ลานธรรมจักร http://dhammajak.net/forums/ |
|
กามคุณห้า http://dhammajak.net/forums/viewtopic.php?f=1&t=42755 |
หน้า 1 จากทั้งหมด 2 |
เจ้าของ: | ฝึกจิต [ 23 ก.ค. 2012, 23:07 ] |
หัวข้อกระทู้: | กามคุณห้า |
กามคุณห้า ส่วนใหญ่เกิดจาก อดีต หรือ จากความจำ สัญญา ดังนั้น เราควร ป้องกันโดยมีสติ ลงที่ผัสสะ เพื่อการหลบหลีกในกามคุณนั้น หากหลีกเลี่ยงไม่ได้ ก็ต้องใช้สติให้มากๆ เพื่อเห็นโทษอันพึงเกิดจาก กามคุณนั้น ดับได้โดยให้เห็นว่า สัญญา ไม่ใช่เรา หรือ ไม่ยึดมั่นถือมั่นใน สัญญา ธรรมเล็กน้อย ใช่หรือป่าวมั้ยรู้ ![]() |
เจ้าของ: | student [ 23 ก.ค. 2012, 23:56 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: กามคุณห้า |
ฝึกจิต เขียน: กามคุณห้า ส่วนใหญ่เกิดจาก อดีต หรือ จากความจำ สัญญา ดังนั้น เราควร ป้องกันโดยมีสติ ลงที่ผัสสะ เพื่อการหลบหลีกในกามคุณนั้น หากหลีกเลี่ยงไม่ได้ ก็ต้องใช้สติให้มากๆ เพื่อเห็นโทษอันพึงเกิดจาก กามคุณนั้น ดับได้โดยให้เห็นว่า สัญญา ไม่ใช่เรา หรือ ไม่ยึดมั่นถือมั่นใน สัญญา ธรรมเล็กน้อย ใช่หรือป่าวมั้ยรู้ ![]() ถูกต้องครับผม |
เจ้าของ: | โฮฮับ [ 24 ก.ค. 2012, 15:38 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: กามคุณห้า |
ฝึกจิต เขียน: กามคุณห้า ส่วนใหญ่เกิดจาก อดีต หรือ จากความจำ สัญญา ดังนั้น เราควร ป้องกันโดยมีสติ ลงที่ผัสสะ เพื่อการหลบหลีกในกามคุณนั้น หากหลีกเลี่ยงไม่ได้ ก็ต้องใช้สติให้มากๆ เพื่อเห็นโทษอันพึงเกิดจาก กามคุณนั้น ดับได้โดยให้เห็นว่า สัญญา ไม่ใช่เรา หรือ ไม่ยึดมั่นถือมั่นใน สัญญา ธรรมเล็กน้อย ใช่หรือป่าวมั้ยรู้ ![]() มันใช่ซะที่ไหนล่ะ กามคุณห้ามันเกิดจากอนุสัยกิเลส(๑ในสังโยชน์๗ตัว) มันเป็นกิเลสที่ตามติดตัวเรามาแต่กำเนิด มันอยู่ในกระมลสันดานของเรา เมื่อมีสิ่งมาปลุกเร้า มันก็จะทำงานโดยทำให้จิตขุ่นมัว การดับกามคุณห้า ต้องดับด้วยสัมมาสติ สติธรรมดาดับไม่ได้ สติธรรมดาใช่ดับเมื่อเกิดสังขารขันธ์หรืออาการของจิตแล้ว ผัสสะไม่ใช่ให้หลีกเลี่ยง เขาให้รู้ผัสสะโดยใช้สติตามระลึกรู้ให้ทัน |
เจ้าของ: | ฝึกจิต [ 24 ก.ค. 2012, 15:58 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: กามคุณห้า |
โฮฮับ เขียน: ฝึกจิต เขียน: กามคุณห้า ส่วนใหญ่เกิดจาก อดีต หรือ จากความจำ สัญญา ดังนั้น เราควร ป้องกันโดยมีสติ ลงที่ผัสสะ เพื่อการหลบหลีกในกามคุณนั้น หากหลีกเลี่ยงไม่ได้ ก็ต้องใช้สติให้มากๆ เพื่อเห็นโทษอันพึงเกิดจาก กามคุณนั้น ดับได้โดยให้เห็นว่า สัญญา ไม่ใช่เรา หรือ ไม่ยึดมั่นถือมั่นใน สัญญา ธรรมเล็กน้อย ใช่หรือป่าวมั้ยรู้ ![]() มันใช่ซะที่ไหนล่ะ กามคุณห้ามันเกิดจากอนุสัยกิเลส(๑ในสังโยชน์๗ตัว) มันเป็นกิเลสที่ตามติดตัวเรามาแต่กำเนิด มันอยู่ในกระมลสันดานของเรา เมื่อมีสิ่งมาปลุกเร้า มันก็จะทำงานโดยทำให้จิตขุ่นมัว การดับกามคุณห้า ต้องดับด้วยสัมมาสติ สติธรรมดาดับไม่ได้ สติธรรมดาใช่ดับเมื่อเกิดสังขารขันธ์หรืออาการของจิตแล้ว ผัสสะไม่ใช่ให้หลีกเลี่ยง เขาให้รู้ผัสสะโดยใช้สติตามระลึกรู้ให้ทัน ท่านโฮ นี้ฝ่ายค้านตัวยงเลยนะเนี่ย ![]() ![]() งั้นผมเอา บทนี้มาให้ดู แล้วท่านค่อยค้านต่อนะครับ ภิกษุ ท.! ครั้งก่อนแต่การตรัสรู้ เมื่อเรายังไม่ได้ตรัสรู้ ยังเป็นโพธิสัตว์อยู่ มีความรู้สึกเกิดขึ้นว่า กามคุณห้าที่เป็นอดีต ที่เราเคยสัมผัสมาแล้วแต่ก่อนได้ดับไปแล้วเพราะความแปรปรวนก็จริง แต่โดยมากจิตของเราเมื่อจะแล่น ก็แล่นไปสู่กามคุณเป็นอดีตนั้น, น้อยนักที่จะแล่นไปสู่กามคุณในปัจจุบันหรืออนาคต ดังนี้. ภิกษุ ท.! ความตกลงใจได้เกิดขึ้นแก่เราสืบไปว่า ความไม่ประมาทและสติ เป็นสิ่งซึ่งเราผู้หวังประโยชน์แก่ตนเองพึงกระทำให้เป็น เครื่องป้องกันจิต ในเพราะกามคุณห้าอันเป็นอดีต ที่เราเคยสัมผัสมาและดับไปแล้วเพราะความแปรปรวนนั้น. ภิกษุ ท.! เพราะเหตุนั้น ในเรื่องนี้, แม้จิตของพวกเธอทั้งหลาย เมื่อจะแล่น ก็คงแล่นไปในกามคุณห้าอันเป็นอดีต ที่พวกเธอเคยสัมผัสมาและดับไปแล้วเพราะความแปรปรวน (เหมือนกัน) โดยมาก, น้อยนักที่จะแล่นไปสู่กามคุณในปัจจุบันหรืออนาคต. ภิกษุ ท.! เพราะเหตุนั้น ในเรื่องนี้ ความไม่ประมาทและสติ จึงเป็นสิ่งที่พวกเธอผู้หวังประโยชน์แก่ตัวเอง พึงกระทำให้เป็นเครื่องป้องกันจิต ในเพราะเหตุกามคุณห้าอันเป็นอดีต ที่พวกเธอเคยสัมผัสมาและดับไปแล้ว เพราะความแปรปรวนนั้น. ![]() ![]() ![]() |
เจ้าของ: | กบนอกกะลา [ 24 ก.ค. 2012, 21:40 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: กามคุณห้า |
ฝึกจิต เขียน: กามคุณห้า ส่วนใหญ่เกิดจาก อดีต หรือ จากความจำ สัญญา ดังนั้น เราควร ป้องกันโดยมีสติ ลงที่ผัสสะ เพื่อการหลบหลีกในกามคุณนั้น หากหลีกเลี่ยงไม่ได้ ก็ต้องใช้สติให้มากๆ เพื่อเห็นโทษอันพึงเกิดจาก กามคุณนั้น ดับได้โดยให้เห็นว่า สัญญา ไม่ใช่เรา หรือ ไม่ยึดมั่นถือมั่นใน สัญญา ธรรมเล็กน้อย ใช่หรือป่าวมั้ยรู้ ![]() บอกว่าใช่หรือเปล่า.....แต่กลับยกคำพระได้ด้วย...แล้วมันจะใช่หรือเปล่าได้งัย?.. ![]() ผมดูจะงง..งง...นิด ๆ นะ...อย่างเช่นการที่พูดว่า.. "เราควร ป้องกันโดยมีสติ ลงที่ผัสสะ เพื่อการหลบหลีกในกามคุณนั้น หากหลีกเลี่ยงไม่ได้ ก็ต้องใช้สติให้มากๆ " สติ..ลงที่ผัสสะ....นี้มีสติได้...ผมก็ว่า...ต้องใช้กำลังสติแรงกล้ามากแล้วนะ....จะมีตรงไหนที่ต้องใช้กำลังสติมากกว่านี้ได้อีก...นะ หากสติอ่อน....มีตรงผัสสะไม่ทัน...เขาถึงต้องจ้ำอ้าวมาตรงเวทนา...ก่อนเกิดเวทนาบ้าง..หรือหลังเกิดเวทนาบ้าง.. หากสติอ่อนกว่านี้อีก...ก็หลุดมาที่ขั้นตัณหา....อ่อนกว่านี้อีก...ก็มาที่อุปาทาน สติไม่เคยฝึกมาเลย...แต่มีบุญเก่ามาเตือน....กว่าจะมีสติขึ้นมาได้ว่า...ก็ปาเข้าไปถึงขั้นร้องไห้ฟูมฟายไปแล้ว...ถึงได้รู้ว่า...อ่อนี้กูมันทุกข์นี้หว้า! คนสติดี...แค่การหวั่นไหวของจิต....ก็รู้ว่า...นี้มันทุกข์...แล้ว รู้ว่ามันทุกข์....ก็ไม่มีใครเขาอยากได้ใว้แล้วละ... ![]() |
เจ้าของ: | ฝึกจิต [ 24 ก.ค. 2012, 22:30 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: กามคุณห้า |
กบนอกกะลา เขียน: ฝึกจิต เขียน: กามคุณห้า ส่วนใหญ่เกิดจาก อดีต หรือ จากความจำ สัญญา ดังนั้น เราควร ป้องกันโดยมีสติ ลงที่ผัสสะ เพื่อการหลบหลีกในกามคุณนั้น หากหลีกเลี่ยงไม่ได้ ก็ต้องใช้สติให้มากๆ เพื่อเห็นโทษอันพึงเกิดจาก กามคุณนั้น ดับได้โดยให้เห็นว่า สัญญา ไม่ใช่เรา หรือ ไม่ยึดมั่นถือมั่นใน สัญญา ธรรมเล็กน้อย ใช่หรือป่าวมั้ยรู้ ![]() บอกว่าใช่หรือเปล่า.....แต่กลับยกคำพระได้ด้วย...แล้วมันจะใช่หรือเปล่าได้งัย?.. ![]() ผมดูจะงง..งง...นิด ๆ นะ...อย่างเช่นการที่พูดว่า.. "เราควร ป้องกันโดยมีสติ ลงที่ผัสสะ เพื่อการหลบหลีกในกามคุณนั้น หากหลีกเลี่ยงไม่ได้ ก็ต้องใช้สติให้มากๆ " สติ..ลงที่ผัสสะ....นี้มีสติได้...ผมก็ว่า...ต้องใช้กำลังสติแรงกล้ามากแล้วนะ....จะมีตรงไหนที่ต้องใช้กำลังสติมากกว่านี้ได้อีก...นะ หากสติอ่อน....มีตรงผัสสะไม่ทัน...เขาถึงต้องจ้ำอ้าวมาตรงเวทนา...ก่อนเกิดเวทนาบ้าง..หรือหลังเกิดเวทนาบ้าง.. หากสติอ่อนกว่านี้อีก...ก็หลุดมาที่ขั้นตัณหา....อ่อนกว่านี้อีก...ก็มาที่อุปาทาน สติไม่เคยฝึกมาเลย...แต่มีบุญเก่ามาเตือน....กว่าจะมีสติขึ้นมาได้ว่า...ก็ปาเข้าไปถึงขั้นร้องไห้ฟูมฟายไปแล้ว...ถึงได้รู้ว่า...อ่อนี้กูมันทุกข์นี้หว้า! คนสติดี...แค่การหวั่นไหวของจิต....ก็รู้ว่า...นี้มันทุกข์...แล้ว รู้ว่ามันทุกข์....ก็ไม่ใครเขาอยากได้ใว้แล้วละ... ![]() ไอ้ที่กระผมบอกว่า ใช่หรือป่าว นั้น แค่บ่งบอกให้อ่านแล้ว พิจารณา ว่าจริงมั้ย อะครับ ส่วนเรื่องสติ สติ อันแรก เป็น สติ(สัญญา) ที่รู้ว่าผัสสะนั้น มันสร้างทุกข์ ให้หลบหลีกเสีย หรือลดเจตนา เสีย ไม่ทำลงในใจ(นมสิการ) ส่วน สติ ที่2 คือ หาก ผัสสะ มีเหตุที่ต้อง ทำ ก็ต้องทำตามเห็น ตามจุดต่างที่ท่านกบว่านั้นแหละครับ หรือมีสติ สำรวม อินทรีย์ ครับ เช่น "ข้าแต่พระผู้มีพระภาค! ในพรหมจรรย์นี้มีสุภาพสตรีเป็นอันมากเข้ามาเกี่ยวข้องอยู่ในฐานะต่างๆ เป็นมารดาบ้าง เป็นพี่หญิงน้องหญิงบ้าง เป็นเครือญาติบ้าง และเป็นผู้เลื่อมใสในพระรัตนตรัยบ้าง ภิกษุจะพึงปฏิบัติต่อสตรีอย่างไร?" "อานนท์! การที่ภิกษุจะไม่ดูไม่แลสตรีเพศเสียเลยนั้นเป็นการดี" "ถ้าจำเป็นต้องดูแล้วเห็นเล่า พระเจ้าข้า" พระอานนท์ทูลซัก "ถ้าจำเป็นต้องดูต้องเห็น ก็อย่าพูดด้วย อย่าสนทนาด้วย นั้นเป็นการดี" พระศาสดาตรัสตอบ "ถ้าจำเป็นต้องสนทนาด้วยเล่า พระเจ้าข้า จะปฏิบัติอย่างไร" "ถ้าจำเป็นต้องสนทนาด้วย ก็จงมีสติไว้ ควบคุมสติให้ดี สำรวมอินทรีย์ และกายวาจาให้เรียบร้อย อย่าให้ความกำหนัดยินดี หรือความหลงใหลครอบงำจิตใจได้ อานนท์! เรากล่าวว่าสตรีที่บุรุษเอาใจเข้าไปเกาะเกี่ยวนั้น เป็นมลทินของพรหมจรรย์" "แล้วสตรีที่บุรุษมิได้เอาใจเข้าไปเกี่ยวเกาะเล่า พระเจ้าข้า จะเป็นมลทินของพรหมจรรย์หรือไม่?" "ไม่เป็นซิ อานนท์? เธอระลึกได้อยู่หรือเราเคยพูดไว้ว่า อารมณ์อันวิจิตร สิ่งสวยงามในโลกนี้มิใช่กาม แต่ความกำหนัดยินดีที่เกิดขึ้นเพราะความดำริต่างหากเล่าเป็นกามของคน เมื่อกระชากความพอใจออกเสียได้แล้ว สิ่งวิจิตรและรูปที่สวยงามก็คงอยู่อย่างเก้อๆ ทำพิษอะไรมิได้อีกต่อไป" อย่างนี้ ![]() |
เจ้าของ: | กบนอกกะลา [ 24 ก.ค. 2012, 22:53 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: กามคุณห้า |
![]() ![]() ![]() |
เจ้าของ: | โฮฮับ [ 25 ก.ค. 2012, 09:42 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: กามคุณห้า |
ฝึกจิต เขียน: ท่านโฮ นี้ฝ่ายค้านตัวยงเลยนะเนี่ย ![]() ![]() งั้นผมเอา บทนี้มาให้ดู แล้วท่านค่อยค้านต่อนะครับ8: โปรดเข้าใจซะก่อนนะครับว่า ที่ค้านผมค้านความเห็นของคุณ ปัญญาของคุณ ผมไม่ได้ค้านพุทธพจน์หรือพระไตรปิฎก ดังเช่นที่ผมเคยว่าคุณไว้ว่า พระไตรปิฎก เขามีไว้ให้พิจารณา ไม่ได้มีไว้ให้แปล พุทธพจน์ในพระสูตร ท่านจำเพราะเจาะจงสอนบุคคล ไม่ได้เป็นการสอนทั่วๆไป ฉะนั้นจะหยิบพระไตรปิฎกมาอ้าง กรุณาเอาลิ้งพระไตรปิฎกมาอ้างด้วย เพื่อให้ผู้รู้ได้แยกแยะเหตุผล บุคคลและจริตได้ถูกต้อง ที่หลังจะอ้างพุทธพจน์เอาลิ้งพระไตรปิฎกมาวางด้วย อย่ามั่วนิ่ม แต่ถ้าเป็นเพราะจขกทไม่รู้เรื่องไม่เข้าใจก็ไม่เป็นไร แต่ที่หลังอย่าทำ ![]() |
เจ้าของ: | โฮฮับ [ 25 ก.ค. 2012, 10:39 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: กามคุณห้า |
ฝึกจิต เขียน: ฝึกจิต เขียน: กามคุณห้า ส่วนใหญ่เกิดจาก อดีต หรือ จากความจำ สัญญา ดังนั้น เราควร ป้องกันโดยมีสติ ลงที่ผัสสะ เพื่อการหลบหลีกในกามคุณนั้น หากหลีกเลี่ยงไม่ได้ ก็ต้องใช้สติให้มากๆ เพื่อเห็นโทษอันพึงเกิดจาก กามคุณนั้น ดับได้โดยให้เห็นว่า สัญญา ไม่ใช่เรา หรือ ไม่ยึดมั่นถือมั่นใน สัญญา ธรรมเล็กน้อย ใช่หรือป่าวมั้ยรู้ ![]() ภิกษุ ท.! ครั้งก่อนแต่การตรัสรู้ เมื่อเรายังไม่ได้ตรัสรู้ ยังเป็นโพธิสัตว์อยู่ มีความรู้สึกเกิดขึ้นว่า กามคุณห้าที่เป็นอดีต ที่เราเคยสัมผัสมาแล้วแต่ก่อนได้ดับไปแล้วเพราะความแปรปรวนก็จริง แต่โดยมากจิตของเราเมื่อจะแล่น ก็แล่นไปสู่กามคุณเป็นอดีตนั้น, น้อยนักที่จะแล่นไปสู่กามคุณในปัจจุบันหรืออนาคต ดังนี้. ภิกษุ ท.! ความตกลงใจได้เกิดขึ้นแก่เราสืบไปว่า ความไม่ประมาทและสติ เป็นสิ่งซึ่งเราผู้หวังประโยชน์แก่ตนเองพึงกระทำให้เป็น เครื่องป้องกันจิต ในเพราะกามคุณห้าอันเป็นอดีต ที่เราเคยสัมผัสมาและดับไปแล้วเพราะความแปรปรวนนั้น. ภิกษุ ท.! เพราะเหตุนั้น ในเรื่องนี้, แม้จิตของพวกเธอทั้งหลาย เมื่อจะแล่น ก็คงแล่นไปในกามคุณห้าอันเป็นอดีต ที่พวกเธอเคยสัมผัสมาและดับไปแล้วเพราะความแปรปรวน (เหมือนกัน) โดยมาก, น้อยนักที่จะแล่นไปสู่กามคุณในปัจจุบันหรืออนาคต. ภิกษุ ท.! เพราะเหตุนั้น ในเรื่องนี้ ความไม่ประมาทและสติ จึงเป็นสิ่งที่พวกเธอผู้หวังประโยชน์แก่ตัวเอง พึงกระทำให้เป็นเครื่องป้องกันจิต ในเพราะเหตุกามคุณห้าอันเป็นอดีต ที่พวกเธอเคยสัมผัสมาและดับไปแล้ว เพราะความแปรปรวนนั้น. ถามหน่อยครับ ที่ยกเอาข้อความอ้างอิงนี่มา มันเป็นพุทธพจน์หรืออรรถกถาครับ จะบอกให้นะครับ ถ้าเป็นศิษย์พระพุทธเจ้าจริง จะอ้างเขาอ้างเอาพุทธพจน์เป็นประธานนะครับ ไม่ใช่สักจะเอาคำสอนของใครมาอ้างมั่วไปหมด แต่ไม่เป็นไรครับ ไหนๆก็อ้างมาแล้ว ก็ถือโอกาสพิจารณาคำสอนนี้กับความเห็นคุณซะเลย คุณจขกทครับ ผมไม่เห็นว่า ความเห็นคุณมันจะเกี่ยวกับคำสอนที่คุณยกมาตรงไหนเลยครับ เห็นมีแค่คำว่า"อดีต" การพิจารณาธรรม เคยบอกแล้วว่า ให้แยกบุคคล แยกกาล แยกสถานะ เราต้องมองดูธรรมแบบคนนอก นั้นก็คือเราไม่ใช่พระพุทธเจ้าและไม่ได้เป็น คนที่พระพุทธเจ้ากำลังสอน เราเป็นบุคคลทีสามไม่ได้เกี่ยวกับเหตุการณ์นั้น ในที่นี้พระพุทธเจ้าเป็นผู้สอนและในขณะที่สอนพระองค์ตรัสรู้แล้ว ที่สำคัญพระองค์มีวิชชา "ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ" ส่วนบุคคลที่กำลังฟังคำสอน ไม่ได้มีเหมือนพระพุทธเจ้า เดี๋ยวอธิบายบทความที่คุณอ้างอิงให้ฟัง "ภิกษุ ท.! ครั้งก่อนแต่การตรัสรู้ เมื่อเรายังไม่ได้ตรัสรู้ ยังเป็นโพธิสัตว์อยู่ มีความรู้สึกเกิดขึ้นว่า กามคุณห้าที่เป็นอดีต ที่เราเคยสัมผัสมาแล้วแต่ก่อนได้ดับไปแล้วเพราะความแปรปรวนก็จริง แต่โดยมากจิตของเราเมื่อจะแล่น ก็แล่นไปสู่กามคุณเป็นอดีตนั้น, น้อยนักที่จะแล่นไปสู่กามคุณในปัจจุบันหรืออนาคต ดังนี้. ภิกษุ ท.! ความตกลงใจได้เกิดขึ้นแก่เราสืบไปว่า ความไม่ประมาทและสติ เป็นสิ่งซึ่งเราผู้หวังประโยชน์แก่ตนเองพึงกระทำให้เป็น เครื่องป้องกันจิต ในเพราะกามคุณห้าอันเป็นอดีต ที่เราเคยสัมผัสมาและดับไปแล้วเพราะความแปรปรวนนั้น." ในขณะที่พระพุทธองค์สอน ในเนื้อหาบอกว่าพระองค์ยังไม่ได้ตรัสรู้ พระองค์ยังแทงปฏิจจไม่ตลอด ยังดับอวิชชาไม่หมด สรุปง่ายๆก็คือ ในขณะที่พระพุทธองค์อยู่กับกามคุณที่เป็นอดีตนั้น พระองค์ยังไม่รู้ว่า กามคุณนั้นเป็นอดีต หลังจากที่พระองค์ตรัสรู้แล้ว จึงรู้ว่า กามคุณที่เป็นอดีตมันแปรปวนไปแล้ว แต่ที่มันเกิดขึ้นอีกก็เพราะเราไปยึดในอดีต การตรัสรู้ของพระองค์ก็คือ รู้ปฏิจฯคือรู้อดีตและอนาคต จึงสามารถรู้ได้ว่า ผัสสะตัวไหน เป็นกิเลส เป็นกามคุณ รู้แบบนี้จึงใช้สติกับผัสสะได้ทัน ประเด็นเรื่องนี้มันอยู่ที่จขกทบอกว่า กามคุณห้าเกิดจากอดีตและสัญญา มันผิดในตัวบุคคลและสถานะ เราเป็นแค่ปุถุชน เรายังไม่รู้อดีตและอดีตที่ว่า ต้องรู้ได้ด้วย วิชชา "ปุพเพนิวาสานุสติญาณ" เรายังไม่สามารถรู้อดีตในส่วนนี้ ต้องอย่าลืมนะว่า กิเลสกามคุณห้าเป็นสังโยชน์ข้ามภพข้ามชาติมาพร้อมกับสังขาร ส่วนสัญญาก็คือความจำได้หมายรู้อดีต ก็ในเมื่ออดีตเรายังไม่รู้ แล้วเราจะมีสัญญาในส่วนนี้ได้ไง |
เจ้าของ: | โฮฮับ [ 25 ก.ค. 2012, 11:02 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: กามคุณห้า |
ฝึกจิต เขียน: โฮฮับ เขียน: มันใช่ซะที่ไหนล่ะ กามคุณห้ามันเกิดจากอนุสัยกิเลส(๑ในสังโยชน์๗ตัว) มันเป็นกิเลสที่ตามติดตัวเรามาแต่กำเนิด มันอยู่ในกระมลสันดานของเรา เมื่อมีสิ่งมาปลุกเร้า มันก็จะทำงานโดยทำให้จิตขุ่นมัว การดับกามคุณห้า ต้องดับด้วยสัมมาสติ สติธรรมดาดับไม่ได้ สติธรรมดาใช่ดับเมื่อเกิดสังขารขันธ์หรืออาการของจิตแล้ว ผัสสะไม่ใช่ให้หลีกเลี่ยง เขาให้รู้ผัสสะโดยใช้สติตามระลึกรู้ให้ทัน ภิกษุ ท.! เพราะเหตุนั้น ในเรื่องนี้, แม้จิตของพวกเธอทั้งหลาย เมื่อจะแล่น ก็คงแล่นไปในกามคุณห้าอันเป็นอดีต ที่พวกเธอเคยสัมผัสมาและดับไปแล้วเพราะความแปรปรวน (เหมือนกัน) โดยมาก, น้อยนักที่จะแล่นไปสู่กามคุณในปัจจุบันหรืออนาคต. ภิกษุ ท.! เพราะเหตุนั้น ในเรื่องนี้ ความไม่ประมาทและสติ จึงเป็นสิ่งที่พวกเธอผู้หวังประโยชน์แก่ตัวเอง พึงกระทำให้เป็นเครื่องป้องกันจิต ในเพราะเหตุกามคุณห้าอันเป็นอดีต ที่พวกเธอเคยสัมผัสมาและดับไปแล้ว เพราะความแปรปรวนนั้น. ข้อความอ้างอิงข้างบนบอกให้รู้ว่า เหล่าภิกษุนั้นยังมีกามคุณห้าอยู่ยังไม่ดับ เพราะกิเลสในอดีตยังอยู่ ดูได้จากที่บอกว่า"ยังแล่นไปสู้กามคุณห้าอันเป็นอดีต" นี่แสดงว่า เกิดอาการของจิตแล้ว เพราะจิตไปเอาอดีตก็แสดงว่าไม่ได้ป้องกันไว้ก่อน ดังนั้นมันถล่ำไปถึงสังขารขันธ์ การดับด้วยสติที่ว่าจึงเป็นสติธรรมดา แค่ดับอาการของจิต ไม่ได้ดับกิเลสสังโยชน์ การจะดับกิเลสสังโยชน์ได้ต้องอาศัยสติปัฎฐาน(สัมมาสติ) ด้วยการพิจารณาอาตนะ12 และขันธ์ห้า แบบนี้จึงเรียกการป้องกันกามคุณห้าอันเป็นอดีต และเป็นความไม่ประมาท |
เจ้าของ: | ฝึกจิต [ 25 ก.ค. 2012, 15:07 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: กามคุณห้า |
โฮฮับ เขียน: ฝึกจิต เขียน: ฝึกจิต เขียน: กามคุณห้า ส่วนใหญ่เกิดจาก อดีต หรือ จากความจำ สัญญา ดังนั้น เราควร ป้องกันโดยมีสติ ลงที่ผัสสะ เพื่อการหลบหลีกในกามคุณนั้น หากหลีกเลี่ยงไม่ได้ ก็ต้องใช้สติให้มากๆ เพื่อเห็นโทษอันพึงเกิดจาก กามคุณนั้น ดับได้โดยให้เห็นว่า สัญญา ไม่ใช่เรา หรือ ไม่ยึดมั่นถือมั่นใน สัญญา ธรรมเล็กน้อย ใช่หรือป่าวมั้ยรู้ ![]() ภิกษุ ท.! ครั้งก่อนแต่การตรัสรู้ เมื่อเรายังไม่ได้ตรัสรู้ ยังเป็นโพธิสัตว์อยู่ มีความรู้สึกเกิดขึ้นว่า กามคุณห้าที่เป็นอดีต ที่เราเคยสัมผัสมาแล้วแต่ก่อนได้ดับไปแล้วเพราะความแปรปรวนก็จริง แต่โดยมากจิตของเราเมื่อจะแล่น ก็แล่นไปสู่กามคุณเป็นอดีตนั้น, น้อยนักที่จะแล่นไปสู่กามคุณในปัจจุบันหรืออนาคต ดังนี้. ภิกษุ ท.! ความตกลงใจได้เกิดขึ้นแก่เราสืบไปว่า ความไม่ประมาทและสติ เป็นสิ่งซึ่งเราผู้หวังประโยชน์แก่ตนเองพึงกระทำให้เป็น เครื่องป้องกันจิต ในเพราะกามคุณห้าอันเป็นอดีต ที่เราเคยสัมผัสมาและดับไปแล้วเพราะความแปรปรวนนั้น. ภิกษุ ท.! เพราะเหตุนั้น ในเรื่องนี้, แม้จิตของพวกเธอทั้งหลาย เมื่อจะแล่น ก็คงแล่นไปในกามคุณห้าอันเป็นอดีต ที่พวกเธอเคยสัมผัสมาและดับไปแล้วเพราะความแปรปรวน (เหมือนกัน) โดยมาก, น้อยนักที่จะแล่นไปสู่กามคุณในปัจจุบันหรืออนาคต. ภิกษุ ท.! เพราะเหตุนั้น ในเรื่องนี้ ความไม่ประมาทและสติ จึงเป็นสิ่งที่พวกเธอผู้หวังประโยชน์แก่ตัวเอง พึงกระทำให้เป็นเครื่องป้องกันจิต ในเพราะเหตุกามคุณห้าอันเป็นอดีต ที่พวกเธอเคยสัมผัสมาและดับไปแล้ว เพราะความแปรปรวนนั้น. ถามหน่อยครับ ที่ยกเอาข้อความอ้างอิงนี่มา มันเป็นพุทธพจน์หรืออรรถกถาครับ จะบอกให้นะครับ ถ้าเป็นศิษย์พระพุทธเจ้าจริง จะอ้างเขาอ้างเอาพุทธพจน์เป็นประธานนะครับ ไม่ใช่สักจะเอาคำสอนของใครมาอ้างมั่วไปหมด แต่ไม่เป็นไรครับ ไหนๆก็อ้างมาแล้ว ก็ถือโอกาสพิจารณาคำสอนนี้กับความเห็นคุณซะเลย คุณจขกทครับ ผมไม่เห็นว่า ความเห็นคุณมันจะเกี่ยวกับคำสอนที่คุณยกมาตรงไหนเลยครับ เห็นมีแค่คำว่า"อดีต" การพิจารณาธรรม เคยบอกแล้วว่า ให้แยกบุคคล แยกกาล แยกสถานะ เราต้องมองดูธรรมแบบคนนอก นั้นก็คือเราไม่ใช่พระพุทธเจ้าและไม่ได้เป็น คนที่พระพุทธเจ้ากำลังสอน เราเป็นบุคคลทีสามไม่ได้เกี่ยวกับเหตุการณ์นั้น ในที่นี้พระพุทธเจ้าเป็นผู้สอนและในขณะที่สอนพระองค์ตรัสรู้แล้ว ที่สำคัญพระองค์มีวิชชา "ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ" ส่วนบุคคลที่กำลังฟังคำสอน ไม่ได้มีเหมือนพระพุทธเจ้า เดี๋ยวอธิบายบทความที่คุณอ้างอิงให้ฟัง "ภิกษุ ท.! ครั้งก่อนแต่การตรัสรู้ เมื่อเรายังไม่ได้ตรัสรู้ ยังเป็นโพธิสัตว์อยู่ มีความรู้สึกเกิดขึ้นว่า กามคุณห้าที่เป็นอดีต ที่เราเคยสัมผัสมาแล้วแต่ก่อนได้ดับไปแล้วเพราะความแปรปรวนก็จริง แต่โดยมากจิตของเราเมื่อจะแล่น ก็แล่นไปสู่กามคุณเป็นอดีตนั้น, น้อยนักที่จะแล่นไปสู่กามคุณในปัจจุบันหรืออนาคต ดังนี้. ภิกษุ ท.! ความตกลงใจได้เกิดขึ้นแก่เราสืบไปว่า ความไม่ประมาทและสติ เป็นสิ่งซึ่งเราผู้หวังประโยชน์แก่ตนเองพึงกระทำให้เป็น เครื่องป้องกันจิต ในเพราะกามคุณห้าอันเป็นอดีต ที่เราเคยสัมผัสมาและดับไปแล้วเพราะความแปรปรวนนั้น." ในขณะที่พระพุทธองค์สอน ในเนื้อหาบอกว่าพระองค์ยังไม่ได้ตรัสรู้ พระองค์ยังแทงปฏิจจไม่ตลอด ยังดับอวิชชาไม่หมด สรุปง่ายๆก็คือ ในขณะที่พระพุทธองค์อยู่กับกามคุณที่เป็นอดีตนั้น พระองค์ยังไม่รู้ว่า กามคุณนั้นเป็นอดีต หลังจากที่พระองค์ตรัสรู้แล้ว จึงรู้ว่า กามคุณที่เป็นอดีตมันแปรปวนไปแล้ว แต่ที่มันเกิดขึ้นอีกก็เพราะเราไปยึดในอดีต การตรัสรู้ของพระองค์ก็คือ รู้ปฏิจฯคือรู้อดีตและอนาคต จึงสามารถรู้ได้ว่า ผัสสะตัวไหน เป็นกิเลส เป็นกามคุณ รู้แบบนี้จึงใช้สติกับผัสสะได้ทัน ประเด็นเรื่องนี้มันอยู่ที่จขกทบอกว่า กามคุณห้าเกิดจากอดีตและสัญญา มันผิดในตัวบุคคลและสถานะ เราเป็นแค่ปุถุชน เรายังไม่รู้อดีตและอดีตที่ว่า ต้องรู้ได้ด้วย วิชชา "ปุพเพนิวาสานุสติญาณ" เรายังไม่สามารถรู้อดีตในส่วนนี้ ต้องอย่าลืมนะว่า กิเลสกามคุณห้าเป็นสังโยชน์ข้ามภพข้ามชาติมาพร้อมกับสังขาร ส่วนสัญญาก็คือความจำได้หมายรู้อดีต ก็ในเมื่ออดีตเรายังไม่รู้ แล้วเราจะมีสัญญาในส่วนนี้ได้ไง ท่านนี้ สุดยอดอย่างว่าจริงๆๆ แปล่ไทยเป็นไทยได้ดีมาdเลย ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ผมยอมหยุดดีกว่า ไม่มีประโยชน์ ![]() ![]() ![]() |
เจ้าของ: | กบนอกกะลา [ 25 ก.ค. 2012, 21:24 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: กามคุณห้า |
![]() ![]() กามคุณ 5....คือคิดว่า..กามทั้ง 5 เป็นคุณ..อันได้แก่..รูปสวย..รสดี...กลิ่นหอม..เสียงเพราะ..สัมผัสดี....จึงปรารถณา ยามเมื่อไม่สมปรารถณา....ก็ไม่ยากเจอกับความไม่สมปรารถณานั้น จึง...ไปดีกว่า...อยู่ไปก็ไม่มีประโยชน์.... |
เจ้าของ: | student [ 26 ก.ค. 2012, 00:10 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: กามคุณห้า |
แต่ถ้าเห็น ทุกข์ อนิจจัง อนัตตา ก็คือดับความเห็นว่า กามคุณ5 นั้นน่าปรารถณา |
เจ้าของ: | โฮฮับ [ 26 ก.ค. 2012, 04:51 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: กามคุณห้า |
ฝึกจิต เขียน: ท่านนี้ สุดยอดอย่างว่าจริงๆๆ แปล่ไทยเป็นไทยได้ดีมาdเลย ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ผมยอมหยุดดีกว่า ไม่มีประโยชน์ ![]() ![]() ![]() บอกว่าไม่ให้แปลไทยเป็นไทย ผมบอกให้พิจารณาธรรมหาเหตุปัจจัย นี่ก็ยังมาเซ้าซี้จะแปลไทยเป็นไทยอีกแน่ะ เห็นชอบคุยจ้อเรื่องปฏิจสมุบาท กามคุณห้ามันเป็นกามราคะไม่รู้หรือ กามราคะเป็นสังโยชน์ การหยุดการเวียนว่ายตายเกิดได้ต้องเป็นพระอรหันต์ การเป็นพระอรหันต์ได้ต้องดับสังโยชน์ทั้งสิบ เหตุปัจจัยที่บอกมา ยังไม่รู้อีกหรือว่า สังโยชน์ทำให้เกิดการเวียนว่าย แล้วที่บอกว่า กามคุณห้าเป็นอดีตข้ามภพข้ามชาติไม่ถูกหรือ พิจารณาธรรมไม่ได้ ก็กรุณาใช่สมองธรรมดาๆคิดซักนิดก็ยังดีนะครับ ![]() |
เจ้าของ: | โฮฮับ [ 26 ก.ค. 2012, 05:12 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: กามคุณห้า |
กบนอกกะลา เขียน: :b32: ![]() กามคุณ 5....คือคิดว่า..กามทั้ง 5 เป็นคุณ..อันได้แก่..รูปสวย..รสดี...กลิ่นหอม..เสียงเพราะ..สัมผัสดี....จึงปรารถณา ยามเมื่อไม่สมปรารถณา....ก็ไม่ยากเจอกับความไม่สมปรารถณานั้น จึง...ไปดีกว่า...อยู่ไปก็ไม่มีประโยชน์.... มันใช่ซะที่ไหนล่ะ กามคุณห้ามันหมายถึงสิ่งที่มากระทบกับทวารทั้งห้า แล้วเกิดการปรุงแต่ง ด้วยอำนาจแห่งกิเลสที่เรียกว่า กามราคะ เรื่องรูป เป็นได้ทั้งรูปสวย หรือน่าเกลียด กลิ่นเหม็นหรือหอมฯลฯ มันไม่ใช่จำเพราะเจาะจง มันขึ้นอยู่กับตัณหา ตัณหามันมีทั้งอยากและไม่อยาก ถ้าเกิดไม่อยาก รูปก็จะเป็นว่าน่าเกลียด ถ้าอยากก็เป็นสวย ความอยากและรูปเป็นปรมัตถ์ สวยและน่าเกลียดเป็นสมมุติบัญญัติ "การไม่สมปรารถณา"เป็นเรื่องของขันธ์ เป็นอาการของจิต จนเกิดการปรุงแต่งขึ้นให้เป็นทุกข์ กบนอกกะลา เขียน: ฝึกจิต เขียน: กามคุณห้า ส่วนใหญ่เกิดจาก อดีต หรือ จากความจำ สัญญา ดังนั้น เราควร ป้องกันโดยมีสติ ลงที่ผัสสะ เพื่อการหลบหลีกในกามคุณนั้น หากหลีกเลี่ยงไม่ได้ ก็ต้องใช้สติให้มากๆ เพื่อเห็นโทษอันพึงเกิดจาก กามคุณนั้น ดับได้โดยให้เห็นว่า สัญญา ไม่ใช่เรา หรือ ไม่ยึดมั่นถือมั่นใน สัญญา ธรรมเล็กน้อย ใช่หรือป่าวมั้ยรู้ บอกว่าใช่หรือเปล่า.....แต่กลับยกคำพระได้ด้วย...แล้วมันจะใช่หรือเปล่าได้งัย?.. ![]() ก็แค่คุณฝึกจิตแกอยากวางภูมิ แต่ตัวเองไม่มี ก็เลยอาศัยภูมิคนอื่น ด้วยการใช้เล่ห์ เหมือนการลองภูมิ แต่มันแย่ตรงที่ตัวเองไม่มีภูมิ แต่ดันไปลองภูมิคนอื่น ผลก็คือ ความน่าอายครับ จะอะไรซะอีกล่ะครับ ตอนแรกถามลองภูมิคนอื่นโดยปกปิดสิ่งที่ตัวเองไปอ่านมา กะว่ามีใครแสดงความเห็นแย้งจะเอาสิ่งที่ปกปิดไว้มายัน เพราะคิดว่าอีกฝ่ายต้องจน ปัญญาตอบ แต่เรื่องมันกลับตาลปัตร อีกฝ่ายกลับแสดงความเห็น แย้งกลับมาได้ คุณฝึกจิตแกหลังชนกำแพงตรงนี้ครับ เพราะแกไม่รู้จะตอบยังไง เพราะสิ่งที่แกเอามาอวดเป็นภูมิของชาวบ้านเขา อ่านมาแค่นี้ก็พูดได้แค่นี้ แสดงความเห็นเกินกว่านี้ไม่ได้ครับ นกแก้ว งง นกขุนทอง เง็งครับ ![]() |
หน้า 1 จากทั้งหมด 2 | เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง |
Powered by phpBB © 2000, 2002, 2005, 2007 phpBB Group http://www.phpbb.com/ |