วันเวลาปัจจุบัน 24 เม.ย. 2024, 09:06  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กระทู้นี้ถูกล็อก คุณไม่สามารถแก้ไขข้อความ หรือ ตอบกลับในกระทู้นี้  [ 107 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 มี.ค. 2012, 08:06 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โฮฮับ เขียน:
คุณกรัชกายครับ วันหลังเอาพุทธพจน์หรือบทความของใครมาลง
กรุณาทำลิ้งมาด้วยนะครับ
จะได้รู้ว่าของจริงของปลอม สงสัยจริงที่ลิ้งตัวเองใส่จริง แต่ลิ้งที่ต้องใส่ดันไม่ใส่

เอาลิ้งมาดูให้แน่ใจก่อน แล้วจะบอกให้ว่าคุณหลงไปไหนต่อไหนแล้ว


คูณโฮฮับบบเอ้ย ไม่เอาลิงค์มาก็ถามหา ครั้นเอาลิงค์มาก็ว่าโฆษณาแฝง จะเอายังไงแน่

ที่โฮฮับพูดมาทั้งหมดทุก คห. ไม่มีอะไรสักอย่าง เป็นความเห็นส่วนตัวล้วนๆ แต่เอาบาลีมาแจมแค่นี้เอง :b1: :b32: :b9:

โตๆด้วยกันแล้ว เลิกเถอะครับ พูดจายียวนตีรวนออกนอกเรื่อง
ถ้าไม่ให้ลิ้งมาก็ไม่เป็นไรผมไปหามาแล้วครับ ที่แท้มันเป็นความเห็นของคุณกรัขกายเอง
ผมสงสัยอยู่แล้วกับประโยคนี้ รู้แล้วว่าต้องมั่วเอาเอง

“ภิกษุทั้งหลาย เมื่อภิกษุมีสติ (คือ ปฏิบัติตามหลักสติปัฏฐาน 4 ) มีสัมปชัญญะ (คือสร้างสัมปชัญญะในการยืน เดิน นั่ง นอน กิน ดื่ม ทำ เป็นต้น)
ฯลฯ


เข้าไปเสิทหาในกูเกิล พิมพ์ว่าพระไตรปิฎกก็ไม่มี พิมพ์ว่าพุทธพจน์ก็ไม่ได้
เห็นขึ้นมาแบบนี้ครับhttp://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?f=1&t=33863&start=105&view=print

[size=150]คุณกรัชกายนี่อย่างหนาเลยนะครับ


อ้างคำพูด:
เข้าไปเสิทหาในกูเกิล พิมพ์ว่าพระไตรปิฎกก็ไม่มี พิมพ์ว่าพุทธพจน์ก็ไม่ได้


อ้อ...ธรรมะกูเกิล พุทธพจน์กูเกิล กรูจะบ้าตาย :b9: กลับขึ้นไปดูเต็มๆอีกทีโฮฮับไป พุทธที่นำมานั้น บอกที่มาไว้ ถ้าอ่านคำย่อไม่เป็นดูไม่รู้เรื่องก็ไปศึกษามาก่อนไป๋ :b34:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 มี.ค. 2012, 08:19 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


nongkong เขียน:

ดิฉันเริ่มสับสนแล้ว ปัญญาคือความ รู้ ความฉลาด แต่ในทางธรรมไม่ได้หมายความว่าสมองดีแล้วจะเข้าใจในธรรมนี่เจ้าค่ะเพราะไอ้สมองของเราใช้วิธีคิด แบบตรรกะไม่ใช่หรอ แล้วที่คุนโฮอธิบาย หมายถึงปัญญาในทางธรรมนั่นก็คือ สติปัญญา(จิต) ไม่ใช่หรอเจ้าค่ะ

อย่างกรณีคุณกรัชกายกับดิฉันโต้แย้ง ถ้าพูดถึงความฉลาดคุนกรัชกายน่าจะสมองดีกว่าดิฉัน แต่เวลาโต้แย้งชี้แจงคุนกรัชกายกับไม่สามารถควบคุมสติเผลอพูดคำหยาบ (แสดงความโง่เขลา) เพราะฉะนั้นในทางธรรมสมองมันก็เป็นแค่อายตนะใช่หรือไม่เจ้าค่ะ ดิฉันเข้าใจถูกหรือไม่โปรดชี้แนะ


คุณ nong กับ โฮฮับ ชอบยกคำบาลีมาพูด เพื่อให้ดูว่า ฉันพูดธรรมะนะเจ้าคะ/ครับ แต่ถามเถอะว่า อายตนะมีกี่อย่าง อะไร บ้าง รับรองใบ้กิน

คุณ nong ไม่รู้จักแม้ชีวิตด้วยซ้ำ :b14:

ไม่ได้เผลออ่ะครับ ตั้งใจเลยแหละ :b12:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 มี.ค. 2012, 11:08 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 ก.พ. 2012, 12:27
โพสต์: 2372

แนวปฏิบัติ: ปฏิจจสมุปบาท และกรรมฐาน
งานอดิเรก: สวดมนต์รภาวนา
อายุ: 27

 ข้อมูลส่วนตัว


รบกวนคุนโฮช่วยชี้แนะดิฉันด้วย ว่าดิฉันเข้าใจขาดตกบกพร่องส่วนใด ก่อนที่ดิฉันจะสงสัย เพราะดิฉันไม่ใช่คนฉลาดหรือไหวพริบเป็นเลิศ ดิฉันเน้นภาคปฏิบัติทางโลกโดยการฝึกควบคุมสมาธิตัวเองในชีวิตประจำวันทำให้เกิดสติอย่างที่คุนโฮแนะนำมาข้างต้น ส่วนสมองในทางธรรมมันคืออาตนะภายในใช่หรือไม่เจ้าค่ะ ซึ่งดิฉันถามคำถามนี้ดิฉันก็ทราบแล้วนะเจ้าค่ะว่ามันคืออะไร เพราะดิฉันไปศึกษามาแล้วแต่ยังเกิดความข้องใจเพราะบางครั้งสมองดิฉันคิดเป็นตรรกะมีเหตุมีผล แต่พอดิฉันคิดลึกซึ้งเขาไปอีกโดยใช้จิตไม่ฟุ้งซ่านไม่ปรุ่งแต่ง ดิฉันก็ก็กลับคิดว่าเราควรนิ่งเฉยไม่ต้องไปคิดรึหาคำอธิบายเราควรปล่อยวาง ภาคปฏิบัติดิฉันมันออกมาเป็นแบบนี้แหละเจ้าค่ะ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 มี.ค. 2012, 11:59 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


ความจริง....ของง่าย ๆ..นี้สำคัญ

ตักบาตร..สังฆทาน..รักษาศีล..

ทาน..คือการสละ...การละ

แค่...วัตถุสิ่งของ..ยังสละไม่เป็น..เอาแต่พูดว่าจะละกิเลส

ศีล...ยังทำไม่ได้....ปากก็พร่ำแต่เรื่องมรรค 8

มันจะเป็นอะไรกันนี้...

จะไม่ตลกไปหน่อยหรือ?

ของง่าย..ๆ...มันไม่ธรรมดา...น่า


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 มี.ค. 2012, 12:01 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:

อ้อ...ธรรมะกูเกิล พุทธพจน์กูเกิล กรูจะบ้าตาย :b9: กลับขึ้นไปดูเต็มๆอีกทีโฮฮับไป พุทธที่นำมานั้น บอกที่มาไว้ ถ้าอ่านคำย่อไม่เป็นดูไม่รู้เรื่องก็ไปศึกษามาก่อนไป๋ :b34:

ก็นั้นแหล่ะ ก็เอาคำนั้นไปเสิทหา มันก็ได้ตามที่ว่านั้น
แล้วจะพูดให้มันมากเรื่องทำไม ก็ยกเอาสิ่งที่คุณอ้างมาให้ดูมันก็หมดเรื่อง

ไอ้พวกปากแข็ง โขมยกล้วยแขกชาวบ้านกิน แล้วบอกไม่ได้กิน
ปากเนี่ยมันแผล็บเลยนะ
:b13:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 มี.ค. 2012, 12:37 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


nongkong เขียน:
รบกวนคุนโฮช่วยชี้แนะดิฉันด้วย ว่าดิฉันเข้าใจขาดตกบกพร่องส่วนใด ก่อนที่ดิฉันจะสงสัย เพราะดิฉันไม่ใช่คนฉลาดหรือไหวพริบเป็นเลิศ ดิฉันเน้นภาคปฏิบัติทางโลกโดยการฝึกควบคุมสมาธิตัวเองในชีวิตประจำวันทำให้เกิดสติอย่างที่คุนโฮแนะนำมาข้างต้น ส่วนสมองในทางธรรมมันคืออาตนะภายในใช่หรือไม่เจ้าค่ะ ซึ่งดิฉันถามคำถามนี้ดิฉันก็ทราบแล้วนะเจ้าค่ะว่ามันคืออะไร เพราะดิฉันไปศึกษามาแล้วแต่ยังเกิดความข้องใจเพราะบางครั้งสมองดิฉันคิดเป็นตรรกะมีเหตุมีผล แต่พอดิฉันคิดลึกซึ้งเขาไปอีกโดยใช้จิตไม่ฟุ้งซ่านไม่ปรุ่งแต่ง ดิฉันก็ก็กลับคิดว่าเราควรนิ่งเฉยไม่ต้องไปคิดรึหาคำอธิบายเราควรปล่อยวาง ภาคปฏิบัติดิฉันมันออกมาเป็นแบบนี้แหละเจ้าค่ะ

คุณน้องคิงคองครับ ก่อนอื่นต้องเข้าใจก่อนว่า สมองหรือใจของเรามันทำหน้าที่
คิดมันก็ต้องคิด ไปห้ามมันไม่ได้ เพียงแต่เมื่อมันคิด เราต้องมีสติระลึกรู้ครับว่ากำลังคิด

เรื่องการปล่อยวาง ความหมายก็คือรู้แล้วจึงปล่อย ปุถุชนยังทำไม่ได้หรอกครับ
เห็นพูดว่าปล่อยวางๆๆแล้วแท้จริงกำลังหลงไปคิดเรื่องอื่นแทนครับ


การปล่อยวางได้นั้น บุคคลจะต้องละสักกายทิฐิให้ได้เสียก่อนครับ
นั้นก็คือต้องผ่านการเห็นไตรลักษณ์มาแล้ว

คุณคิงคองครับ ผมยินแถลงข้อข้องใจให้นะครับ แต่ทางที่ดีกรุณาถามแยกประเด็นมา
ผมจะได้ตอบได้ถูกครับ ถ้าถามรวมความมาแบบนี้อธิบายยากครับ เหตุเพราะมันมีการเอา
บัญญัติต่างๆหรือคำสอนของพระพุทธเจ้ามามาสอนผิดที่ผิดทางตั้งแต่ต้น บางครั้งพูดรวมกันไป
อาจทำให้คุณสับสนหรือเข้าใจผิดได้ครับ


ขอแนะนำสั้นๆก่อนว่า ขั้นแรกหมั่นเจริญสติด้วยการ
ตามรู้อารมณ์ที่เกิด โกรธก็รู้ว่าโกรธ หลงไปคิดเรื่องไร้สาระก็รู้ว่าคิด
โลภหรือเกิดราคะก็รู้ หมั่นตามรู้ไปเรื่อยๆ จนจำสภาวะต่างๆได้แม่นยำ
สภาวะต่างๆที่เราจำได้เขาเรียกว่า สัญญา

สภาวะที่เกิดปัจจุบันกับสภาวะสัญญานี่แหล่ะครับ เป็นเหตุปัจจัยให้เห็นไตรลักษณ์


จำไว้ครับการตามรู้อารมณ์เราจะต้อง มีศีลคอยกำกับไม่ให้เกิดกายสังขาร
หรือวจีสังขารนะครับ เดี๋ยวจะติดคุก :b13:

อย่าลืมแยกถามมาเป็นข้อๆนะครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 มี.ค. 2012, 13:16 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 ก.พ. 2012, 12:27
โพสต์: 2372

แนวปฏิบัติ: ปฏิจจสมุปบาท และกรรมฐาน
งานอดิเรก: สวดมนต์รภาวนา
อายุ: 27

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
nongkong เขียน:
รบกวนคุนโฮช่วยชี้แนะดิฉันด้วย ว่าดิฉันเข้าใจขาดตกบกพร่องส่วนใด ก่อนที่ดิฉันจะสงสัย เพราะดิฉันไม่ใช่คนฉลาดหรือไหวพริบเป็นเลิศ ดิฉันเน้นภาคปฏิบัติทางโลกโดยการฝึกควบคุมสมาธิตัวเองในชีวิตประจำวันทำให้เกิดสติอย่างที่คุนโฮแนะนำมาข้างต้น ส่วนสมองในทางธรรมมันคืออาตนะภายในใช่หรือไม่เจ้าค่ะ ซึ่งดิฉันถามคำถามนี้ดิฉันก็ทราบแล้วนะเจ้าค่ะว่ามันคืออะไร เพราะดิฉันไปศึกษามาแล้วแต่ยังเกิดความข้องใจเพราะบางครั้งสมองดิฉันคิดเป็นตรรกะมีเหตุมีผล แต่พอดิฉันคิดลึกซึ้งเขาไปอีกโดยใช้จิตไม่ฟุ้งซ่านไม่ปรุ่งแต่ง ดิฉันก็ก็กลับคิดว่าเราควรนิ่งเฉยไม่ต้องไปคิดรึหาคำอธิบายเราควรปล่อยวาง ภาคปฏิบัติดิฉันมันออกมาเป็นแบบนี้แหละเจ้าค่ะ

คุณน้องคิงคองครับ ก่อนอื่นต้องเข้าใจก่อนว่า สมองหรือใจของเรามันทำหน้าที่
คิดมันก็ต้องคิด ไปห้ามมันไม่ได้ เพียงแต่เมื่อมันคิด เราต้องมีสติระลึกรู้ครับว่ากำลังคิด

เรื่องการปล่อยวาง ความหมายก็คือรู้แล้วจึงปล่อย ปุถุชนยังทำไม่ได้หรอกครับ
เห็นพูดว่าปล่อยวางๆๆแล้วแท้จริงกำลังหลงไปคิดเรื่องอื่นแทนครับ


การปล่อยวางได้นั้น บุคคลจะต้องละสักกายทิฐิให้ได้เสียก่อนครับ
นั้นก็คือต้องผ่านการเห็นไตรลักษณ์มาแล้ว

คุณคิงคองครับ ผมยินแถลงข้อข้องใจให้นะครับ แต่ทางที่ดีกรุณาถามแยกประเด็นมา
ผมจะได้ตอบได้ถูกครับ ถ้าถามรวมความมาแบบนี้อธิบายยากครับ เหตุเพราะมันมีการเอา
บัญญัติต่างๆหรือคำสอนของพระพุทธเจ้ามามาสอนผิดที่ผิดทางตั้งแต่ต้น บางครั้งพูดรวมกันไป
อาจทำให้คุณสับสนหรือเข้าใจผิดได้ครับ


ขอแนะนำสั้นๆก่อนว่า ขั้นแรกหมั่นเจริญสติด้วยการ
ตามรู้อารมณ์ที่เกิด โกรธก็รู้ว่าโกรธ หลงไปคิดเรื่องไร้สาระก็รู้ว่าคิด
โลภหรือเกิดราคะก็รู้ หมั่นตามรู้ไปเรื่อยๆ จนจำสภาวะต่างๆได้แม่นยำ
สภาวะต่างๆที่เราจำได้เขาเรียกว่า สัญญา

สภาวะที่เกิดปัจจุบันกับสภาวะสัญญานี่แหล่ะครับ เป็นเหตุปัจจัยให้เห็นไตรลักษณ์


จำไว้ครับการตามรู้อารมณ์เราจะต้อง มีศีลคอยกำกับไม่ให้เกิดกายสังขาร
หรือวจีสังขารนะครับ เดี๋ยวจะติดคุก :b13:

อย่าลืมแยกถามมาเป็นข้อๆนะครับ

ขอบพระคุณมากนะเจ้าค่ะที่ชี้แนวทางการปฏิบัติ :b8: หลังจากนี้ดิฉันจะได้ปฏิบัติถูกตามแนวทางหลังจากที่มั่วมานานเพราะสับสน :b9:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 มี.ค. 2012, 13:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 5
สมาชิก ระดับ 5
ลงทะเบียนเมื่อ: 12 พ.ย. 2009, 13:38
โพสต์: 376

ชื่อเล่น: ต้น
อายุ: 0
ที่อยู่: นครสวรรค์

 ข้อมูลส่วนตัว


บุคคลที่ควรวางเฉย

..........ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลที่ควรวางเฉย ไม่ควร
เสพ ไม่ควรคบ ไม่ควรเข้าไปนั่งใกล้เป็นไฉน บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้
โกรธ มากด้วยความแค้นใจ เมื่อถูกว่าแม้เพียงเล็กน้อยก็ข้องใจ โกรธเคือง
พยาบาท ขึ้งเคียด ทำความโกรธ ความขัดเคือง และความโทมนัสให้ปรากฏ
เปรียบเหมือนแผลเก่า ถูกไม้หรือกระเบื้องกระทบเข้า ย่อมให้ความหมักหมมยิ่ง
กว่าประมาณ แม้ฉันใด บุคคลบางคนในโลกนี้ ก็ฉันนั้นเหมือนกัน เป็นผู้โกรธ
มากด้วยความแค้นใจ เมื่อถูกว่าแม้เพียงเล็กน้อยก็ข้องใจ โกรธเคือง พยาบาท
ขึ้งเคียด ทำความโกรธ ความขัดเคือง และความโทมนัสให้ปรากฏ เปรียบเหมือน
ถ่านไม้มะพลับ ถูกไม้หรือกระเบื้องกระทบเข้า ย่อมแตกเสียงดังจิๆ แม้ฉันใด
บุคคลบางคนในโลกนี้ ก็ฉันนั้นเหมือนกัน เป็นผู้โกรธ มากด้วยความแค้นใจ
เมื่อถูกว่าแม้เพียงเล็กน้อยก็ข้องใจ โกรธเคือง พยาบาท ขึ้งเคียด ทำความโกรธ
และความโทมนัสให้ปรากฏ เปรียบเหมือนหลุมคูถ ถูกไม้หรือกระเบื้องกระทบ
เข้าย่อมมีกลิ่นเหม็นฟุ้งขึ้น แม้ฉันใด บุคคลบางคนในโลกนี้ ก็ฉันนั้นเหมือนกัน
เป็นผู้โกรธ มากด้วยความแค้นใจ แม้ถูกว่าเพียงเล็กน้อยก็ข้องใจ โกรธเคือง
พยาบาท ขึ้งเคียด ทำความโกรธ ความขัดเคือง และความโทมนัสให้ปรากฏ
ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลเห็นปานนี้ ควรวางเฉย ไม่ควรเสพ ไม่ควรคบ ไม่
ควรเข้าไปนั่งใกล้ ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะเขาพึงด่าบ้าง บริภาษบ้าง ทำความ
พินาศให้เราบ้าง ฉะนั้น บุคคลเห็นปานนี้ จึงควรวางเฉย ไม่ควรเสพ ไม่ควร
คบ ไม่ควรเข้าไปนั่งใกล้ ....ฯลฯ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 มี.ค. 2012, 13:46 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 ก.พ. 2012, 12:27
โพสต์: 2372

แนวปฏิบัติ: ปฏิจจสมุปบาท และกรรมฐาน
งานอดิเรก: สวดมนต์รภาวนา
อายุ: 27

 ข้อมูลส่วนตัว


สาธุเจ้าค่ะท่านtonnk :b8: ดิฉันก็กำลังวางเฉย กับบุคคลที่ไม่ควรเข้าไปคบเข้าไปใกล้อยู่เจ้าค่ะ :b1:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 มี.ค. 2012, 15:08 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ลงพุทธพจน์บ้าง เห็นว่าเกี่ยวกับวิธีเจริญสติและสัมปชัญญะ (หรือปัญญา)


“ภิกษุทั้งหลาย เมื่อภิกษุมีสติ (คือ ปฏิบัติตามหลักสติปัฏฐาน 4 ) มีสัมปชัญญะ (คือสร้างสัมปชัญญะในการยืน เดิน นั่ง นอน กิน ดื่ม ทำ เป็นต้น) ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่อย่างนี้

ถ้าเกิดเวทนาที่เป็นสุขขึ้น เธอก็รู้ชัดอย่างนี้ว่า เวทนาทที่เป็นสุขนี้ เกิดขึ้นแล้วแก่เรา ก็แล เวทนานั้นอาศัยปัจจัยจึงเกิดขึ้น มิใช่ไม่อาศัยอะไรเลย อาศัยอะไร ? ก็อาศัยกายนี้เอง ก็กายนี้ เป็นของไม่เที่ยง เป็นของปรุงแต่ง อาศัยเหตุเกิดขึ้น แล้วสุขเวทนาซึ่งเกิดโดยอาศัยกายที่ไม่เที่ยง เป็นของปรุงแต่ง เป็นปฏิจจสมุปบันธรรมอยู่แล้ว จักเป็นของเที่ยงได้แต่ที่ไหน

เธอมองเห็นความเป็นสิ่งไม่เที่ยง ความเสื่อมสิ้นไป ความจางหาย ดับไป ความสลัดออกไปทั้งในกายและในสุขเวทนาอยู่ เมื่อเธอมองเห็น...อย่างนี้ ราคานุสัยที่มีในกายและในสุขเวทนา ก็จะถูกละเสียได้


“เมื่อภิกษุมีสติ มีสัมปชัญญะ...อยู่อย่างนี้ ถ้าเกิดเวทนาที่เป็นทุกข์ขึ้น เธอก็รู้ชัด...ปฏิฆานุสัยที่มีในกายและในทุกขเวทนา ก็จะถูกละเสียได้


“เมื่อภิกษุมีสติ มีสัมปชัญญะ...อยู่อย่างนี้ ถ้าเกิดเวทนาที่ไม่ทุกข์ไม่สุขขึ้น เธอก็รู้ชัด...อวิชชานุสัยที่มีในกายและในอทุกขมสุขเวทนา ก็จะถูกละเสียได้”


(สํ.สฬ.18/377/261)



ยกมาให้ดูไม่รู้กี่รอบต่อกี่รอบแล้วพร้อมที่คัมภีร์อ้างอิง แล้วจะเอาอะไรอีก :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 มี.ค. 2012, 15:11 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
nongkong เขียน:
รบกวนคุนโฮช่วยชี้แนะดิฉันด้วย ว่าดิฉันเข้าใจขาดตกบกพร่องส่วนใด ก่อนที่ดิฉันจะสงสัย เพราะดิฉันไม่ใช่คนฉลาดหรือไหวพริบเป็นเลิศ ดิฉันเน้นภาคปฏิบัติทางโลกโดยการฝึกควบคุมสมาธิตัวเองในชีวิตประจำวันทำให้เกิดสติอย่างที่คุนโฮแนะนำมาข้างต้น ส่วนสมองในทางธรรมมันคืออาตนะภายในใช่หรือไม่เจ้าค่ะ ซึ่งดิฉันถามคำถามนี้ดิฉันก็ทราบแล้วนะเจ้าค่ะว่ามันคืออะไร เพราะดิฉันไปศึกษามาแล้วแต่ยังเกิดความข้องใจเพราะบางครั้งสมองดิฉันคิดเป็นตรรกะมีเหตุมีผล แต่พอดิฉันคิดลึกซึ้งเขาไปอีกโดยใช้จิตไม่ฟุ้งซ่านไม่ปรุ่งแต่ง ดิฉันก็ก็กลับคิดว่าเราควรนิ่งเฉยไม่ต้องไปคิดรึหาคำอธิบายเราควรปล่อยวาง ภาคปฏิบัติดิฉันมันออกมาเป็นแบบนี้แหละเจ้าค่ะ

คุณน้องคิงคองครับ ก่อนอื่นต้องเข้าใจก่อนว่า สมองหรือใจของเรามันทำหน้าที่
คิดมันก็ต้องคิด ไปห้ามมันไม่ได้ เพียงแต่เมื่อมันคิด เราต้องมีสติระลึกรู้ครับว่ากำลังคิด

เรื่องการปล่อยวาง ความหมายก็คือรู้แล้วจึงปล่อย ปุถุชนยังทำไม่ได้หรอกครับ
เห็นพูดว่าปล่อยวางๆๆแล้วแท้จริงกำลังหลงไปคิดเรื่องอื่นแทนครับ


การปล่อยวางได้นั้น บุคคลจะต้องละสักกายทิฐิให้ได้เสียก่อนครับ
นั้นก็คือต้องผ่านการเห็นไตรลักษณ์มาแล้ว

คุณคิงคองครับ ผมยินแถลงข้อข้องใจให้นะครับ แต่ทางที่ดีกรุณาถามแยกประเด็นมา
ผมจะได้ตอบได้ถูกครับ ถ้าถามรวมความมาแบบนี้อธิบายยากครับ เหตุเพราะมันมีการเอา
บัญญัติต่างๆหรือคำสอนของพระพุทธเจ้ามามาสอนผิดที่ผิดทางตั้งแต่ต้น บางครั้งพูดรวมกันไป
อาจทำให้คุณสับสนหรือเข้าใจผิดได้ครับ

ขอแนะนำสั้นๆก่อนว่า ขั้นแรกหมั่นเจริญสติด้วยการ
ตามรู้อารมณ์ที่เกิด โกรธก็รู้ว่าโกรธ หลงไปคิดเรื่องไร้สาระก็รู้ว่าคิด
โลภหรือเกิดราคะก็รู้ หมั่นตามรู้ไปเรื่อยๆ จนจำสภาวะต่างๆได้แม่นยำ
สภาวะต่างๆที่เราจำได้เขาเรียกว่า สัญญา

สภาวะที่เกิดปัจจุบันกับสภาวะสัญญานี่แหล่ะครับ เป็นเหตุปัจจัยให้เห็นไตรลักษณ์

จำไว้ครับการตามรู้อารมณ์เราจะต้อง มีศีลคอยกำกับไม่ให้เกิดกายสังขาร
หรือวจีสังขารนะครับ เดี๋ยวจะติดคุก

อย่าลืมแยกถามมาเป็นข้อๆนะครับ


ถามเกี่ยวกับคำว่า "อายตนะ" ที่คุณ nong พูดถึง แนะ ทำเป็นคุยกันเอง :b9: ไม่สนใจเราสะอีกนิ :b1:

ถ้าแบบนี้ก็ชวนกันไปตั้งกระทู้คุยกันสองคนเถอะนะขอรับนะ :b12:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 มี.ค. 2012, 19:38 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2007, 09:55
โพสต์: 1632


 ข้อมูลส่วนตัว


nongkong เขียน:
sriariya เขียน:
โฮฮับ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ไม่ผิดหรอกกาลน่ะ ถูกกาลเลยแหละ

ปัญญาที่เป็นโลกุตระมันก็พัฒนามาจากปัญญาซึ่งเป็นโลกียปัญญานี่แหละ อริยะบุคคลก็เป็นปุถุชนมาก่อน จะเป็นอริยะตั้งแต่เกิดก็หาไม่ :b1:

พัฒนายังไงครับ ฝึกบวกเลขเร็วหรือ หรือท่องอาขยานได้เยอะ

คนหูหนวกแต่กำเนิดจบด็อกเตอร์กับคนหูดีที่จบแค่ป.หก
ถ้าบอกว่า เสียงสูงเสียงต่ำ โซบราโนหรือบาลิโทน
คุณว่าใครจะรู้ดีกว่ากันครับ

คนตาบอดแต่กำเนิด ได้ศาสดาจารย์ในด้านปรัชญา
กับคนตาดีที่อ่านหนังสือไม่ออก ถ้าบอกว่า ท้องฟ้าสีฟ้า
คนตาบอดหรือคนอ่านหนังสือไม่ออกครับ ที่เข้าใจว่าสีฟ้าเป็นอย่างไร

ปัญญาที่ว่ามันไม่ได้เกี่ยวกับความฉลาดเลยครับ
ความฉลาดมันขึ้นอยู่กับสมองมันเป็นรูปธรรม ปัญญามันเป็นนามธรรม
ไอ้สมองนั้นน่ะ ในทางธรรมแล้ว มันเป็นแค่อายตนะภายในตัวหนึ่งเท่านั้น
โดยรวมแล้ว ถ้าไม่พิการส่วนใด อายตนะภายในก็เหมือนกันครับ


ฮ่า ฮ่า ฮ่า ข้าพเจ้าบอกแล้ว ว่าเจ้าโฮฮับนั้น เขามีความรู้ความเข้าใจเพียงแค่อวดฉลาดเท่านั้น ข้าพเจ้าไม่ได้กล่าวเสียดสีนะขอรับ เพราะความไม่มีความรู้ความเข้าใจในภาษาไทย และยังไม่สามารถเปิดพจนานุกรมไทย เพื่อทำความเข้าใจว่าคำไหนมีความหมายว่าอะไร อวดทำเป็นมีความรู้อยู่ในตัว จนตอบแบบแสดงความเขลา คำตอบของเจ้าโฮฮับ นั้น มีไว้สำหรับหลอกหรืออำคนที่ไม่รู้ เพื่อให้หลงเชื่อเท่านั้นขอรับ

ความฉลาด และปัญญา ย่อมเกี่ยวข้อง กับสมอง และอวัยวะทุกส่วนของร่างกาย ปัญญาคือ ความรู้ฯ อันเกิดจากการได้รับการสัมผัสจากอายตนะภายนอกโดยอายตนะภายในแล้วเป็นสัญญาคือความจำไว้ในสมองฯ
ปัญญา และ ความฉลาด คือสิ่งสิ่งเดียวกัน เป็นได้ทั้ง นามธรรม และ รูปธรรม

[b]ถ้าหาก ปัญญา และความฉลาด ไม่ได้ถูกใช้งาน ก็จะถูกเก็บไว้ในสมองในรูปของคลื่นไฟฟ้า ก็จะเป็นเพียงนามธรรม และเก็บตัวอยู่ในรูปธรรม [b]คือเซลล์สมอง
ต่อเมื่อ ปัญญา และความฉลาด ทั้งหลายในตัวบุคคลถูกใช้ออกมาในทางใดทางหนึ่ง ในกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง หรือในพฤติกรรม การกระทำ ใด พฤติกรรม การกระทำหนึ่ง ก็จะเป็น รูปธรรม หรืออาจจะเป็นในลักษณะของนามธรรม ก็ได้[/b]

ดังนั้น ทั้ง ปัญญา และ ความฉลาด จึงเป็นทั้ง นามธรรม และ รูปธรรม หมุนวนกันไป เพราะ ก่อนที่บุคคลจะเกิดปัญญา หรือ ความรู้ ก็จักต้องได้รับการสัมผัสจากอายตนะภายนอก ซึ่งล้วนเป็น รูปธรรม ทั้งสิ้น แต่ในรูปธรรมนั้น ก็จะมีนามธรรมผสมปนเป[b]อยู่ด้วย[/b] หรือ การได้รับการสัมผัสจากอายตนะภายนอก อาจจะอยู่ในรูปของ นามธรรม แต่ก็จะมี รูปธรรม ผสมผสานอยู่ใน นามธรรม นั้นด้วย เช่นการเรียนการสอนในหลักวิชาการต่างๆ เป็นต้น

ปัญญา คือ ความรู้ ความฉลาด คือ ความรู้ดี ,ปัญญาไว (ไหวพริบดี) ฯ(คัดความและขยายความจากพจนานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน)[/b]สามารถใช้ปัญญา หรือ ความรู้ที่มีอยู่ได้อย่างรวดเร็ว และกว้างขวาง เขาเรียกว่า ฉลาด

เอ้า เจ้าโฮฮับ อ่านตัวอย่างของ ความรู้ คือ ปัญญา และ ความฉลาด คือ ปัญญาดี ไหวพริบดี แต่ก็ต้องยึดถือหลักการเอาไว้พอสมเหตุ ฮ่า ฮ่า ฮ่า ฮ่า

ดิฉันเริ่มสับสนแล้ว ปัญญาคือความ รู้ ความฉลาด แต่ในทางธรรมไม่ได้หมายความว่าสมองดีแล้วจะเข้าใจในธรรมนี่เจ้าค่ะเพราะไอ้สมองของเราใช้วิธีคิด แบบตรรกะไม่ใช่หรอ แล้วที่คุนโฮอธิบาย หมายถึงปัญญาในทางธรรมนั่นก็คือ สติปัญญา(จิต) ไม่ใช่หรอเจ้าค่ะ อย่างกรณีคุณกรัชกายกับดิฉันโต้แย้ง ถ้าพูดถึงความฉลาดคุนกรัชกายน่าจะสมองดีกว่าดิฉัน แต่เวลาโต้แย้งชี้แจงคุนกรัชกายกับไม่สามารถควบคุมสติเผลอพูดคำหยาบ(แสดงความโง่เขลา) เพราะฉะนั้นในทางธรรมสมองมันก็เป็นแค่อายตนะใช่หรือไม่เจ้าค่ะ ดิฉันเข้าใจถูกหรือไม่โปรดชี้แนะ :b8:


ไม่ต้องสับสน หรือ ไม่ควรคิดจนสับสน
ปัญญา คือ ความรู้ ความฉลาด คือ ความรู้ดี ไหวพริบดี ฯ ไม่ว่าจะเป็นในทางธรรม(ทางศาสนา) หรือ ทางไหนๆ ก็ไม่ได้มีความหมายว่า สมองดี ถูกต้อง แต่ สมอง เป็นปัจจัย เป็นเหตุ เป็นผล ที่จะทำให้เกิด ปัญญา คือ ความรู้ ความฉลาด คือ ความรู้ดี ไหวพริบดี คนละเรื่องเดียวกัน อ่านช้าช้า อย่าคิดจนกลายเป็นความสับสน ง่ายๆ


ปัญญา ไม่ว่าจะเป็นในทางศาสนา หรือ ทางไหนๆ ก็หมายถึง ความรู้ทั่ว, ปรีชาหยั่งรู้เหตุผล, ความรู้ความเข้าใจชัดเจน, ความรู้ความเข้าใจหยั่งแยกได้ในเหตุผล ดีชั่ว คุณโทษ ประโยชน์มิใช่ประโยชน์ เป็นต้น และรู้ที่จะจัดแจง จัดสรร จัดการ, ความรอบรู้ในกองสังขาร มองเห็นตามความเป็นจริง (พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับพระธรรมปิฎกฯ)
สติ หมายถึง ความระลึกได้, นึกได้, ความไม่เผลอ, การคุมใจไว้กับกิจ หรือกุมจิตไว้กับสิ่งที่เกี่ยวข้อง, จำการที่ทำและคำที่พูดแล้ว แม้นานได้ (พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับพระธรรมปิฎกฯ)

ไม่ได้หมายความว่า ถ้ากล่าวคำหยาบแล้วจะโง่เขลา
ไม่ต้องกล่าวคำหยาบคาย ก็โง่เขลาได้เหมือนกันแหละคุณ เพราะความโง่เขลาหรือความไม่รู้ของคนนั้น คือ ความมีทิฏฐิ ถือดี หลงผิด ฯ จนไม่สามารถทำความเข้าใจในหลักความจริง หรือ หลักธรรมชาติ หรือ หลักศาสนา สอนให้แล้ว ก็ยัง มีทิฏฐิ ถือดี หลงผิด นั่นแหละ คนเขลา คนโง่ ละคุณเอ๋ย


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 มี.ค. 2012, 20:10 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 4
สมาชิก ระดับ 4
ลงทะเบียนเมื่อ: 08 ส.ค. 2010, 14:17
โพสต์: 260

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


sriariya เขียน:
nongkong เขียน:
sriariya เขียน:
โฮฮับ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ไม่ผิดหรอกกาลน่ะ ถูกกาลเลยแหละ

ปัญญาที่เป็นโลกุตระมันก็พัฒนามาจากปัญญาซึ่งเป็นโลกียปัญญานี่แหละ อริยะบุคคลก็เป็นปุถุชนมาก่อน จะเป็นอริยะตั้งแต่เกิดก็หาไม่ :b1:

พัฒนายังไงครับ ฝึกบวกเลขเร็วหรือ หรือท่องอาขยานได้เยอะ

คนหูหนวกแต่กำเนิดจบด็อกเตอร์กับคนหูดีที่จบแค่ป.หก
ถ้าบอกว่า เสียงสูงเสียงต่ำ โซบราโนหรือบาลิโทน
คุณว่าใครจะรู้ดีกว่ากันครับ

คนตาบอดแต่กำเนิด ได้ศาสดาจารย์ในด้านปรัชญา
กับคนตาดีที่อ่านหนังสือไม่ออก ถ้าบอกว่า ท้องฟ้าสีฟ้า
คนตาบอดหรือคนอ่านหนังสือไม่ออกครับ ที่เข้าใจว่าสีฟ้าเป็นอย่างไร

ปัญญาที่ว่ามันไม่ได้เกี่ยวกับความฉลาดเลยครับ
ความฉลาดมันขึ้นอยู่กับสมองมันเป็นรูปธรรม ปัญญามันเป็นนามธรรม
ไอ้สมองนั้นน่ะ ในทางธรรมแล้ว มันเป็นแค่อายตนะภายในตัวหนึ่งเท่านั้น
โดยรวมแล้ว ถ้าไม่พิการส่วนใด อายตนะภายในก็เหมือนกันครับ


ฮ่า ฮ่า ฮ่า ข้าพเจ้าบอกแล้ว ว่าเจ้าโฮฮับนั้น เขามีความรู้ความเข้าใจเพียงแค่อวดฉลาดเท่านั้น ข้าพเจ้าไม่ได้กล่าวเสียดสีนะขอรับ เพราะความไม่มีความรู้ความเข้าใจในภาษาไทย และยังไม่สามารถเปิดพจนานุกรมไทย เพื่อทำความเข้าใจว่าคำไหนมีความหมายว่าอะไร อวดทำเป็นมีความรู้อยู่ในตัว จนตอบแบบแสดงความเขลา คำตอบของเจ้าโฮฮับ นั้น มีไว้สำหรับหลอกหรืออำคนที่ไม่รู้ เพื่อให้หลงเชื่อเท่านั้นขอรับ

ความฉลาด และปัญญา ย่อมเกี่ยวข้อง กับสมอง และอวัยวะทุกส่วนของร่างกาย ปัญญาคือ ความรู้ฯ อันเกิดจากการได้รับการสัมผัสจากอายตนะภายนอกโดยอายตนะภายในแล้วเป็นสัญญาคือความจำไว้ในสมองฯ
ปัญญา และ ความฉลาด คือสิ่งสิ่งเดียวกัน เป็นได้ทั้ง นามธรรม และ รูปธรรม

[b]ถ้าหาก ปัญญา และความฉลาด ไม่ได้ถูกใช้งาน ก็จะถูกเก็บไว้ในสมองในรูปของคลื่นไฟฟ้า ก็จะเป็นเพียงนามธรรม และเก็บตัวอยู่ในรูปธรรม [b]คือเซลล์สมอง
ต่อเมื่อ ปัญญา และความฉลาด ทั้งหลายในตัวบุคคลถูกใช้ออกมาในทางใดทางหนึ่ง ในกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง หรือในพฤติกรรม การกระทำ ใด พฤติกรรม การกระทำหนึ่ง ก็จะเป็น รูปธรรม หรืออาจจะเป็นในลักษณะของนามธรรม ก็ได้[/b]

ดังนั้น ทั้ง ปัญญา และ ความฉลาด จึงเป็นทั้ง นามธรรม และ รูปธรรม หมุนวนกันไป เพราะ ก่อนที่บุคคลจะเกิดปัญญา หรือ ความรู้ ก็จักต้องได้รับการสัมผัสจากอายตนะภายนอก ซึ่งล้วนเป็น รูปธรรม ทั้งสิ้น แต่ในรูปธรรมนั้น ก็จะมีนามธรรมผสมปนเป[b]อยู่ด้วย[/b] หรือ การได้รับการสัมผัสจากอายตนะภายนอก อาจจะอยู่ในรูปของ นามธรรม แต่ก็จะมี รูปธรรม ผสมผสานอยู่ใน นามธรรม นั้นด้วย เช่นการเรียนการสอนในหลักวิชาการต่างๆ เป็นต้น

ปัญญา คือ ความรู้ ความฉลาด คือ ความรู้ดี ,ปัญญาไว (ไหวพริบดี) ฯ(คัดความและขยายความจากพจนานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน)[/b]สามารถใช้ปัญญา หรือ ความรู้ที่มีอยู่ได้อย่างรวดเร็ว และกว้างขวาง เขาเรียกว่า ฉลาด

เอ้า เจ้าโฮฮับ อ่านตัวอย่างของ ความรู้ คือ ปัญญา และ ความฉลาด คือ ปัญญาดี ไหวพริบดี แต่ก็ต้องยึดถือหลักการเอาไว้พอสมเหตุ ฮ่า ฮ่า ฮ่า ฮ่า

ดิฉันเริ่มสับสนแล้ว ปัญญาคือความ รู้ ความฉลาด แต่ในทางธรรมไม่ได้หมายความว่าสมองดีแล้วจะเข้าใจในธรรมนี่เจ้าค่ะเพราะไอ้สมองของเราใช้วิธีคิด แบบตรรกะไม่ใช่หรอ แล้วที่คุนโฮอธิบาย หมายถึงปัญญาในทางธรรมนั่นก็คือ สติปัญญา(จิต) ไม่ใช่หรอเจ้าค่ะ อย่างกรณีคุณกรัชกายกับดิฉันโต้แย้ง ถ้าพูดถึงความฉลาดคุนกรัชกายน่าจะสมองดีกว่าดิฉัน แต่เวลาโต้แย้งชี้แจงคุนกรัชกายกับไม่สามารถควบคุมสติเผลอพูดคำหยาบ(แสดงความโง่เขลา) เพราะฉะนั้นในทางธรรมสมองมันก็เป็นแค่อายตนะใช่หรือไม่เจ้าค่ะ ดิฉันเข้าใจถูกหรือไม่โปรดชี้แนะ :b8:


ไม่ต้องสับสน หรือ ไม่ควรคิดจนสับสน
ปัญญา คือ ความรู้ ความฉลาด คือ ความรู้ดี ไหวพริบดี ฯ ไม่ว่าจะเป็นในทางธรรม(ทางศาสนา) หรือ ทางไหนๆ ก็ไม่ได้มีความหมายว่า สมองดี ถูกต้อง แต่ สมอง เป็นปัจจัย เป็นเหตุ เป็นผล ที่จะทำให้เกิด ปัญญา คือ ความรู้ ความฉลาด คือ ความรู้ดี ไหวพริบดี คนละเรื่องเดียวกัน อ่านช้าช้า อย่าคิดจนกลายเป็นความสับสน ง่ายๆ


ปัญญา ไม่ว่าจะเป็นในทางศาสนา หรือ ทางไหนๆ ก็หมายถึง ความรู้ทั่ว, ปรีชาหยั่งรู้เหตุผล, ความรู้ความเข้าใจชัดเจน, ความรู้ความเข้าใจหยั่งแยกได้ในเหตุผล ดีชั่ว คุณโทษ ประโยชน์มิใช่ประโยชน์ เป็นต้น และรู้ที่จะจัดแจง จัดสรร จัดการ, ความรอบรู้ในกองสังขาร มองเห็นตามความเป็นจริง (พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับพระธรรมปิฎกฯ)
สติ หมายถึง ความระลึกได้, นึกได้, ความไม่เผลอ, การคุมใจไว้กับกิจ หรือกุมจิตไว้กับสิ่งที่เกี่ยวข้อง, จำการที่ทำและคำที่พูดแล้ว แม้นานได้ (พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับพระธรรมปิฎกฯ)

ไม่ได้หมายความว่า ถ้ากล่าวคำหยาบแล้วจะโง่เขลา
ไม่ต้องกล่าวคำหยาบคาย ก็โง่เขลาได้เหมือนกันแหละคุณ เพราะความโง่เขลาหรือความไม่รู้ของคนนั้น คือ ความมีทิฏฐิ ถือดี หลงผิด ฯ จนไม่สามารถทำความเข้าใจในหลักความจริง หรือ หลักธรรมชาติ หรือ หลักศาสนา สอนให้แล้ว ก็ยัง มีทิฏฐิ ถือดี หลงผิด นั่นแหละ คนเขลา คนโง่ ละคุณเอ๋ย


วู๊ คุณนี่อะไรหนอ ปล๊งปลงล่ะหน่ายจิงจิ๊ง

ปัญญา ในทางพุทธศาสนาคือ การคิดและการมองทุกสิ่งด้วยสติรู้แจ้ง รู้เท่าทันสิ่งกระทบ และตอบสนองต่อสิ่งเหล่านั้นอย่าถูกต้องด้วยความเข้าใจแจ้งต่อสิ่งเหล่านั้นอย่างมีสติรู้ต่างหากล่ะ ส่วนที่คุณว่ามาน่ะคือปัญญาทางโลก 90 % นะขอบอก

คุณยังไปยึดติดกับความหมายของปัญญาทางโลกแล้วแค่ใส่บาลีแจมเข้าไปให้ดูทรงภูมิดูโก้เก๋เท่านั้นเอง ไม่รู้ก็บอกไม่รู้ดิ่ อย่าไปปั่นหัวคุณ ลองกอง แกเลยน่า

ฮาฮ๊าฮา น่ะข่ะคุณข๊า

.....................................................
สิ่งใดในโลกล้วน อนิจจัง คงแต่บาปบุญยัง เที่ยงแท้
คือเงาติดตัวตรัง ตรึงแน่ อยู่นา ตามแต่บุญบาปแล้ ก่อเกื้อ รักษา

รูปภาพ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 มี.ค. 2012, 20:43 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 ก.พ. 2012, 12:27
โพสต์: 2372

แนวปฏิบัติ: ปฏิจจสมุปบาท และกรรมฐาน
งานอดิเรก: สวดมนต์รภาวนา
อายุ: 27

 ข้อมูลส่วนตัว


นั่นสิเจ้าค่ะ ตอนแรกดิฉันก็เข้าใจที่คุนโฮอธิบายเพราะหลักการคุนโฮมันไม่มีอะไรซับซ้อนเข้าใจง่าย ไปปฏิบัติได้จริงแต่ของคุนจ่าอ่านกี่เที่ยวก็งง แล้วที่คุนโฮบอกธรรมก็บอกด้วยใจกุศลไม่ได้มี ทิฐิ แต่ต่างกับคุนจ่าทั้งบอกทั้งจิกผู้อื่นใช้ภาษาก็เป็นวจีทุจริต อ่านไปก็เสพเอาวจีทุจริตไปยัดเยียดให้กันไป ง๊งงง :b28:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 มี.ค. 2012, 03:41 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
(สํ.สฬ.18/377/261)

ยกมาให้ดูไม่รู้กี่รอบต่อกี่รอบแล้วพร้อมที่คัมภีร์อ้างอิง แล้วจะเอาอะไรอีก :b1:[/


รู้แล้วเห็นแล้ว อยากจะดูของแท้ๆ อยากรู้ว่าที่ยกมาให้ดูน่ะมันของจริงหรือเปล่าเท่านั้น
แล้วไอ้ลายแทงในวงเล็บนั้นน่ะ ไปหามาแล้วมันหาไม่เจอ

คุณกรัชกายอย่าดิ้นเลย ยิ่งดิ้นเชือกก็ยิ่งรัดเดี๋ยวหายใจไม่ออกนะจะบอกให้ :b13:


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กระทู้นี้ถูกล็อก คุณไม่สามารถแก้ไขข้อความ หรือ ตอบกลับในกระทู้นี้  [ 107 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 69 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร