าใจในความหมายของภาษาไทยหรือไม่ ฮ่า ฮ่า ฮ่า

อีกประการหนึ่ง ในทางพุทธศาสนาถ้าเจ้ารู้จักและเข้าใจในคำว่า "จิต หรือ ใจ" เจ้าก็จะรู้ว่า ไตรลักษณ์ จะต้องเกิดจากการเรียนรู้ ได้ยิน ได้ฟัง ได้คิด ได้พิจารณา แต่เนื่องจากมีการเกิดและดับอย่างต่อเนื่อง หรือสืบต่อกัน (สันตติ)อย่างหนึ่ง ,อิริยาบถ อย่างหนึ่ง, ฆนะ หรือ ฆนะสัญญา สำคัญว่าเป็นก้อนเป็นชิ้นเป็นอัน จึงทำให้ทั้งสามสิ่ง เป็นสิ่งที่บังปัญญา บังความรู้ความเข้าใจ ไม่ให้เห็นสภาวะที่เป็น อนัตตา,ทุกขา,อนิจจัง

อนึ่งในทางพุทธศาสนา หากเป็นนามธรรม จิต หรือ ใจ คือ.....ก็มีสันตติ คือ เกิดและดับเป็นปัจจัยสืบต่อเนื่องกันไป (พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับพระธรรมปิฎก) และการสืบต่อเนื่องกันไปของจิตหรือใจ จึงเป็นสิ่งที่บังสัญญาไม่ให้รู้ ไม่ให้เข้าใจ ไม่ใช้มองเห็นสภาวะที่เป็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ฉะนี้


sriariya เขียน:
ไตรลักษณ์ ทางลัดของผู้ไม่ต้องการคิดมาก


ไม่รู้สิ่ รู้แต่ว่า ใครแถวๆนี้กำลังคิดมาก อย่างศรีธัญญาไง ไหนบอกทางลัดไง ลัดซะอ้อมจักรวาล ไปมาครบยัง อ่อ ต้องถามว่าลัดไปลัดมากี่รอบแล้วดิ่ ลุงเทวฤทธิ์ โห ดีนะที่เราไปทางปกติ ถ้าไปทางลัดนี่หอบแย่เลย เอ๊ะ ทางลัด หรือทางรัดนะ แน่นเอี๊ยดๆ

ฮาฮ๊าฮา ฮาห่าห้าฮ๊าหา :b22:


อิ อิ อิ
ขออภัยขอรับ คุณมาอ่านการแสดงความคิดเห็นแล้วบอกว่า ไม่ใช่ทางลัด คุณบ้าหรือเปล่าละขอรับ คุณควรจะไปอ่านตรงไหน แล้วควรจะพิจารณาตรงไหน ควรจะทำความเข้าใจตรงไหน ให้เห็นว่าเป็นทางลัดจริง ละขอรับ
เอ้า เจ้าหน้า ศรีธัญญา ช่วยรับตัว เจ้าผู้ใช้ชื่อว่า "ปลงซะ" ไม่ตรวจเช็คระบบสมองความคิดหน่อยเถอะขอรับ ฮะ ฮะ ฮะ ฮะ ฮะ ฮะ ฮะ ฮะ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 มี.ค. 2012, 16:41 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 4
สมาชิก ระดับ 4
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 มี.ค. 2012, 17:36
โพสต์: 210


 ข้อมูลส่วนตัว


:b8: :b8: :b8: :b8: :b8:

.....................................................
กระบี่อยู่ที่ใจ : เมตตาธรรมค้ำจุนโลก


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 มี.ค. 2012, 20:02 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2007, 09:55
โพสต์: 1632


 ข้อมูลส่วนตัว


ไม่เที่ยง เกิดดับ เขียน:
เราศึกษาธรรมะเพื่อการหลุดพ้น หรือ นิพพาน
ที่เราไม่หลุดพ้นก็เพราะมีกิเลส หรือ โลภ โกรธ หลง
ที่เราโลภ โกรธ หลง ก็เพราะเราไม่รู้ความจริงตามกฎไตรลักษณ์ว่าสรรพสิ่งมีเกิดขึ้น มีดับสลายหายไปเป็นธรรมดาของมันอย่างนั้น เมื่อเราไม่รู้เราจึงเชื่อหรือหลงสิ่งกระทบทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ สุดท้ายเกิดตัณหา แล้วทุกข์ก็เกิดขึ้น


การศึกษาธรรมะมีหลากหลายความมุ่งหมาย หรือมีการศึกษาธรรมตามแต่ความต้องการของบุคคล
การศึกษา ธรรมะเพื่อการหลุดพ้น หรือ นิพพาน ก็ต้องรู้จักหลักการ หรือหลักวิชชาทางศาสนาอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ อีกทั้งยังต้องมีปัจจัย หลายๆอย่างเป็นส่วนประกอบ
ไม่มีใครหลุดพ้นจาก กิเลส หรือ ความโลภ ความโกรธ ความหลง ตราบใดที่ยังอยู่บนโลกมนุษย์ ยังปฏิสัมพันธ์กับบุคคลทั่วๆไป
แต่บุคคลสามารถขจัดซึ่ง กิเลส คือ ความโลภ ความโกรธ ความหลง หากรู้จักวิธีการ รู้จักหลักวิชชาการทางศาสนา
ทุกสิ่งที่เราเห็นว่าเป็นเรื่องธรรมดา นั่นแหละ กิเลสได้ถูกขจัดออกจากจิตใจของบุคคลนั้นๆแล้วไม่มากก็น้อย ตามแต่ความชำนาญตามแต่ความขยันในการคิดพิจารณา และตามแต่ความรู้ความเข้าใจที่เกิดขึ้นในจิตใจของแต่ละบุคค


ตัณหา ก็คือ กิเลส ความโลภ ความหลง นั่นแหละ อาจจะมี ความโกรธ เข้าผสมร่วมด้วยก็เป็นได้ เพียงแต่ เขาแยกแยะรายละเอียดของกิเลส ออกเป็นคำว่า ตัณหา ก็เท่านั้น


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 มี.ค. 2012, 20:34 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 4
สมาชิก ระดับ 4
ลงทะเบียนเมื่อ: 08 ส.ค. 2010, 14:17
โพสต์: 260

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


sriariya เขียน:
ปลงซะ เขียน:
sriariya เขียน:
โฮฮับ เขียน:
sriariya เขียน:
สิ่งที่คุณโต้ตอบมา แสดงให้เห็นว่า คุณอ่านภาษาไทยแล้วไม่เข้าใจในความหมายของภาษาไทยอยู่ดี ที่กล่าวไปนี้ไม่ใช่เป็นการด่านะขอรับ คุณอ่านให้ดีซิว่า ทั้งหมดที่คุณเถียงแบบ ไม่รู้เรื่อง นะ จริงหรือไม่
ข้าพเจ้าเขียนว่า "สิ่งที่ได้กล่าวไปทั้ง 3 อย่าง 3 ข้อ เป็นสิ่งที่บดบังมิให้บุคคลมองเห็น หรือบุคคลรู้ซึ้ง หรือเข้าใจใน อนิจจลักษณะ,ทุกขลักษณะ,อนัตตาลักษณะ[/u]

เรื่องด่าจ่าว่าไม่ได้ด่าก็เอาตามนั้น ถือเสียว่าเป็นความเคยชินของจ่า
และไม่อยากยกประโยคที่ด่ามาต่อความยาวสาวความยืด ขี้เกียจต้องมานั่งอธิบาย
สมมุติบัญญัติ
sriariya เขียน:
ข้าพเจ้าเองก็ไม่ค่อยรู้เรื่องศัพท์ภาษาบาลีนักดอกนะ
ไตรลักษณ์ อะไรที่อยู่ในใจเรา เพ้อเจ้อ แล้วคุณ
ไตรลักษณ์ คือ อะไร มันจะอยู่ในใจได้อย่างไร ถ้าไม่เรียนรู้ ไม่ได้ศึกษาทำความเข้าใจ

ไตรลักษณ์มันเป็นอาการของจิต แล้วจะไม่อยู่ในใจได้ไงเล่า
ก่ารเปลี่ยนแปลงเกิดดับของจิตทำให้เกิด ไตรลักษณ์ คือ
อนิจจลักษณ์ ทุกขลักษณ์และอนัตตลักษณ์

ฉะนั้นไอ้ตัวสันตติ นี่แหละทำให้เกิดอนิจจลักษณ์
มันไม่ได้มาบดบังอนิจจลักษณ์ แต่มันเป็นเหตุปัจจัยของอนิจลักษณ์
การที่จะรู้ อนิจลักษณ์เขาจะไปดูการเกิดดับของสภาวะอารมณ์
ไม่ได้ไปดูการเกิดดับของจิต เพราะดูไม่ทันอยู่แล้ว
ดังนั้น สันตติไม่ได้บดบังอนิจลักษณ์

สันตติเป็นการเกิดดับต่อเนื่องอย่างรวดเร็ว มันเป็นอาการของจิต
ที่เราดูไม่ทันมันเกิดจากความต่อเนื่อง ความต่อเนื่องก็เป็นอาการของจิต
ดังนั้นมันไม่มีอะไรมาบดบัง เพียงแต่เราดูไม่ทันเท่านั้นเอง


"บดบัง"แปลว่า มีสิ่งหนึ่งมาบังแสงของอีกสิ่งไว้ จ่าไปตีความให้ดี
ข้างบนเป็นคำตอบในประเด็นของคุณปลีกวิเวก

ส่วนเรื่องของจ่าที่ว่า"ความเคยชิน"ที่ผมโต้แย้งไปว่า
เป็นกายสังขารและวจีสังขารไม่เห็นจ่าตอบกลับมาเลย
จ่าครับสิ่งใดที่เราไม่รู้ ก็อย่าเที่ยวได้ชี้หน้าคนอื่นว่า เพ้อเจ้อ การแสดงออกแบบนี้
มันทำให้รู้ครับว่าผู้นั้นมีอาการทางสมอง เรียกว่าพิการซ้ำซ้อนครับ

sriariya เขียน:
คุณกล่าวว่า บางครั้ง เราก็เห็น ก็แสดงว่า ไม่มีสิ่งใดมาบดบัง
คุณกล่าวว่า แต่เป็นเพราะเราไม่รู้ไม่เข้าใจ ว่าสิ่งที่เห็น มันเป็นไตรลักษณ์ เลยไม่สนใจ สิ่งที่คุณกล่าวมานั้นแหละคือการถูกบดบัง ด้วย
สันตติ ความสืบต่อ,อิริยาบถ อาการ ยืน เดิน สั่ง นอน, และ ฆนะ คือ ก้อน ชิ้น อัน
แล้วคุณจะมาเถียงเรื่องอะไร ลองอ่านแล้วทำความเข้าใจให้ดีซิ[/b]

จ่ามาว่าผมว่าผมไม่เข้าใจภาษาไทย จ่าก็ลองไปเปิดพจนานุกรมดูว่า
"บดบัง"แปลว่าอะไร แล้วค่อยมาเถียงเรื่อง บัญญัติกับผม
มันจะได้ไม่เสียเวลา


ง่ายๆเลยจิตมีดวงเดียวเกิดดับอย่างรวดเร็ว
"บดบังแปลว่า" มีของสองสิ่ง สิ่งหนึ่งมาบังสิ่งหนึ่งไว้ จ่าเอาประโยคนี้ไปตีความใหม่
อย่าเที่ยวได้ตีคนเพราะความเคยชิน อย่าลืม ท...ทหารอดทน


ฮ่า ฮ่า ฮ่า เจ้าผู้ใช้ชื่อว่า โฮฮับ

เจ้ารู้ไหมว่า จิต หรือ ใจ ในทางพุทธศาสนา นั้นหมายถึงอะไร จิตหรือใจ ถ้าเป็นตามหลักการแพทย์เขาเรียกว่าอะไร และจิตหรือใจ ในทางศาสนา นั้นในทางการแพทย์คืออะไร
ข้าฯก็ไม่อยากจะมานั่งอธิบายให้คนปัญญาหน่อมอย่างเอ็งได้รู้ได้เข้าใจอะไรมากนัก เพราะสิ่งที่เอ็งเขียนมาทั้งหมด ก็คือ การถูกบดบัง นั่นแหละ
เจ้าจะเขียนอย่างไร แสดงความเขลาแล้วอวดฉลาดอย่างไร " อิริยาบท ,สันตติ การสืบต่อ,ฆนะ คือ ก้อน ชิ้น อัน " ก็คือ สิ่งที่มาบัง หรือบดบัง มิให้บุคคลมองเห็น หรือบุคคลรู้ซึ้ง หรือเข้าใจใน อนิจจลักษณะ,ทุกขลักษณะ,อนัตตาลักษณะ หรือ ไตรลักษณะ คำว่า บัง หมายถึง กัน กั้น หรือปิดไม่ให้เห็น ไม่ให้ผ่าน ไม่ให้โดน (จากพจนานุกรมไทย ฉบับราชบัณพิตยสถาน) คำว่า "บดบัง" เป็น ภาษาพูดให้คล้องจองกัน ซึ่งก็มีความหมายเช่นเดียวกับคำว่า "บัง" นั่นแหละ

แล้วทีนี้เจ้ารู้หรือยังว่า อะไรมันเป็นสิ่ง บดบังอะไร เอ็งเข้าใจในความหมายของภาษาไทยหรือไม่ ฮ่า ฮ่า ฮ่า

อีกประการหนึ่ง ในทางพุทธศาสนาถ้าเจ้ารู้จักและเข้าใจในคำว่า "จิต หรือ ใจ" เจ้าก็จะรู้ว่า ไตรลักษณ์ จะต้องเกิดจากการเรียนรู้ ได้ยิน ได้ฟัง ได้คิด ได้พิจารณา แต่เนื่องจากมีการเกิดและดับอย่างต่อเนื่อง หรือสืบต่อกัน (สันตติ)อย่างหนึ่ง ,อิริยาบถ อย่างหนึ่ง, ฆนะ หรือ ฆนะสัญญา สำคัญว่าเป็นก้อนเป็นชิ้นเป็นอัน จึงทำให้ทั้งสามสิ่ง เป็นสิ่งที่บังปัญญา บังความรู้ความเข้าใจ ไม่ให้เห็นสภาวะที่เป็น อนัตตา,ทุกขา,อนิจจัง

อนึ่งในทางพุทธศาสนา หากเป็นนามธรรม จิต หรือ ใจ คือ.....ก็มีสันตติ คือ เกิดและดับเป็นปัจจัยสืบต่อเนื่องกันไป (พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับพระธรรมปิฎก) และการสืบต่อเนื่องกันไปของจิตหรือใจ จึงเป็นสิ่งที่บังสัญญาไม่ให้รู้ ไม่ให้เข้าใจ ไม่ใช้มองเห็นสภาวะที่เป็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ฉะนี้


sriariya เขียน:
ไตรลักษณ์ ทางลัดของผู้ไม่ต้องการคิดมาก


ไม่รู้สิ่ รู้แต่ว่า ใครแถวๆนี้กำลังคิดมาก อย่างศรีธัญญาไง ไหนบอกทางลัดไง ลัดซะอ้อมจักรวาล ไปมาครบยัง อ่อ ต้องถามว่าลัดไปลัดมากี่รอบแล้วดิ่ ลุงเทวฤทธิ์ โห ดีนะที่เราไปทางปกติ ถ้าไปทางลัดนี่หอบแย่เลย เอ๊ะ ทางลัด หรือทางรัดนะ แน่นเอี๊ยดๆ


ฮาฮ๊าฮา ฮาห่าห้าฮ๊าหา :b22:


อิ อิ อิ
ขออภัยขอรับ คุณมาอ่านการแสดงความคิดเห็นแล้วบอกว่า ไม่ใช่ทางลัด คุณบ้าหรือเปล่าละขอรับ คุณควรจะไปอ่านตรงไหน แล้วควรจะพิจารณาตรงไหน ควรจะทำความเข้าใจตรงไหน ให้เห็นว่าเป็นทางลัดจริง ละขอรับ
เอ้า เจ้าหน้า ศรีธัญญา ช่วยรับตัว เจ้าผู้ใช้ชื่อว่า "ปลงซะ" ไม่ตรวจเช็คระบบสมองความคิดหน่อยเถอะขอรับ ฮะ ฮะ ฮะ ฮะ ฮะ ฮะ ฮะ ฮะ


อ่อเหรอ งั้งเอาใหม่นะ


sriariya เขียน:
"ไตรลักษณ์ ทางลัดของผู้ที่ไม่ต้องการคิดมาก"
สวัสดี สหายทางธรรมทั้งหลาย บทความนี้ ไม่มีการด่านะขอรับ แต่จะแนะนำให้ จะอธิบายให้ท่านทั้งหลายได้เกิดความรู้ความเข้าใจ สำหรับบุคคลทั่วไป ทั้งที่สมองสติปัญญาดี ขยันหมั่นเพียร หรือสำหรับผู้ที่มีสมองสติปัญญาปานกลาง ขยันหมั่นเพียรบ้างแต่ไม่มากนัก รวมไปถึง ผู้ที่มีสมองสติปัญญาทึบ ขยันหมั่นเพียรน้อยสุดสุด และยังมีบุคคลอีกสามประเภท คือ "บุคคลผู้มีสมองสติปัญญาดี แต่ไม่ค่อยขยันหมั่นเพียรเลย และ ผู้มีสมองสติปัญญาปานกลาง แต่ขยันหมั่นเพียรมาก ส่วนประเภทที่สาม คือ บุคคลที่มีสมองสติปัญญาทึบ แต่มีความขยันหมั่นเพียรและมีความพยายามมาก"
อันหลักธรรมในทางพุทธศาสนานั้น มีมากมายหลายหมวด หลายข้อ จำกันแทบไม่หวาดไม่ไหว ถ้าอ่านได้ไปอ่านในพระไตรปิฎกด้วยแล้ว บางคนก็ออกอาการ งง ไม่เข้าใจ หรือบางคนก็เข้าใจตามที่พระไตรปิฎกเขียนไว้ หรือบางคนก็เกิดความเข้าใจที่บิดเบือนไปจากหลักความจริง ดังนั้น จึงได้เกิดมีธรรมโดยย่อ คือย่อเพื่อให้ผู้ที่นำไปคิดพิจารณาได้ง่ายขึ้น
ธรรมเหล่านั้นก็คือ "ไตรลักษณ์"
ไตรลักษณ์ คือ สามัญญลักษณะ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "ธรรมนิยาม"คือเป็นของแน่นอนเป็นกฎธรรมดา ไม่มีผู้ใดหลีกพ้น
ไตรลักษณ์ เป็น วิธีการคิดพิจารณา สติปัฏฐาน ๔ อย่างย่อ เป็นการลดหรือละหรือเลิก การยึดมั่นถือมั่นหรืออุปาทานทั้งหลายทั้งปวง แห่ง กาย,เวทน,จิต,ธรรม, ซึ่งยังมีรายละเอียดแจกแจงใน อุปาทานทั้งหลายเหล่านั้นอีกตามสมควร(ในที่นี้จะไม่แจกแจง ให้ท่านทั้งหลายไปอ่านหรือศึกษาในพระไตรปิฏก จะได้ผลดีกว่า)
ไตรลักษณ์ เป็นเหตุแห่งทุกข์ใช่หรือไม่ คำตอบก็คือ ไม่ใช่ แต่เป็นเพียงการกำหนด หรือ ย่อความ จากข้อความใหญ่หรือข้อความที่ยาว ให้เหลือสั้นลง และเกิดความรู้ความเข้าใจได้ง่ายขึ้น (ขยายความจากพจนานุกรมไทย ฉบับบัณฑิตยสถานฯ)
ไตรลักษณ์ สามารถทำให้ผู้ที่อ่านและเกิดความรู้ความเข้าใจหลุดพ้นจากความทุกข์ได้ในระดับหนึ่ง ไปจนถึงระดับอริยะขั้นต้น
ไตรลักษณ์ หมายถึง ลักษณะที่เสมอกันแก่สังขารทั้งปวง ได้แก่ ๑.อนิจจตา ความเป็นของไม่เที่ยง ๒.ทุกขตา ความเป็นทุกข์หรือความเป็นของคงทนอยู่มิได้ ๓.อนัตตตา ความเป็นของไม่ใช่ตัวตนแสดงความตามบาลีดังนี้ ๑.สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจา สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง ๒.สพฺเพ สงฺขารา ทุกฺขา สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ ๓.สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา ธรรมทั้งปวงมิใช่ตัวตน; ลักษณะเหล่านี้มี ๓ อย่าง จึงเรียกว่า ไตรลักษณ์, ลักษณะเหล่านี้เป็นของแน่นอน เป็นกฎธรรมดา จึงเรียกว่า ธรรมนิยาม (จากพจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับพระธรรมปิฎก ป.อ.ประยุตฺโต)
ยังมีอีกหลายๆท่าน ที่มีความเข้าใจไปในทางที่ผิดๆเกี่ยวกับ ไตรลักษณ์ ท่านทั้งหลายต้องทำความเข้าใจและต้องจดจำบันทึกเอาไว้ว่า การพิจารณาหรือท่องจำในไตรลักษณ์อยู่เป็นนิจนั้น จักทำให้เกิดความรู้ความเข้าใจใน พฤติกรรม การกระทำ ทั้งทาง กาย วาจา ใจ ของบุคคลรอบข้าง รวมไปถึง สภาพแวดล้อมต่างๆที่อยู่รอบตัว จักทำให้ไม่ยึดติด หรือไม่หลงติดจนเกินควร ไม่โลภ โกรธ หลง จนเกินที่เกินเหตุ เท่ากับว่า "ไตรลักษณ์"เป็นหลักธรรมย่อที่สามารถทำให้บุคคลนั้นเกิดธรรมะต่างๆในสภาพสภาวะจิตใจได้
๑.สัพเพสังขารา อนิจจา สังขารทั้งปวง ไม่เที่ยง คำว่า "สังขาร"ในไตรลักษณ์ หมายถึง "๑.สิ่งที่ถูกปัจจัยปรุงแต่ง, สิ่งที่เกิดจากเหตุปัจจัย เป็นรูปธรรมก็ตาม นามธรรมก็ตาม ได้แก่ขันธ์ ๕ ทั้งหมด, ตรงกับคำว่า สังขตะหรือสังขตธรรม ได้ในคำว่า สังขารทั้งหลายทั้งปวงไม่เที่ยง ดังนี้เป็นต้น ๒.สภาพที่ปรุงแต่งใจให้ดีหรือชั่ว, ธรรมมีเจตนาเป็นประธานที่ปรุงแต่งความคิด การพูด การกระทำ มีทั้งที่ดีเป็นกุศล ที่ชั่วเป็นอกุศล และที่กลาง ๆ เป็นอัพยากฤต ได้แก่เจตสิก ๕๐ อย่าง (คือ เจตสิกทั้งปวง เว้นเวทนาและสัญญา) เป็นนามธรรมอย่างเดียว, ตรงกับสังขารขันธ์ ในขันธ์ ๕ ได้ในคำว่า รูปไม่เที่ยง เวทนาไม่เที่ยง สัญญาไม่เที่ยง สังขารไม่เที่ยง วิญญาณไม่เที่ยง ดังนี้เป็นต้น; อธิบายอีกปริยายหนึ่ง สังขารตามความหมายนี้ยกเอาเจตนาขึ้นเป็นตัวนำหน้า ได้แก่ สัญเจตนา คือ เจตนาที่แต่งกรรมหรือปรุงแต่งการกระทำ มี ๓ อย่างคือ ๑.กายสังขาร สภาพที่ปรุงแต่งการกระทำทางกาย คือ กายสัญเจตนา ๒.วจีสังขาร สภาพที่ปรุงแต่งการกระทำทางวาจา คือ วจีสัญเจตนา ๓.จิตตสังขาร หรือ มโนสังขาร สภาพที่ปรุงแต่งการกระทำทางใจ คือ มโนสัญเจตนา ๓.สภาพที่ปรุงแต่งชีวิตมี ๓ คือ ๑.กายสังขาร สภาพที่ปรุงแต่งกาย ได้แก่ อัสสาสะ ปัสสาสะ คือลมหายใจเข้า ลมหายใจออก ๒.วจีสังขาร สภาพที่ปรุงแต่งวาจา ได้แก่ วิตกและวิจาร ๓.จิตตสังขาร สภาพที่ปรุงแต่งใจ ได้แก่ สัญญาและเวทนา" (จากพจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับพระธรรมปิฎก ป.อ.ปยุตโต)
ดังนั้น คำว่า สังขารทั้งปวง ไม่เที่ยง คือ ไม่คงที่ มีหมุนวนสับเปลี่ยน มีเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป อยู่เสมอ จะหมุนวนสับเปลี่ยน เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป เร็ว หรือ ช้า ก็แล้วแต่ เหตุและปัจจัย ซึ่งตามที่ได้กล่าวไปข้างต้น ล้วนเป็นผลแห่งการพิจารณาชั้นสุดท้าย แห่ง สติปัฏฐาน ๔
๒.สัพเพ สังขารา ทุกฺขา สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ คำว่า "ทุกข์" ในไตรลักษณ์ หมายถึง เครื่องกำหนดว่าเป็นทุกข์, ลักษณะที่จัดว่าเป็นทุกข์, ลักษณะที่แสดงให้เห็นว่าเป็นทุกข์คือ ๑.ถูกการเกิดขึ้นและการดับสลายบีบคั้นอยู่ตลอดเวลา ๒.ทนได้ยากหรือคงอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ ๓.เป็นที่ตั้งแห่งความทุกข์ ๔.แย้งต่อสุขหรือเป็นสภาวะที่ปฏิเสธความสุข (จากพจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับพระธรรมปิฎก ป.อ.ประยุตฺโต) นั่นก็หมายถึง สังขารทั้งหลาย ไม่เที่ยง ไม่คงที่แล้ว ยังเป็นสิ่งที่ทำให้เกิดทุกข์ เกิดทุกข์ เพราะ เราคิด เกิดขึ้นเพราะสังขารทั้งหลาย ดังนี้
๓.สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา ธรรมทั้งปวงมิใช่ตัวตน คำว่า "ธรรม" ในไตรลักษณ์ หมายถึง สภาพที่ทรงไว้, ธรรมดา, ธรรมชาติ, สภาวธรรม, สัจจธรรม, ความจริง; เหตุ, ต้นเหตุ; สิ่ง, ปรากฏการณ์, ธรรมารมณ์, สิ่งที่ใจคิด; คุณธรรม, ความดี, ความถูกต้อง, ความประพฤติชอบ; หลักการ, แบบแผน, ธรรมเนียม, หน้าที่; ความชอบ, ความยุติธรรม; พระธรรม, คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ซึ่งแสดงธรรมให้เปิดเผยปรากฏขึ้น
คำว่า "อนัตตา" ลักษณะที่เป็นอนัตตา, ลักษณะที่ให้เห็นว่าเป็นของมิใช่ตัวตน ได้แก่ ๑) เป็นของสูญ คือ เป็นเพียงการประชุมเข้าขององค์ประกอบที่เป็นส่วนย่อยๆ ทั้งหลาย ว่างเปล่าจากความเป็นสัตว์ บุคคล ตัวตน เรา เขา หรือการสมมติเป็นต่างๆ ๒) เป็นสภาพหาเจ้าของมิได้ ไม่เป็นของใครจริง ๓) ไม่อยู่ในอำนาจ ไม่เป็นไปตามความปรารถนา ไม่ขึ้นต่อการบังคับบัญชาของใครๆ ๔) เป็นสภาวธรรมอันเป็นไปตามเหตุปัจจัย ขึ้นต่อเหตุปัจจัย ไม่มีอยู่โดยลำพังตัว แต่เป็นไปโดยสัมพันธ์ อิงอาศัยกันอยู่กับสิ่งอื่นๆ ๕) โดยสภาวะของมันเอง ก็แย้งหรือค้านต่อความเป็นอัตตา มีแต่ภาวะที่ตรงข้ามกับความเป็นอัตตา (จากพจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับพระธรรมปิฎก ป.อ.ประยุตฺโต)
ดังนั้น "ธรรมทั้งหลายทั้งปวง มิใช่ตัวตน" หมายถึง ธรรมทั้งหลายทั้งปวง เป็นเพียงการปรุงแต่งทางความคิด เป็นเพียงความจำ เป็นเพียงความว่างเปล่าคืออากาศธาตุ ไม่มีตัวตน
เมื่อท่านทั้งหลายได้พิจารณาในหลักไตรลักษณ์ ก็ย่อมทำให้เกิดความรู้ความเข้าใจตามหลัก "สติปัฏฐาน๔" ไม่ยึดมั่นถือมั่นใน อุปาทาน ทั้งหลายตามหลักพุทธศาสนา โดยอัตโนมัติ และยังสามารถทำให้ท่านทั้งหลายดำรงชีวิตอยู่ในสังคมใดใดได้อย่างปกติสุข ตามอัตภาพ หรือสามารถมุ่งสู่จุดสูงสุดในทางพุทธศาสนา คือ นิพพาน ได้ในไม่ช้า
ท่านทั้งหลายอาจสงสัยว่า ทำไมข้าพเจ้าจึงกล่าวว่า หากท่านทั้งหลายได้คิดได้พิจารณาในหลักไตรลักษณ์แล้ว จะสามารถท่านทั้งหลายดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข
ที่เป็นเช่นนั้นก็เพราะ หลักสำคัญของ ไตรลักษณ์ เพียงเพื่อให้ผู้เรียนรู้ ได้เรียนรู้ และทำความเข้าใจเกี่ยว ความเป็นกฎธรรมดา ความเป็นของแน่นอน หรือ ความเป็นธรรมชาติ ของ สังขารทั้งหลายทั้งปวง ทุกข์ทั้งหลายทั้งปวง ธรรมทั้งหลายทั้งปวง อันเป็นผลโดยย่อ หรือเป็นข้อพิจารณาโดยย่อ แห่ง สติปัฏฐาน ๔ ฉะนี้

จ่าสิบตรี เทวฤทธิ์ ทูลพันธ์
๒ มีนาคม ๒๕๕๕
ผู้เขียน


ไม่รู้สิ่ รู้แต่ว่า ใครแถวๆนี้กำลังคิดมาก อย่างศรีธัญญาไง ไหนบอกทางลัดไง ลัดซะอ้อมจักรวาล ไปมาครบยัง อ่อ ต้องถามว่าลัดไปลัดมากี่รอบแล้วดิ่ ลุงเทวฤทธิ์ โห ดีนะที่เราไปทางปกติ ถ้าไปทางลัดนี่หอบแย่เลย เอ๊ะ ทางลัด หรือทางรัดนะ แน่นเอี๊ยดๆ ฮาฮ๊าฮา ฮาห่าห้าฮ๊าหา :b22:

แบบนี้พอได้ยัง ลุงเทวฤทธิ์

แหมๆ เห็นมันผ่านมารอบโลกแล้ว เราหรือก็อุตส่าห์ อัพเดทข้อมูลจาก คห ล่าสุด ดันมาตอดเล็กตอดน้อยหาว่าเราเอาคห ล่าสุดมาเป็นประเด็น ว๊าาาา แบบนี้เขาเรียกแถหน้าตาย ตีหน้าใสซื่อ

ฮาฮ๊าฮา

.....................................................
สิ่งใดในโลกล้วน อนิจจัง คงแต่บาปบุญยัง เที่ยงแท้
คือเงาติดตัวตรัง ตรึงแน่ อยู่นา ตามแต่บุญบาปแล้ ก่อเกื้อ รักษา

รูปภาพ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 มี.ค. 2012, 20:51 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 4
สมาชิก ระดับ 4
ลงทะเบียนเมื่อ: 08 ส.ค. 2010, 14:17
โพสต์: 260

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อ่อ อยากฝากลุงจ่าเป็นบทกลอนหวานซึ้ง เอาไว้อ่านยามคิดถึงปล๊งปลง เวลาไม่เห็นปล๊งปลงจ่าจะได้ไม่เหงาน่ะ

ริจะแถแถไปเถิดถ้าใจรัก แต่จงหักห้ามใจเมื่อขายหน้า
โดนสาวไส้สาวพุง แหม๊ แสบอุรา จงตั้งหน้ารับเถิดหนาความอับอาย
ตีหน้าตายใสซื่อ ไม่ก็ทำไป ถึงโดนใครจับได้บอกไม่รู้
อย่าลืมขุดหลุมเตรียมเอาไว้หลายๆรู้ ไว้อาศัยมุดอยู่ยามอับจน โดนจับตาย


ซึ้งป่ะ ซึ้งป่ะ แหม๊ มันกินใจ๊กินใจ Kiss

ฮ๊าฮา ฮาห่าฮ่าฮ๊าหา ตะลุ่งต้ง แชร่ย์ :b12:

.....................................................
สิ่งใดในโลกล้วน อนิจจัง คงแต่บาปบุญยัง เที่ยงแท้
คือเงาติดตัวตรัง ตรึงแน่ อยู่นา ตามแต่บุญบาปแล้ ก่อเกื้อ รักษา

รูปภาพ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 มี.ค. 2012, 19:50 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2007, 09:55
โพสต์: 1632


 ข้อมูลส่วนตัว


ปลงซะ เขียน:
sriariya เขียน:
ปลงซะ เขียน:
sriariya เขียน:
โฮฮับ เขียน:
sriariya เขียน:
สิ่งที่คุณโต้ตอบมา แสดงให้เห็นว่า คุณอ่านภาษาไทยแล้วไม่เข้าใจในความหมายของภาษาไทยอยู่ดี ที่กล่าวไปนี้ไม่ใช่เป็นการด่านะขอรับ คุณอ่านให้ดีซิว่า ทั้งหมดที่คุณเถียงแบบ ไม่รู้เรื่อง นะ จริงหรือไม่
ข้าพเจ้าเขียนว่า "สิ่งที่ได้กล่าวไปทั้ง 3 อย่าง 3 ข้อ เป็นสิ่งที่บดบังมิให้บุคคลมองเห็น หรือบุคคลรู้ซึ้ง หรือเข้าใจใน อนิจจลักษณะ,ทุกขลักษณะ,อนัตตาลักษณะ[/u]

เรื่องด่าจ่าว่าไม่ได้ด่าก็เอาตามนั้น ถือเสียว่าเป็นความเคยชินของจ่า
และไม่อยากยกประโยคที่ด่ามาต่อความยาวสาวความยืด ขี้เกียจต้องมานั่งอธิบาย
สมมุติบัญญัติ
sriariya เขียน:
ข้าพเจ้าเองก็ไม่ค่อยรู้เรื่องศัพท์ภาษาบาลีนักดอกนะ
ไตรลักษณ์ อะไรที่อยู่ในใจเรา เพ้อเจ้อ แล้วคุณ
ไตรลักษณ์ คือ อะไร มันจะอยู่ในใจได้อย่างไร ถ้าไม่เรียนรู้ ไม่ได้ศึกษาทำความเข้าใจ

ไตรลักษณ์มันเป็นอาการของจิต แล้วจะไม่อยู่ในใจได้ไงเล่า
ก่ารเปลี่ยนแปลงเกิดดับของจิตทำให้เกิด ไตรลักษณ์ คือ
อนิจจลักษณ์ ทุกขลักษณ์และอนัตตลักษณ์

ฉะนั้นไอ้ตัวสันตติ นี่แหละทำให้เกิดอนิจจลักษณ์
มันไม่ได้มาบดบังอนิจจลักษณ์ แต่มันเป็นเหตุปัจจัยของอนิจลักษณ์
การที่จะรู้ อนิจลักษณ์เขาจะไปดูการเกิดดับของสภาวะอารมณ์
ไม่ได้ไปดูการเกิดดับของจิต เพราะดูไม่ทันอยู่แล้ว
ดังนั้น สันตติไม่ได้บดบังอนิจลักษณ์

สันตติเป็นการเกิดดับต่อเนื่องอย่างรวดเร็ว มันเป็นอาการของจิต
ที่เราดูไม่ทันมันเกิดจากความต่อเนื่อง ความต่อเนื่องก็เป็นอาการของจิต
ดังนั้นมันไม่มีอะไรมาบดบัง เพียงแต่เราดูไม่ทันเท่านั้นเอง


"บดบัง"แปลว่า มีสิ่งหนึ่งมาบังแสงของอีกสิ่งไว้ จ่าไปตีความให้ดี
ข้างบนเป็นคำตอบในประเด็นของคุณปลีกวิเวก

ส่วนเรื่องของจ่าที่ว่า"ความเคยชิน"ที่ผมโต้แย้งไปว่า
เป็นกายสังขารและวจีสังขารไม่เห็นจ่าตอบกลับมาเลย
จ่าครับสิ่งใดที่เราไม่รู้ ก็อย่าเที่ยวได้ชี้หน้าคนอื่นว่า เพ้อเจ้อ การแสดงออกแบบนี้
มันทำให้รู้ครับว่าผู้นั้นมีอาการทางสมอง เรียกว่าพิการซ้ำซ้อนครับ

sriariya เขียน:
คุณกล่าวว่า บางครั้ง เราก็เห็น ก็แสดงว่า ไม่มีสิ่งใดมาบดบัง
คุณกล่าวว่า แต่เป็นเพราะเราไม่รู้ไม่เข้าใจ ว่าสิ่งที่เห็น มันเป็นไตรลักษณ์ เลยไม่สนใจ สิ่งที่คุณกล่าวมานั้นแหละคือการถูกบดบัง ด้วย
สันตติ ความสืบต่อ,อิริยาบถ อาการ ยืน เดิน สั่ง นอน, และ ฆนะ คือ ก้อน ชิ้น อัน
แล้วคุณจะมาเถียงเรื่องอะไร ลองอ่านแล้วทำความเข้าใจให้ดีซิ[/b]

จ่ามาว่าผมว่าผมไม่เข้าใจภาษาไทย จ่าก็ลองไปเปิดพจนานุกรมดูว่า
"บดบัง"แปลว่าอะไร แล้วค่อยมาเถียงเรื่อง บัญญัติกับผม
มันจะได้ไม่เสียเวลา


ง่ายๆเลยจิตมีดวงเดียวเกิดดับอย่างรวดเร็ว
"บดบังแปลว่า" มีของสองสิ่ง สิ่งหนึ่งมาบังสิ่งหนึ่งไว้ จ่าเอาประโยคนี้ไปตีความใหม่
อย่าเที่ยวได้ตีคนเพราะความเคยชิน อย่าลืม ท...ทหารอดทน


ฮ่า ฮ่า ฮ่า เจ้าผู้ใช้ชื่อว่า โฮฮับ

เจ้ารู้ไหมว่า จิต หรือ ใจ ในทางพุทธศาสนา นั้นหมายถึงอะไร จิตหรือใจ ถ้าเป็นตามหลักการแพทย์เขาเรียกว่าอะไร และจิตหรือใจ ในทางศาสนา นั้นในทางการแพทย์คืออะไร
ข้าฯก็ไม่อยากจะมานั่งอธิบายให้คนปัญญาหน่อมอย่างเอ็งได้รู้ได้เข้าใจอะไรมากนัก เพราะสิ่งที่เอ็งเขียนมาทั้งหมด ก็คือ การถูกบดบัง นั่นแหละ
เจ้าจะเขียนอย่างไร แสดงความเขลาแล้วอวดฉลาดอย่างไร " อิริยาบท ,สันตติ การสืบต่อ,ฆนะ คือ ก้อน ชิ้น อัน " ก็คือ สิ่งที่มาบัง หรือบดบัง มิให้บุคคลมองเห็น หรือบุคคลรู้ซึ้ง หรือเข้าใจใน อนิจจลักษณะ,ทุกขลักษณะ,อนัตตาลักษณะ หรือ ไตรลักษณะ คำว่า บัง หมายถึง กัน กั้น หรือปิดไม่ให้เห็น ไม่ให้ผ่าน ไม่ให้โดน (จากพจนานุกรมไทย ฉบับราชบัณพิตยสถาน) คำว่า "บดบัง" เป็น ภาษาพูดให้คล้องจองกัน ซึ่งก็มีความหมายเช่นเดียวกับคำว่า "บัง" นั่นแหละ

แล้วทีนี้เจ้ารู้หรือยังว่า อะไรมันเป็นสิ่ง บดบังอะไร เอ็งเข้าใจในความหมายของภาษาไทยหรือไม่ ฮ่า ฮ่า ฮ่า

อีกประการหนึ่ง ในทางพุทธศาสนาถ้าเจ้ารู้จักและเข้าใจในคำว่า "จิต หรือ ใจ" เจ้าก็จะรู้ว่า ไตรลักษณ์ จะต้องเกิดจากการเรียนรู้ ได้ยิน ได้ฟัง ได้คิด ได้พิจารณา แต่เนื่องจากมีการเกิดและดับอย่างต่อเนื่อง หรือสืบต่อกัน (สันตติ)อย่างหนึ่ง ,อิริยาบถ อย่างหนึ่ง, ฆนะ หรือ ฆนะสัญญา สำคัญว่าเป็นก้อนเป็นชิ้นเป็นอัน จึงทำให้ทั้งสามสิ่ง เป็นสิ่งที่บังปัญญา บังความรู้ความเข้าใจ ไม่ให้เห็นสภาวะที่เป็น อนัตตา,ทุกขา,อนิจจัง

อนึ่งในทางพุทธศาสนา หากเป็นนามธรรม จิต หรือ ใจ คือ.....ก็มีสันตติ คือ เกิดและดับเป็นปัจจัยสืบต่อเนื่องกันไป (พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับพระธรรมปิฎก) และการสืบต่อเนื่องกันไปของจิตหรือใจ จึงเป็นสิ่งที่บังสัญญาไม่ให้รู้ ไม่ให้เข้าใจ ไม่ใช้มองเห็นสภาวะที่เป็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ฉะนี้


sriariya เขียน:
ไตรลักษณ์ ทางลัดของผู้ไม่ต้องการคิดมาก


ไม่รู้สิ่ รู้แต่ว่า ใครแถวๆนี้กำลังคิดมาก อย่างศรีธัญญาไง ไหนบอกทางลัดไง ลัดซะอ้อมจักรวาล ไปมาครบยัง อ่อ ต้องถามว่าลัดไปลัดมากี่รอบแล้วดิ่ ลุงเทวฤทธิ์ โห ดีนะที่เราไปทางปกติ ถ้าไปทางลัดนี่หอบแย่เลย เอ๊ะ ทางลัด หรือทางรัดนะ แน่นเอี๊ยดๆ


ฮาฮ๊าฮา ฮาห่าห้าฮ๊าหา :b22:


อิ อิ อิ
ขออภัยขอรับ คุณมาอ่านการแสดงความคิดเห็นแล้วบอกว่า ไม่ใช่ทางลัด คุณบ้าหรือเปล่าละขอรับ คุณควรจะไปอ่านตรงไหน แล้วควรจะพิจารณาตรงไหน ควรจะทำความเข้าใจตรงไหน ให้เห็นว่าเป็นทางลัดจริง ละขอรับ
เอ้า เจ้าหน้า ศรีธัญญา ช่วยรับตัว เจ้าผู้ใช้ชื่อว่า "ปลงซะ" ไม่ตรวจเช็คระบบสมองความคิดหน่อยเถอะขอรับ ฮะ ฮะ ฮะ ฮะ ฮะ ฮะ ฮะ ฮะ


อ่อเหรอ งั้งเอาใหม่นะ


sriariya เขียน:
"ไตรลักษณ์ ทางลัดของผู้ที่ไม่ต้องการคิดมาก"
สวัสดี สหายทางธรรมทั้งหลาย บทความนี้ ไม่มีการด่านะขอรับ แต่จะแนะนำให้ จะอธิบายให้ท่านทั้งหลายได้เกิดความรู้ความเข้าใจ สำหรับบุคคลทั่วไป ทั้งที่สมองสติปัญญาดี ขยันหมั่นเพียร หรือสำหรับผู้ที่มีสมองสติปัญญาปานกลาง ขยันหมั่นเพียรบ้างแต่ไม่มากนัก รวมไปถึง ผู้ที่มีสมองสติปัญญาทึบ ขยันหมั่นเพียรน้อยสุดสุด และยังมีบุคคลอีกสามประเภท คือ "บุคคลผู้มีสมองสติปัญญาดี แต่ไม่ค่อยขยันหมั่นเพียรเลย และ ผู้มีสมองสติปัญญาปานกลาง แต่ขยันหมั่นเพียรมาก ส่วนประเภทที่สาม คือ บุคคลที่มีสมองสติปัญญาทึบ แต่มีความขยันหมั่นเพียรและมีความพยายามมาก"
อันหลักธรรมในทางพุทธศาสนานั้น มีมากมายหลายหมวด หลายข้อ จำกันแทบไม่หวาดไม่ไหว ถ้าอ่านได้ไปอ่านในพระไตรปิฎกด้วยแล้ว บางคนก็ออกอาการ งง ไม่เข้าใจ หรือบางคนก็เข้าใจตามที่พระไตรปิฎกเขียนไว้ หรือบางคนก็เกิดความเข้าใจที่บิดเบือนไปจากหลักความจริง ดังนั้น จึงได้เกิดมีธรรมโดยย่อ คือย่อเพื่อให้ผู้ที่นำไปคิดพิจารณาได้ง่ายขึ้น
ธรรมเหล่านั้นก็คือ "ไตรลักษณ์"
ไตรลักษณ์ คือ สามัญญลักษณะ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "ธรรมนิยาม"คือเป็นของแน่นอนเป็นกฎธรรมดา ไม่มีผู้ใดหลีกพ้น
ไตรลักษณ์ เป็น วิธีการคิดพิจารณา สติปัฏฐาน ๔ อย่างย่อ เป็นการลดหรือละหรือเลิก การยึดมั่นถือมั่นหรืออุปาทานทั้งหลายทั้งปวง แห่ง กาย,เวทน,จิต,ธรรม, ซึ่งยังมีรายละเอียดแจกแจงใน อุปาทานทั้งหลายเหล่านั้นอีกตามสมควร(ในที่นี้จะไม่แจกแจง ให้ท่านทั้งหลายไปอ่านหรือศึกษาในพระไตรปิฏก จะได้ผลดีกว่า)
ไตรลักษณ์ เป็นเหตุแห่งทุกข์ใช่หรือไม่ คำตอบก็คือ ไม่ใช่ แต่เป็นเพียงการกำหนด หรือ ย่อความ จากข้อความใหญ่หรือข้อความที่ยาว ให้เหลือสั้นลง และเกิดความรู้ความเข้าใจได้ง่ายขึ้น (ขยายความจากพจนานุกรมไทย ฉบับบัณฑิตยสถานฯ)
ไตรลักษณ์ สามารถทำให้ผู้ที่อ่านและเกิดความรู้ความเข้าใจหลุดพ้นจากความทุกข์ได้ในระดับหนึ่ง ไปจนถึงระดับอริยะขั้นต้น
ไตรลักษณ์ หมายถึง ลักษณะที่เสมอกันแก่สังขารทั้งปวง ได้แก่ ๑.อนิจจตา ความเป็นของไม่เที่ยง ๒.ทุกขตา ความเป็นทุกข์หรือความเป็นของคงทนอยู่มิได้ ๓.อนัตตตา ความเป็นของไม่ใช่ตัวตนแสดงความตามบาลีดังนี้ ๑.สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจา สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง ๒.สพฺเพ สงฺขารา ทุกฺขา สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ ๓.สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา ธรรมทั้งปวงมิใช่ตัวตน; ลักษณะเหล่านี้มี ๓ อย่าง จึงเรียกว่า ไตรลักษณ์, ลักษณะเหล่านี้เป็นของแน่นอน เป็นกฎธรรมดา จึงเรียกว่า ธรรมนิยาม (จากพจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับพระธรรมปิฎก ป.อ.ประยุตฺโต)
ยังมีอีกหลายๆท่าน ที่มีความเข้าใจไปในทางที่ผิดๆเกี่ยวกับ ไตรลักษณ์ ท่านทั้งหลายต้องทำความเข้าใจและต้องจดจำบันทึกเอาไว้ว่า การพิจารณาหรือท่องจำในไตรลักษณ์อยู่เป็นนิจนั้น จักทำให้เกิดความรู้ความเข้าใจใน พฤติกรรม การกระทำ ทั้งทาง กาย วาจา ใจ ของบุคคลรอบข้าง รวมไปถึง สภาพแวดล้อมต่างๆที่อยู่รอบตัว จักทำให้ไม่ยึดติด หรือไม่หลงติดจนเกินควร ไม่โลภ โกรธ หลง จนเกินที่เกินเหตุ เท่ากับว่า "ไตรลักษณ์"เป็นหลักธรรมย่อที่สามารถทำให้บุคคลนั้นเกิดธรรมะต่างๆในสภาพสภาวะจิตใจได้
๑.สัพเพสังขารา อนิจจา สังขารทั้งปวง ไม่เที่ยง คำว่า "สังขาร"ในไตรลักษณ์ หมายถึง "๑.สิ่งที่ถูกปัจจัยปรุงแต่ง, สิ่งที่เกิดจากเหตุปัจจัย เป็นรูปธรรมก็ตาม นามธรรมก็ตาม ได้แก่ขันธ์ ๕ ทั้งหมด, ตรงกับคำว่า สังขตะหรือสังขตธรรม ได้ในคำว่า สังขารทั้งหลายทั้งปวงไม่เที่ยง ดังนี้เป็นต้น ๒.สภาพที่ปรุงแต่งใจให้ดีหรือชั่ว, ธรรมมีเจตนาเป็นประธานที่ปรุงแต่งความคิด การพูด การกระทำ มีทั้งที่ดีเป็นกุศล ที่ชั่วเป็นอกุศล และที่กลาง ๆ เป็นอัพยากฤต ได้แก่เจตสิก ๕๐ อย่าง (คือ เจตสิกทั้งปวง เว้นเวทนาและสัญญา) เป็นนามธรรมอย่างเดียว, ตรงกับสังขารขันธ์ ในขันธ์ ๕ ได้ในคำว่า รูปไม่เที่ยง เวทนาไม่เที่ยง สัญญาไม่เที่ยง สังขารไม่เที่ยง วิญญาณไม่เที่ยง ดังนี้เป็นต้น; อธิบายอีกปริยายหนึ่ง สังขารตามความหมายนี้ยกเอาเจตนาขึ้นเป็นตัวนำหน้า ได้แก่ สัญเจตนา คือ เจตนาที่แต่งกรรมหรือปรุงแต่งการกระทำ มี ๓ อย่างคือ ๑.กายสังขาร สภาพที่ปรุงแต่งการกระทำทางกาย คือ กายสัญเจตนา ๒.วจีสังขาร สภาพที่ปรุงแต่งการกระทำทางวาจา คือ วจีสัญเจตนา ๓.จิตตสังขาร หรือ มโนสังขาร สภาพที่ปรุงแต่งการกระทำทางใจ คือ มโนสัญเจตนา ๓.สภาพที่ปรุงแต่งชีวิตมี ๓ คือ ๑.กายสังขาร สภาพที่ปรุงแต่งกาย ได้แก่ อัสสาสะ ปัสสาสะ คือลมหายใจเข้า ลมหายใจออก ๒.วจีสังขาร สภาพที่ปรุงแต่งวาจา ได้แก่ วิตกและวิจาร ๓.จิตตสังขาร สภาพที่ปรุงแต่งใจ ได้แก่ สัญญาและเวทนา" (จากพจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับพระธรรมปิฎก ป.อ.ปยุตโต)
ดังนั้น คำว่า สังขารทั้งปวง ไม่เที่ยง คือ ไม่คงที่ มีหมุนวนสับเปลี่ยน มีเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป อยู่เสมอ จะหมุนวนสับเปลี่ยน เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป เร็ว หรือ ช้า ก็แล้วแต่ เหตุและปัจจัย ซึ่งตามที่ได้กล่าวไปข้างต้น ล้วนเป็นผลแห่งการพิจารณาชั้นสุดท้าย แห่ง สติปัฏฐาน ๔
๒.สัพเพ สังขารา ทุกฺขา สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ คำว่า "ทุกข์" ในไตรลักษณ์ หมายถึง เครื่องกำหนดว่าเป็นทุกข์, ลักษณะที่จัดว่าเป็นทุกข์, ลักษณะที่แสดงให้เห็นว่าเป็นทุกข์คือ ๑.ถูกการเกิดขึ้นและการดับสลายบีบคั้นอยู่ตลอดเวลา ๒.ทนได้ยากหรือคงอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ ๓.เป็นที่ตั้งแห่งความทุกข์ ๔.แย้งต่อสุขหรือเป็นสภาวะที่ปฏิเสธความสุข (จากพจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับพระธรรมปิฎก ป.อ.ประยุตฺโต) นั่นก็หมายถึง สังขารทั้งหลาย ไม่เที่ยง ไม่คงที่แล้ว ยังเป็นสิ่งที่ทำให้เกิดทุกข์ เกิดทุกข์ เพราะ เราคิด เกิดขึ้นเพราะสังขารทั้งหลาย ดังนี้
๓.สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา ธรรมทั้งปวงมิใช่ตัวตน คำว่า "ธรรม" ในไตรลักษณ์ หมายถึง สภาพที่ทรงไว้, ธรรมดา, ธรรมชาติ, สภาวธรรม, สัจจธรรม, ความจริง; เหตุ, ต้นเหตุ; สิ่ง, ปรากฏการณ์, ธรรมารมณ์, สิ่งที่ใจคิด; คุณธรรม, ความดี, ความถูกต้อง, ความประพฤติชอบ; หลักการ, แบบแผน, ธรรมเนียม, หน้าที่; ความชอบ, ความยุติธรรม; พระธรรม, คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ซึ่งแสดงธรรมให้เปิดเผยปรากฏขึ้น
คำว่า "อนัตตา" ลักษณะที่เป็นอนัตตา, ลักษณะที่ให้เห็นว่าเป็นของมิใช่ตัวตน ได้แก่ ๑) เป็นของสูญ คือ เป็นเพียงการประชุมเข้าขององค์ประกอบที่เป็นส่วนย่อยๆ ทั้งหลาย ว่างเปล่าจากความเป็นสัตว์ บุคคล ตัวตน เรา เขา หรือการสมมติเป็นต่างๆ ๒) เป็นสภาพหาเจ้าของมิได้ ไม่เป็นของใครจริง ๓) ไม่อยู่ในอำนาจ ไม่เป็นไปตามความปรารถนา ไม่ขึ้นต่อการบังคับบัญชาของใครๆ ๔) เป็นสภาวธรรมอันเป็นไปตามเหตุปัจจัย ขึ้นต่อเหตุปัจจัย ไม่มีอยู่โดยลำพังตัว แต่เป็นไปโดยสัมพันธ์ อิงอาศัยกันอยู่กับสิ่งอื่นๆ ๕) โดยสภาวะของมันเอง ก็แย้งหรือค้านต่อความเป็นอัตตา มีแต่ภาวะที่ตรงข้ามกับความเป็นอัตตา (จากพจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับพระธรรมปิฎก ป.อ.ประยุตฺโต)
ดังนั้น "ธรรมทั้งหลายทั้งปวง มิใช่ตัวตน" หมายถึง ธรรมทั้งหลายทั้งปวง เป็นเพียงการปรุงแต่งทางความคิด เป็นเพียงความจำ เป็นเพียงความว่างเปล่าคืออากาศธาตุ ไม่มีตัวตน
เมื่อท่านทั้งหลายได้พิจารณาในหลักไตรลักษณ์ ก็ย่อมทำให้เกิดความรู้ความเข้าใจตามหลัก "สติปัฏฐาน๔" ไม่ยึดมั่นถือมั่นใน อุปาทาน ทั้งหลายตามหลักพุทธศาสนา โดยอัตโนมัติ และยังสามารถทำให้ท่านทั้งหลายดำรงชีวิตอยู่ในสังคมใดใดได้อย่างปกติสุข ตามอัตภาพ หรือสามารถมุ่งสู่จุดสูงสุดในทางพุทธศาสนา คือ นิพพาน ได้ในไม่ช้า
ท่านทั้งหลายอาจสงสัยว่า ทำไมข้าพเจ้าจึงกล่าวว่า หากท่านทั้งหลายได้คิดได้พิจารณาในหลักไตรลักษณ์แล้ว จะสามารถท่านทั้งหลายดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข
ที่เป็นเช่นนั้นก็เพราะ หลักสำคัญของ ไตรลักษณ์ เพียงเพื่อให้ผู้เรียนรู้ ได้เรียนรู้ และทำความเข้าใจเกี่ยว ความเป็นกฎธรรมดา ความเป็นของแน่นอน หรือ ความเป็นธรรมชาติ ของ สังขารทั้งหลายทั้งปวง ทุกข์ทั้งหลายทั้งปวง ธรรมทั้งหลายทั้งปวง อันเป็นผลโดยย่อ หรือเป็นข้อพิจารณาโดยย่อ แห่ง สติปัฏฐาน ๔ ฉะนี้

จ่าสิบตรี เทวฤทธิ์ ทูลพันธ์
๒ มีนาคม ๒๕๕๕
ผู้เขียน


ไม่รู้สิ่ รู้แต่ว่า ใครแถวๆนี้กำลังคิดมาก อย่างศรีธัญญาไง ไหนบอกทางลัดไง ลัดซะอ้อมจักรวาล ไปมาครบยัง อ่อ ต้องถามว่าลัดไปลัดมากี่รอบแล้วดิ่ ลุงเทวฤทธิ์ โห ดีนะที่เราไปทางปกติ ถ้าไปทางลัดนี่หอบแย่เลย เอ๊ะ ทางลัด หรือทางรัดนะ แน่นเอี๊ยดๆ ฮาฮ๊าฮา ฮาห่าห้าฮ๊าหา :b22:

แบบนี้พอได้ยัง ลุงเทวฤทธิ์

แหมๆ เห็นมันผ่านมารอบโลกแล้ว เราหรือก็อุตส่าห์ อัพเดทข้อมูลจาก คห ล่าสุด ดันมาตอดเล็กตอดน้อยหาว่าเราเอาคห ล่าสุดมาเป็นประเด็น ว๊าาาา แบบนี้เขาเรียกแถหน้าตาย ตีหน้าใสซื่อ

ฮาฮ๊าฮา


โธ่เอ๊ย..น่าสมเพช เวทนาในความคิด ของเจ้าผู้ใช้ชื่อว่า ปลงซะ เป็นหนักหนา ทำตัวเป็นเด็กปัญญาหน่อม ทำเป็นอวดรู้ อวดฉลาด เขาเรียกว่า คนโง่
เพราะอะไรหรือขอรับ ถึงเรียกคนอย่างเจ้าว่าคนโง่ ก็เพราะเจ้าคิดว่า ทางลัดต้องเขียนบทความเพียงสั้นๆ จึงจะเรียกว่าทางลัด ความคิดอ่านแค่หางอึ่ง แต่จิตใจทราม ดีแต่กล่าวเพ้อเจ้อ ไร้สาระ แถเหงือกไปแบบไม่รู้สึกรู้สาอะไรเลย
ฮ่า ฮ่า ฮ่า บทความมันยาวก็จริงอยู่ แต่อ่านแล้ว มันก็ปฏิบัติ เพียงสั้นๆ ถ้าไม่อธิบายให้เกิดความเข้าใจ แล้วใครจะรู้ นั่นแหละ บทความจึงมีหัวข้อว่า "ไตรลักษณ์ ทางลัดของผู้ที่ไม่ต้องการคิดมาก"
อพิโธ่ เจ้า ปลงซะ เอ๊ย เจ้ามันก็แค่ เศษสวะ ที่ทำตัวเป็น สุนัขมองเห็น อาจม เป็นของดี ของหอม ปัญญาหน่อม ซะไม่มีเท่านั้นแหละว้า ฮ่า ฮ่า ฮ่า ฮ่า


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 มี.ค. 2012, 20:32 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 4
สมาชิก ระดับ 4
ลงทะเบียนเมื่อ: 08 ส.ค. 2010, 14:17
โพสต์: 260

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


sriariya เขียน:
ปลงซะ เขียน:
sriariya เขียน:
ปลงซะ เขียน:
sriariya เขียน:
โฮฮับ เขียน:
sriariya เขียน:
สิ่งที่คุณโต้ตอบมา แสดงให้เห็นว่า คุณอ่านภาษาไทยแล้วไม่เข้าใจในความหมายของภาษาไทยอยู่ดี ที่กล่าวไปนี้ไม่ใช่เป็นการด่านะขอรับ คุณอ่านให้ดีซิว่า ทั้งหมดที่คุณเถียงแบบ ไม่รู้เรื่อง นะ จริงหรือไม่
ข้าพเจ้าเขียนว่า "สิ่งที่ได้กล่าวไปทั้ง 3 อย่าง 3 ข้อ เป็นสิ่งที่บดบังมิให้บุคคลมองเห็น หรือบุคคลรู้ซึ้ง หรือเข้าใจใน อนิจจลักษณะ,ทุกขลักษณะ,อนัตตาลักษณะ[/u]

เรื่องด่าจ่าว่าไม่ได้ด่าก็เอาตามนั้น ถือเสียว่าเป็นความเคยชินของจ่า
และไม่อยากยกประโยคที่ด่ามาต่อความยาวสาวความยืด ขี้เกียจต้องมานั่งอธิบาย
สมมุติบัญญัติ
sriariya เขียน:
ข้าพเจ้าเองก็ไม่ค่อยรู้เรื่องศัพท์ภาษาบาลีนักดอกนะ
ไตรลักษณ์ อะไรที่อยู่ในใจเรา เพ้อเจ้อ แล้วคุณ
ไตรลักษณ์ คือ อะไร มันจะอยู่ในใจได้อย่างไร ถ้าไม่เรียนรู้ ไม่ได้ศึกษาทำความเข้าใจ

ไตรลักษณ์มันเป็นอาการของจิต แล้วจะไม่อยู่ในใจได้ไงเล่า
ก่ารเปลี่ยนแปลงเกิดดับของจิตทำให้เกิด ไตรลักษณ์ คือ
อนิจจลักษณ์ ทุกขลักษณ์และอนัตตลักษณ์

ฉะนั้นไอ้ตัวสันตติ นี่แหละทำให้เกิดอนิจจลักษณ์
มันไม่ได้มาบดบังอนิจจลักษณ์ แต่มันเป็นเหตุปัจจัยของอนิจลักษณ์
การที่จะรู้ อนิจลักษณ์เขาจะไปดูการเกิดดับของสภาวะอารมณ์
ไม่ได้ไปดูการเกิดดับของจิต เพราะดูไม่ทันอยู่แล้ว
ดังนั้น สันตติไม่ได้บดบังอนิจลักษณ์

สันตติเป็นการเกิดดับต่อเนื่องอย่างรวดเร็ว มันเป็นอาการของจิต
ที่เราดูไม่ทันมันเกิดจากความต่อเนื่อง ความต่อเนื่องก็เป็นอาการของจิต
ดังนั้นมันไม่มีอะไรมาบดบัง เพียงแต่เราดูไม่ทันเท่านั้นเอง


"บดบัง"แปลว่า มีสิ่งหนึ่งมาบังแสงของอีกสิ่งไว้ จ่าไปตีความให้ดี
ข้างบนเป็นคำตอบในประเด็นของคุณปลีกวิเวก

ส่วนเรื่องของจ่าที่ว่า"ความเคยชิน"ที่ผมโต้แย้งไปว่า
เป็นกายสังขารและวจีสังขารไม่เห็นจ่าตอบกลับมาเลย
จ่าครับสิ่งใดที่เราไม่รู้ ก็อย่าเที่ยวได้ชี้หน้าคนอื่นว่า เพ้อเจ้อ การแสดงออกแบบนี้
มันทำให้รู้ครับว่าผู้นั้นมีอาการทางสมอง เรียกว่าพิการซ้ำซ้อนครับ

sriariya เขียน:
คุณกล่าวว่า บางครั้ง เราก็เห็น ก็แสดงว่า ไม่มีสิ่งใดมาบดบัง
คุณกล่าวว่า แต่เป็นเพราะเราไม่รู้ไม่เข้าใจ ว่าสิ่งที่เห็น มันเป็นไตรลักษณ์ เลยไม่สนใจ สิ่งที่คุณกล่าวมานั้นแหละคือการถูกบดบัง ด้วย
สันตติ ความสืบต่อ,อิริยาบถ อาการ ยืน เดิน สั่ง นอน, และ ฆนะ คือ ก้อน ชิ้น อัน
แล้วคุณจะมาเถียงเรื่องอะไร ลองอ่านแล้วทำความเข้าใจให้ดีซิ[/b]

จ่ามาว่าผมว่าผมไม่เข้าใจภาษาไทย จ่าก็ลองไปเปิดพจนานุกรมดูว่า
"บดบัง"แปลว่าอะไร แล้วค่อยมาเถียงเรื่อง บัญญัติกับผม
มันจะได้ไม่เสียเวลา


ง่ายๆเลยจิตมีดวงเดียวเกิดดับอย่างรวดเร็ว
"บดบังแปลว่า" มีของสองสิ่ง สิ่งหนึ่งมาบังสิ่งหนึ่งไว้ จ่าเอาประโยคนี้ไปตีความใหม่
อย่าเที่ยวได้ตีคนเพราะความเคยชิน อย่าลืม ท...ทหารอดทน


ฮ่า ฮ่า ฮ่า เจ้าผู้ใช้ชื่อว่า โฮฮับ

เจ้ารู้ไหมว่า จิต หรือ ใจ ในทางพุทธศาสนา นั้นหมายถึงอะไร จิตหรือใจ ถ้าเป็นตามหลักการแพทย์เขาเรียกว่าอะไร และจิตหรือใจ ในทางศาสนา นั้นในทางการแพทย์คืออะไร
ข้าฯก็ไม่อยากจะมานั่งอธิบายให้คนปัญญาหน่อมอย่างเอ็งได้รู้ได้เข้าใจอะไรมากนัก เพราะสิ่งที่เอ็งเขียนมาทั้งหมด ก็คือ การถูกบดบัง นั่นแหละ
เจ้าจะเขียนอย่างไร แสดงความเขลาแล้วอวดฉลาดอย่างไร " อิริยาบท ,สันตติ การสืบต่อ,ฆนะ คือ ก้อน ชิ้น อัน " ก็คือ สิ่งที่มาบัง หรือบดบัง มิให้บุคคลมองเห็น หรือบุคคลรู้ซึ้ง หรือเข้าใจใน อนิจจลักษณะ,ทุกขลักษณะ,อนัตตาลักษณะ หรือ ไตรลักษณะ คำว่า บัง หมายถึง กัน กั้น หรือปิดไม่ให้เห็น ไม่ให้ผ่าน ไม่ให้โดน (จากพจนานุกรมไทย ฉบับราชบัณพิตยสถาน) คำว่า "บดบัง" เป็น ภาษาพูดให้คล้องจองกัน ซึ่งก็มีความหมายเช่นเดียวกับคำว่า "บัง" นั่นแหละ

แล้วทีนี้เจ้ารู้หรือยังว่า อะไรมันเป็นสิ่ง บดบังอะไร เอ็งเข้าใจในความหมายของภาษาไทยหรือไม่ ฮ่า ฮ่า ฮ่า

อีกประการหนึ่ง ในทางพุทธศาสนาถ้าเจ้ารู้จักและเข้าใจในคำว่า "จิต หรือ ใจ" เจ้าก็จะรู้ว่า ไตรลักษณ์ จะต้องเกิดจากการเรียนรู้ ได้ยิน ได้ฟัง ได้คิด ได้พิจารณา แต่เนื่องจากมีการเกิดและดับอย่างต่อเนื่อง หรือสืบต่อกัน (สันตติ)อย่างหนึ่ง ,อิริยาบถ อย่างหนึ่ง, ฆนะ หรือ ฆนะสัญญา สำคัญว่าเป็นก้อนเป็นชิ้นเป็นอัน จึงทำให้ทั้งสามสิ่ง เป็นสิ่งที่บังปัญญา บังความรู้ความเข้าใจ ไม่ให้เห็นสภาวะที่เป็น อนัตตา,ทุกขา,อนิจจัง

อนึ่งในทางพุทธศาสนา หากเป็นนามธรรม จิต หรือ ใจ คือ.....ก็มีสันตติ คือ เกิดและดับเป็นปัจจัยสืบต่อเนื่องกันไป (พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับพระธรรมปิฎก) และการสืบต่อเนื่องกันไปของจิตหรือใจ จึงเป็นสิ่งที่บังสัญญาไม่ให้รู้ ไม่ให้เข้าใจ ไม่ใช้มองเห็นสภาวะที่เป็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ฉะนี้


sriariya เขียน:
ไตรลักษณ์ ทางลัดของผู้ไม่ต้องการคิดมาก


ไม่รู้สิ่ รู้แต่ว่า ใครแถวๆนี้กำลังคิดมาก อย่างศรีธัญญาไง ไหนบอกทางลัดไง ลัดซะอ้อมจักรวาล ไปมาครบยัง อ่อ ต้องถามว่าลัดไปลัดมากี่รอบแล้วดิ่ ลุงเทวฤทธิ์ โห ดีนะที่เราไปทางปกติ ถ้าไปทางลัดนี่หอบแย่เลย เอ๊ะ ทางลัด หรือทางรัดนะ แน่นเอี๊ยดๆ


ฮาฮ๊าฮา ฮาห่าห้าฮ๊าหา :b22:


อิ อิ อิ
ขออภัยขอรับ คุณมาอ่านการแสดงความคิดเห็นแล้วบอกว่า ไม่ใช่ทางลัด คุณบ้าหรือเปล่าละขอรับ คุณควรจะไปอ่านตรงไหน แล้วควรจะพิจารณาตรงไหน ควรจะทำความเข้าใจตรงไหน ให้เห็นว่าเป็นทางลัดจริง ละขอรับ
เอ้า เจ้าหน้า ศรีธัญญา ช่วยรับตัว เจ้าผู้ใช้ชื่อว่า "ปลงซะ" ไม่ตรวจเช็คระบบสมองความคิดหน่อยเถอะขอรับ ฮะ ฮะ ฮะ ฮะ ฮะ ฮะ ฮะ ฮะ


อ่อเหรอ งั้งเอาใหม่นะ


sriariya เขียน:
"ไตรลักษณ์ ทางลัดของผู้ที่ไม่ต้องการคิดมาก"
สวัสดี สหายทางธรรมทั้งหลาย บทความนี้ ไม่มีการด่านะขอรับ แต่จะแนะนำให้ จะอธิบายให้ท่านทั้งหลายได้เกิดความรู้ความเข้าใจ สำหรับบุคคลทั่วไป ทั้งที่สมองสติปัญญาดี ขยันหมั่นเพียร หรือสำหรับผู้ที่มีสมองสติปัญญาปานกลาง ขยันหมั่นเพียรบ้างแต่ไม่มากนัก รวมไปถึง ผู้ที่มีสมองสติปัญญาทึบ ขยันหมั่นเพียรน้อยสุดสุด และยังมีบุคคลอีกสามประเภท คือ "บุคคลผู้มีสมองสติปัญญาดี แต่ไม่ค่อยขยันหมั่นเพียรเลย และ ผู้มีสมองสติปัญญาปานกลาง แต่ขยันหมั่นเพียรมาก ส่วนประเภทที่สาม คือ บุคคลที่มีสมองสติปัญญาทึบ แต่มีความขยันหมั่นเพียรและมีความพยายามมาก"
อันหลักธรรมในทางพุทธศาสนานั้น มีมากมายหลายหมวด หลายข้อ จำกันแทบไม่หวาดไม่ไหว ถ้าอ่านได้ไปอ่านในพระไตรปิฎกด้วยแล้ว บางคนก็ออกอาการ งง ไม่เข้าใจ หรือบางคนก็เข้าใจตามที่พระไตรปิฎกเขียนไว้ หรือบางคนก็เกิดความเข้าใจที่บิดเบือนไปจากหลักความจริง ดังนั้น จึงได้เกิดมีธรรมโดยย่อ คือย่อเพื่อให้ผู้ที่นำไปคิดพิจารณาได้ง่ายขึ้น
ธรรมเหล่านั้นก็คือ "ไตรลักษณ์"
ไตรลักษณ์ คือ สามัญญลักษณะ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "ธรรมนิยาม"คือเป็นของแน่นอนเป็นกฎธรรมดา ไม่มีผู้ใดหลีกพ้น
ไตรลักษณ์ เป็น วิธีการคิดพิจารณา สติปัฏฐาน ๔ อย่างย่อ เป็นการลดหรือละหรือเลิก การยึดมั่นถือมั่นหรืออุปาทานทั้งหลายทั้งปวง แห่ง กาย,เวทน,จิต,ธรรม, ซึ่งยังมีรายละเอียดแจกแจงใน อุปาทานทั้งหลายเหล่านั้นอีกตามสมควร(ในที่นี้จะไม่แจกแจง ให้ท่านทั้งหลายไปอ่านหรือศึกษาในพระไตรปิฏก จะได้ผลดีกว่า)
ไตรลักษณ์ เป็นเหตุแห่งทุกข์ใช่หรือไม่ คำตอบก็คือ ไม่ใช่ แต่เป็นเพียงการกำหนด หรือ ย่อความ จากข้อความใหญ่หรือข้อความที่ยาว ให้เหลือสั้นลง และเกิดความรู้ความเข้าใจได้ง่ายขึ้น (ขยายความจากพจนานุกรมไทย ฉบับบัณฑิตยสถานฯ)
ไตรลักษณ์ สามารถทำให้ผู้ที่อ่านและเกิดความรู้ความเข้าใจหลุดพ้นจากความทุกข์ได้ในระดับหนึ่ง ไปจนถึงระดับอริยะขั้นต้น
ไตรลักษณ์ หมายถึง ลักษณะที่เสมอกันแก่สังขารทั้งปวง ได้แก่ ๑.อนิจจตา ความเป็นของไม่เที่ยง ๒.ทุกขตา ความเป็นทุกข์หรือความเป็นของคงทนอยู่มิได้ ๓.อนัตตตา ความเป็นของไม่ใช่ตัวตนแสดงความตามบาลีดังนี้ ๑.สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจา สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง ๒.สพฺเพ สงฺขารา ทุกฺขา สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ ๓.สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา ธรรมทั้งปวงมิใช่ตัวตน; ลักษณะเหล่านี้มี ๓ อย่าง จึงเรียกว่า ไตรลักษณ์, ลักษณะเหล่านี้เป็นของแน่นอน เป็นกฎธรรมดา จึงเรียกว่า ธรรมนิยาม (จากพจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับพระธรรมปิฎก ป.อ.ประยุตฺโต)
ยังมีอีกหลายๆท่าน ที่มีความเข้าใจไปในทางที่ผิดๆเกี่ยวกับ ไตรลักษณ์ ท่านทั้งหลายต้องทำความเข้าใจและต้องจดจำบันทึกเอาไว้ว่า การพิจารณาหรือท่องจำในไตรลักษณ์อยู่เป็นนิจนั้น จักทำให้เกิดความรู้ความเข้าใจใน พฤติกรรม การกระทำ ทั้งทาง กาย วาจา ใจ ของบุคคลรอบข้าง รวมไปถึง สภาพแวดล้อมต่างๆที่อยู่รอบตัว จักทำให้ไม่ยึดติด หรือไม่หลงติดจนเกินควร ไม่โลภ โกรธ หลง จนเกินที่เกินเหตุ เท่ากับว่า "ไตรลักษณ์"เป็นหลักธรรมย่อที่สามารถทำให้บุคคลนั้นเกิดธรรมะต่างๆในสภาพสภาวะจิตใจได้
๑.สัพเพสังขารา อนิจจา สังขารทั้งปวง ไม่เที่ยง คำว่า "สังขาร"ในไตรลักษณ์ หมายถึง "๑.สิ่งที่ถูกปัจจัยปรุงแต่ง, สิ่งที่เกิดจากเหตุปัจจัย เป็นรูปธรรมก็ตาม นามธรรมก็ตาม ได้แก่ขันธ์ ๕ ทั้งหมด, ตรงกับคำว่า สังขตะหรือสังขตธรรม ได้ในคำว่า สังขารทั้งหลายทั้งปวงไม่เที่ยง ดังนี้เป็นต้น ๒.สภาพที่ปรุงแต่งใจให้ดีหรือชั่ว, ธรรมมีเจตนาเป็นประธานที่ปรุงแต่งความคิด การพูด การกระทำ มีทั้งที่ดีเป็นกุศล ที่ชั่วเป็นอกุศล และที่กลาง ๆ เป็นอัพยากฤต ได้แก่เจตสิก ๕๐ อย่าง (คือ เจตสิกทั้งปวง เว้นเวทนาและสัญญา) เป็นนามธรรมอย่างเดียว, ตรงกับสังขารขันธ์ ในขันธ์ ๕ ได้ในคำว่า รูปไม่เที่ยง เวทนาไม่เที่ยง สัญญาไม่เที่ยง สังขารไม่เที่ยง วิญญาณไม่เที่ยง ดังนี้เป็นต้น; อธิบายอีกปริยายหนึ่ง สังขารตามความหมายนี้ยกเอาเจตนาขึ้นเป็นตัวนำหน้า ได้แก่ สัญเจตนา คือ เจตนาที่แต่งกรรมหรือปรุงแต่งการกระทำ มี ๓ อย่างคือ ๑.กายสังขาร สภาพที่ปรุงแต่งการกระทำทางกาย คือ กายสัญเจตนา ๒.วจีสังขาร สภาพที่ปรุงแต่งการกระทำทางวาจา คือ วจีสัญเจตนา ๓.จิตตสังขาร หรือ มโนสังขาร สภาพที่ปรุงแต่งการกระทำทางใจ คือ มโนสัญเจตนา ๓.สภาพที่ปรุงแต่งชีวิตมี ๓ คือ ๑.กายสังขาร สภาพที่ปรุงแต่งกาย ได้แก่ อัสสาสะ ปัสสาสะ คือลมหายใจเข้า ลมหายใจออก ๒.วจีสังขาร สภาพที่ปรุงแต่งวาจา ได้แก่ วิตกและวิจาร ๓.จิตตสังขาร สภาพที่ปรุงแต่งใจ ได้แก่ สัญญาและเวทนา" (จากพจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับพระธรรมปิฎก ป.อ.ปยุตโต)
ดังนั้น คำว่า สังขารทั้งปวง ไม่เที่ยง คือ ไม่คงที่ มีหมุนวนสับเปลี่ยน มีเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป อยู่เสมอ จะหมุนวนสับเปลี่ยน เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป เร็ว หรือ ช้า ก็แล้วแต่ เหตุและปัจจัย ซึ่งตามที่ได้กล่าวไปข้างต้น ล้วนเป็นผลแห่งการพิจารณาชั้นสุดท้าย แห่ง สติปัฏฐาน ๔
๒.สัพเพ สังขารา ทุกฺขา สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ คำว่า "ทุกข์" ในไตรลักษณ์ หมายถึง เครื่องกำหนดว่าเป็นทุกข์, ลักษณะที่จัดว่าเป็นทุกข์, ลักษณะที่แสดงให้เห็นว่าเป็นทุกข์คือ ๑.ถูกการเกิดขึ้นและการดับสลายบีบคั้นอยู่ตลอดเวลา ๒.ทนได้ยากหรือคงอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ ๓.เป็นที่ตั้งแห่งความทุกข์ ๔.แย้งต่อสุขหรือเป็นสภาวะที่ปฏิเสธความสุข (จากพจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับพระธรรมปิฎก ป.อ.ประยุตฺโต) นั่นก็หมายถึง สังขารทั้งหลาย ไม่เที่ยง ไม่คงที่แล้ว ยังเป็นสิ่งที่ทำให้เกิดทุกข์ เกิดทุกข์ เพราะ เราคิด เกิดขึ้นเพราะสังขารทั้งหลาย ดังนี้
๓.สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา ธรรมทั้งปวงมิใช่ตัวตน คำว่า "ธรรม" ในไตรลักษณ์ หมายถึง สภาพที่ทรงไว้, ธรรมดา, ธรรมชาติ, สภาวธรรม, สัจจธรรม, ความจริง; เหตุ, ต้นเหตุ; สิ่ง, ปรากฏการณ์, ธรรมารมณ์, สิ่งที่ใจคิด; คุณธรรม, ความดี, ความถูกต้อง, ความประพฤติชอบ; หลักการ, แบบแผน, ธรรมเนียม, หน้าที่; ความชอบ, ความยุติธรรม; พระธรรม, คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ซึ่งแสดงธรรมให้เปิดเผยปรากฏขึ้น
คำว่า "อนัตตา" ลักษณะที่เป็นอนัตตา, ลักษณะที่ให้เห็นว่าเป็นของมิใช่ตัวตน ได้แก่ ๑) เป็นของสูญ คือ เป็นเพียงการประชุมเข้าขององค์ประกอบที่เป็นส่วนย่อยๆ ทั้งหลาย ว่างเปล่าจากความเป็นสัตว์ บุคคล ตัวตน เรา เขา หรือการสมมติเป็นต่างๆ ๒) เป็นสภาพหาเจ้าของมิได้ ไม่เป็นของใครจริง ๓) ไม่อยู่ในอำนาจ ไม่เป็นไปตามความปรารถนา ไม่ขึ้นต่อการบังคับบัญชาของใครๆ ๔) เป็นสภาวธรรมอันเป็นไปตามเหตุปัจจัย ขึ้นต่อเหตุปัจจัย ไม่มีอยู่โดยลำพังตัว แต่เป็นไปโดยสัมพันธ์ อิงอาศัยกันอยู่กับสิ่งอื่นๆ ๕) โดยสภาวะของมันเอง ก็แย้งหรือค้านต่อความเป็นอัตตา มีแต่ภาวะที่ตรงข้ามกับความเป็นอัตตา (จากพจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับพระธรรมปิฎก ป.อ.ประยุตฺโต)
ดังนั้น "ธรรมทั้งหลายทั้งปวง มิใช่ตัวตน" หมายถึง ธรรมทั้งหลายทั้งปวง เป็นเพียงการปรุงแต่งทางความคิด เป็นเพียงความจำ เป็นเพียงความว่างเปล่าคืออากาศธาตุ ไม่มีตัวตน
เมื่อท่านทั้งหลายได้พิจารณาในหลักไตรลักษณ์ ก็ย่อมทำให้เกิดความรู้ความเข้าใจตามหลัก "สติปัฏฐาน๔" ไม่ยึดมั่นถือมั่นใน อุปาทาน ทั้งหลายตามหลักพุทธศาสนา โดยอัตโนมัติ และยังสามารถทำให้ท่านทั้งหลายดำรงชีวิตอยู่ในสังคมใดใดได้อย่างปกติสุข ตามอัตภาพ หรือสามารถมุ่งสู่จุดสูงสุดในทางพุทธศาสนา คือ นิพพาน ได้ในไม่ช้า
ท่านทั้งหลายอาจสงสัยว่า ทำไมข้าพเจ้าจึงกล่าวว่า หากท่านทั้งหลายได้คิดได้พิจารณาในหลักไตรลักษณ์แล้ว จะสามารถท่านทั้งหลายดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข
ที่เป็นเช่นนั้นก็เพราะ หลักสำคัญของ ไตรลักษณ์ เพียงเพื่อให้ผู้เรียนรู้ ได้เรียนรู้ และทำความเข้าใจเกี่ยว ความเป็นกฎธรรมดา ความเป็นของแน่นอน หรือ ความเป็นธรรมชาติ ของ สังขารทั้งหลายทั้งปวง ทุกข์ทั้งหลายทั้งปวง ธรรมทั้งหลายทั้งปวง อันเป็นผลโดยย่อ หรือเป็นข้อพิจารณาโดยย่อ แห่ง สติปัฏฐาน ๔ ฉะนี้

จ่าสิบตรี เทวฤทธิ์ ทูลพันธ์
๒ มีนาคม ๒๕๕๕
ผู้เขียน


ไม่รู้สิ่ รู้แต่ว่า ใครแถวๆนี้กำลังคิดมาก อย่างศรีธัญญาไง ไหนบอกทางลัดไง ลัดซะอ้อมจักรวาล ไปมาครบยัง อ่อ ต้องถามว่าลัดไปลัดมากี่รอบแล้วดิ่ ลุงเทวฤทธิ์ โห ดีนะที่เราไปทางปกติ ถ้าไปทางลัดนี่หอบแย่เลย เอ๊ะ ทางลัด หรือทางรัดนะ แน่นเอี๊ยดๆ ฮาฮ๊าฮา ฮาห่าห้าฮ๊าหา :b22:

แบบนี้พอได้ยัง ลุงเทวฤทธิ์

แหมๆ เห็นมันผ่านมารอบโลกแล้ว เราหรือก็อุตส่าห์ อัพเดทข้อมูลจาก คห ล่าสุด ดันมาตอดเล็กตอดน้อยหาว่าเราเอาคห ล่าสุดมาเป็นประเด็น ว๊าาาา แบบนี้เขาเรียกแถหน้าตาย ตีหน้าใสซื่อ

ฮาฮ๊าฮา


โธ่เอ๊ย..น่าสมเพช เวทนาในความคิด ของเจ้าผู้ใช้ชื่อว่า ปลงซะ เป็นหนักหนา ทำตัวเป็นเด็กปัญญาหน่อม ทำเป็นอวดรู้ อวดฉลาด เขาเรียกว่า คนโง่
เพราะอะไรหรือขอรับ ถึงเรียกคนอย่างเจ้าว่าคนโง่ ก็เพราะเจ้าคิดว่า ทางลัดต้องเขียนบทความเพียงสั้นๆ จึงจะเรียกว่าทางลัด ความคิดอ่านแค่หางอึ่ง แต่จิตใจทราม ดีแต่กล่าวเพ้อเจ้อ ไร้สาระ แถเหงือกไปแบบไม่รู้สึกรู้สาอะไรเลย
ฮ่า ฮ่า ฮ่า บทความมันยาวก็จริงอยู่ แต่อ่านแล้ว มันก็ปฏิบัติ เพียงสั้นๆ ถ้าไม่อธิบายให้เกิดความเข้าใจ แล้วใครจะรู้ นั่นแหละ บทความจึงมีหัวข้อว่า "ไตรลักษณ์ ทางลัดของผู้ที่ไม่ต้องการคิดมาก"
อพิโธ่ เจ้า ปลงซะ เอ๊ย เจ้ามันก็แค่ เศษสวะ ที่ทำตัวเป็น สุนัขมองเห็น อาจม เป็นของดี ของหอม ปัญญาหน่อม ซะไม่มีเท่านั้นแหละว้า ฮ่า ฮ่า ฮ่า ฮ่า



อ่อ กระพ้มก็เพิ่งจะรู้เหมียนกัล ว่าพวกที่ชอบไปก็อบของคนอื่นเขามาแปะ แล้วสลัดขนพรื่ดๆละเลงเมือกสะบัดขนของตัวเองปนลงไป เรียกว่าพวกปัญญาสูงส่ง ความคิดเท่าหางเขียด จิตใจสูงลิ่ว แถเหงือกแบบรู้สึกรู้สา

อปะติโถ่ถัง ยายชีช่วยด้วย กล้วยบวชชี เจ้าศรีธัญญา เจ้าหาว่าเราเป็นเศษ แต่เจ้าน่ะเจ้ามันสวะตัวเต็มๆ มิใช่เศษ เจ้าคือพวกที่ชอบไปคาบอาจมที่ชาวบ้านปล่อยไว้ข้างทาง แล้วเอามาแล่บลิ้นอวดชาวบ้านว่านี่ไงทองคำแท้ แต่ไม่ได้ดูอาการชาวบ้านเขาเลยว่าเขากำลังทำท่าเบือนหน้าหนี เพราะทนกลิ่ทองที่ปากคุณศรีธัญญามิไหวๆจริงๆ

เอ้า ฮาฮ๊าฮา ตะลุ่งตรุ่งแชร่ย์ :b22:

.....................................................
สิ่งใดในโลกล้วน อนิจจัง คงแต่บาปบุญยัง เที่ยงแท้
คือเงาติดตัวตรัง ตรึงแน่ อยู่นา ตามแต่บุญบาปแล้ ก่อเกื้อ รักษา

รูปภาพ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 มี.ค. 2012, 20:03 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2007, 09:55
โพสต์: 1632


 ข้อมูลส่วนตัว


ฮ่า ฮ่า ฮ่า ฮ่า ฮ่า
เจ้าผู้ใช้ชื่อว่า ปลงซะ สมองสติปัญญาของเจ้ามันก็แค่หางอึ่ง อ่านภาษาไทยยังไม่ค่อยกระดิก แถมยังไม่รู้จักที่ถูกที่ควรว่าทำไมข้าพเจ้าจึงนำความหมายของศัพท์ภาษาบาลี จากพจนานุกรมพุทธศาสน์ฯ นำมาแสดงไว้ ยิ่งทำให้เห็นสภาพจิตใจอันเต็มไปด้วยโคลนตม และ...ขึ้....ของเจ้ามากยิ่งขึ้น
แถมยังหาเรื่องใส่ร้ายแบบคนเขลาไม่รู้ความ
คิดว่าข้าพเจ้าไปแอบคัดลอกของผู้อื่นมาใช้ ฮ่า ฮ่า ฮ่า น่าสงสารมาก น่าสงสารมาก
คงไม่เคยฟังพระสงฆ์เขาเทศนาละซิท่า หัดไปฟังพระสงฆ์เขาเทศนาบ้างนะ หรือเจ้าอาจจะไม่เคยบวชเรียน เลยไม่รู้ว่า วิธีเขียนกระทู้ หรือเขียนบทความธรรมะนั้น เขาเขียนกันอย่างไร ไปศึกษามาใหม่นะ อย่าใช้สมองสติปัญญาที่เต็มไปด้วยโคลนตม และ..ขึ้...ของเจ้าเที่ยวใส่ร้ายผู้อื่นในเวบฯธรรมะเลย ฮ่า ฮ่า ฮ่า ฮ่า


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 มี.ค. 2012, 21:33 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 4
สมาชิก ระดับ 4
ลงทะเบียนเมื่อ: 08 ส.ค. 2010, 14:17
โพสต์: 260

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


sriariya เขียน:
ฮ่า ฮ่า ฮ่า ฮ่า ฮ่า
เจ้าผู้ใช้ชื่อว่า ปลงซะ สมองสติปัญญาของเจ้ามันก็แค่หางอึ่ง อ่านภาษาไทยยังไม่ค่อยกระดิก แถมยังไม่รู้จักที่ถูกที่ควรว่าทำไมข้าพเจ้าจึงนำความหมายของศัพท์ภาษาบาลี จากพจนานุกรมพุทธศาสน์ฯ นำมาแสดงไว้ ยิ่งทำให้เห็นสภาพจิตใจอันเต็มไปด้วยโคลนตม และ...ขึ้....ของเจ้ามากยิ่งขึ้น
แถมยังหาเรื่องใส่ร้ายแบบคนเขลาไม่รู้ความ
คิดว่าข้าพเจ้าไปแอบคัดลอกของผู้อื่นมาใช้ ฮ่า ฮ่า ฮ่า น่าสงสารมาก น่าสงสารมาก
คงไม่เคยฟังพระสงฆ์เขาเทศนาละซิท่า หัดไปฟังพระสงฆ์เขาเทศนาบ้างนะ หรือเจ้าอาจจะไม่เคยบวชเรียน เลยไม่รู้ว่า วิธีเขียนกระทู้ หรือเขียนบทความธรรมะนั้น เขาเขียนกันอย่างไร ไปศึกษามาใหม่นะ อย่าใช้สมองสติปัญญาที่เต็มไปด้วยโคลนตม และ..ขึ้...ของเจ้าเที่ยวใส่ร้ายผู้อื่นในเวบฯธรรมะเลย ฮ่า ฮ่า ฮ่า ฮ่า


ไอ๋ย๊า ยืมจมูกคนอืนเขามาหายใจ แล้วยังมาคิดว่าตัวเองได้เนื้อได้หนังมาด้วยกำลังของตนเองอีก อย่างนี้เขาเรียกกิ้งก่าได้ทองเจ้ามะฮะ แถมคาบเนื้อมาแล้วกลับไม่รู้คุณค่า คิดว่าเงาในน้ำเป็นของจริงแล้วกระโจนลงไปงับเอาเงาในน้ำ ตกน้ำป๋อมแป๋มแล้วว่ายกลับขึ้นมาบนฝั่งไม่ได้ สะบัดขนจนหน้าแดงลมออกจมูกว่ายวนไปวนมาในน้ำใหญ่เลย น่าฉงฉานนนก๊าา

ฮานะข๊ะ :b22:

.....................................................
สิ่งใดในโลกล้วน อนิจจัง คงแต่บาปบุญยัง เที่ยงแท้
คือเงาติดตัวตรัง ตรึงแน่ อยู่นา ตามแต่บุญบาปแล้ ก่อเกื้อ รักษา

รูปภาพ


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 86 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 139 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร