ลานธรรมจักร http://dhammajak.net/forums/ |
|
เมื่อเข้าสภาวะสูญญตา http://dhammajak.net/forums/viewtopic.php?f=1&t=42756 |
หน้า 1 จากทั้งหมด 11 |
เจ้าของ: | bigtoo [ 24 ก.ค. 2012, 04:46 ] |
หัวข้อกระทู้: | เมื่อเข้าสภาวะสูญญตา |
เมื่อจิตเข้าสภาวะสูญญตาแล้วจะรู้ว่ามันไม่มีแก่นสารอะไรเลย ทำให้เข้าจิตไม่สนใจอะไรมากนักปล่อยวางได้เพราะความเข้าใจ ที่จริงจักรวาลทั้งจักรวาลล้วนเป็นแต่พลังงานถ่ายเทไปถ่ายเทกันมา สิ่งต่างๆกลืนกินกันและกันอย่างนี้ พลังงานนี้เปลี่ยนเป็นพลังงานอย่างโน้น ไม่มีที่สิ้นสุดไม่มีว้นจบ จนจิตเราเข้าสู่สูญญตาได้จึงพ้นสภาวะแปลี่ยนถ่ายพลังงานเหล่านี้ ![]() ![]() ![]() |
เจ้าของ: | asoka [ 24 ก.ค. 2012, 06:25 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: เมื่อเข้าสภาวะสูญญตา |
![]() สุญญตา....อนัตตา....สัจจะ....ปรมัตถ์....ล้วนเป็นอันเดียวกัน ใครทำความเพียรจนจิตยอมรับและเข้าถึงตรงนั้น.....สสารและพลังงานทั้งหมดจะถูกส่งคืนไปให้กับสากลจักรวาล ![]() |
เจ้าของ: | plekaran [ 24 ก.ค. 2012, 19:25 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: เมื่อเข้าสภาวะสูญญตา |
เป็นแบบนี้ นี้เอง ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ด้วยความเคารพ |
เจ้าของ: | ฝึกจิต [ 24 ก.ค. 2012, 20:30 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: เมื่อเข้าสภาวะสูญญตา |
asoka เขียน: :b27: สุญญตา....อนัตตา....สัจจะ....ปรมัตถ์....ล้วนเป็นอันเดียวกัน ใครทำความเพียรจนจิตยอมรับและเข้าถึงตรงนั้น.....สสารและพลังงานทั้งหมดจะถูกส่งคืนไปให้กับสากลจักรวาล ![]() ท่าน อโสกะ เห็นเป็นอันเดียวกัน หรือครับ ส่วนตัวคิดว่า ไม่ใช่ครับ ผมอธิบาย นิดนึงนะครับ สัจจะ แปลว่า ความจริง ซึ่งใช้ทั้ง สมมุติสัจจะ และ ปรมัตสัจจะ มองดูสมมุติ มองให้ลึกลงไปในสมมุติ เห็นบัญญัติ มองดูบัญญัติ มองให้ลึกลงไปในบัญญัติ เห็นปรมัต มองดูปรมัต มองให้ลึกลงไปในปรมัต เห็นอนัตตา มองอนัตตาจนแจ้งในจิต กลายเป็น สุญญตา ครับ ลองพิจารณาดูนะครับ |
เจ้าของ: | กบนอกกะลา [ 24 ก.ค. 2012, 21:06 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: เมื่อเข้าสภาวะสูญญตา |
![]() ![]() พูดได้ดี....พูดได้ดี... ![]() |
เจ้าของ: | asoka [ 25 ก.ค. 2012, 06:30 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: เมื่อเข้าสภาวะสูญญตา |
ฝึกจิต เขียน: asoka เขียน: :b27: สุญญตา....อนัตตา....สัจจะ....ปรมัตถ์....ล้วนเป็นอันเดียวกัน ใครทำความเพียรจนจิตยอมรับและเข้าถึงตรงนั้น.....สสารและพลังงานทั้งหมดจะถูกส่งคืนไปให้กับสากลจักรวาล ![]() ท่าน อโสกะ เห็นเป็นอันเดียวกัน หรือครับ ส่วนตัวคิดว่า ไม่ใช่ครับ ผมอธิบาย นิดนึงนะครับ สัจจะ แปลว่า ความจริง ซึ่งใช้ทั้ง สมมุติสัจจะ และ ปรมัตสัจจะ มองดูสมมุติ มองให้ลึกลงไปในสมมุติ เห็นบัญญัติ มองดูบัญญัติ มองให้ลึกลงไปในบัญญัติ เห็นปรมัต มองดูปรมัต มองให้ลึกลงไปในปรมัต เห็นอนัตตา มองอนัตตาจนแจ้งในจิต กลายเป็น สุญญตา ครับ ลองพิจารณาดูนะครับ ![]() สาธุกับมุมมองของคุณฝึกจิตครับ ![]() มุมมองที่ผมกล่าวได้มาจากคำสรุปว่า "สพฺเพธมฺมา อนัตตา" จึงกล่าวว่าทั้งหมดเป็นอันเดียวกันครับ ![]() |
เจ้าของ: | ฝึกจิต [ 25 ก.ค. 2012, 06:43 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: เมื่อเข้าสภาวะสูญญตา |
asoka เขียน: ฝึกจิต เขียน: asoka เขียน: :b27: สุญญตา....อนัตตา....สัจจะ....ปรมัตถ์....ล้วนเป็นอันเดียวกัน ใครทำความเพียรจนจิตยอมรับและเข้าถึงตรงนั้น.....สสารและพลังงานทั้งหมดจะถูกส่งคืนไปให้กับสากลจักรวาล ![]() ท่าน อโสกะ เห็นเป็นอันเดียวกัน หรือครับ ส่วนตัวคิดว่า ไม่ใช่ครับ ผมอธิบาย นิดนึงนะครับ สัจจะ แปลว่า ความจริง ซึ่งใช้ทั้ง สมมุติสัจจะ และ ปรมัตสัจจะ มองดูสมมุติ มองให้ลึกลงไปในสมมุติ เห็นบัญญัติ มองดูบัญญัติ มองให้ลึกลงไปในบัญญัติ เห็นปรมัต มองดูปรมัต มองให้ลึกลงไปในปรมัต เห็นอนัตตา มองอนัตตาจนแจ้งในจิต กลายเป็น สุญญตา ครับ ลองพิจารณาดูนะครับ ![]() สาธุกับมุมมองของคุณฝึกจิตครับ ![]() มุมมองที่ผมกล่าวได้มาจากคำสรุปว่า "สพฺเพธมฺมา อนัตตา" จึงกล่าวว่าทั้งหมดเป็นอันเดียวกันครับ ![]() แต่ในความเห็นกระผม สภาวะสูญญตา มันเลย อนัตตาไปแล้ว อ่ะครับ ![]() |
เจ้าของ: | asoka [ 25 ก.ค. 2012, 07:05 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: เมื่อเข้าสภาวะสูญญตา |
ฝึกจิต เขียน: asoka เขียน: ฝึกจิต เขียน: asoka เขียน: :b27: สุญญตา....อนัตตา....สัจจะ....ปรมัตถ์....ล้วนเป็นอันเดียวกัน ใครทำความเพียรจนจิตยอมรับและเข้าถึงตรงนั้น.....สสารและพลังงานทั้งหมดจะถูกส่งคืนไปให้กับสากลจักรวาล ![]() ท่าน อโสกะ เห็นเป็นอันเดียวกัน หรือครับ ส่วนตัวคิดว่า ไม่ใช่ครับ ผมอธิบาย นิดนึงนะครับ สัจจะ แปลว่า ความจริง ซึ่งใช้ทั้ง สมมุติสัจจะ และ ปรมัตสัจจะ มองดูสมมุติ มองให้ลึกลงไปในสมมุติ เห็นบัญญัติ มองดูบัญญัติ มองให้ลึกลงไปในบัญญัติ เห็นปรมัต มองดูปรมัต มองให้ลึกลงไปในปรมัต เห็นอนัตตา มองอนัตตาจนแจ้งในจิต กลายเป็น สุญญตา ครับ ลองพิจารณาดูนะครับ ![]() สาธุกับมุมมองของคุณฝึกจิตครับ ![]() มุมมองที่ผมกล่าวได้มาจากคำสรุปว่า "สพฺเพธมฺมา อนัตตา" จึงกล่าวว่าทั้งหมดเป็นอันเดียวกันครับ ![]() แต่ในความเห็นกระผม สภาวะสูญญตา มันเลย อนัตตาไปแล้ว อ่ะครับ ![]() ![]() ว่าโดยปรมัตถบัญญัติ อาจทำให้เกิดแง่คิดแตกแยกออกไปได้อีก.... แต่เมื่อว่าโดยสภาวปมัตถ์ สุญญตา......ก็ไม่มีตัวตน.........อนัตตา....ก็ไม่มีตัวตน สัจจะ ....ความจริง.....มันเป็นธรรมธาตุ มีอยู่แค่นั้นอย่างที่มันมีมันเป็น ![]() ![]() แต่อย่างไรก็นับถือความละเอียดละออในการแจงบัญญัติของคุณฝึกจิตนะครับ เจริญธรรม ![]() |
เจ้าของ: | ฝึกจิต [ 25 ก.ค. 2012, 07:22 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: เมื่อเข้าสภาวะสูญญตา |
asoka เขียน: ฝึกจิต เขียน: asoka เขียน: ฝึกจิต เขียน: asoka เขียน: :b27: สุญญตา....อนัตตา....สัจจะ....ปรมัตถ์....ล้วนเป็นอันเดียวกัน ใครทำความเพียรจนจิตยอมรับและเข้าถึงตรงนั้น.....สสารและพลังงานทั้งหมดจะถูกส่งคืนไปให้กับสากลจักรวาล ![]() ท่าน อโสกะ เห็นเป็นอันเดียวกัน หรือครับ ส่วนตัวคิดว่า ไม่ใช่ครับ ผมอธิบาย นิดนึงนะครับ สัจจะ แปลว่า ความจริง ซึ่งใช้ทั้ง สมมุติสัจจะ และ ปรมัตสัจจะ มองดูสมมุติ มองให้ลึกลงไปในสมมุติ เห็นบัญญัติ มองดูบัญญัติ มองให้ลึกลงไปในบัญญัติ เห็นปรมัต มองดูปรมัต มองให้ลึกลงไปในปรมัต เห็นอนัตตา มองอนัตตาจนแจ้งในจิต กลายเป็น สุญญตา ครับ ลองพิจารณาดูนะครับ ![]() สาธุกับมุมมองของคุณฝึกจิตครับ ![]() มุมมองที่ผมกล่าวได้มาจากคำสรุปว่า "สพฺเพธมฺมา อนัตตา" จึงกล่าวว่าทั้งหมดเป็นอันเดียวกันครับ ![]() แต่ในความเห็นกระผม สภาวะสูญญตา มันเลย อนัตตาไปแล้ว อ่ะครับ ![]() ![]() ว่าโดยปรมัตถบัญญัติ อาจทำให้เกิดแง่คิดแตกแยกออกไปได้อีก.... แต่เมื่อว่าโดยสภาวปมัตถ์ สุญญตา......ก็ไม่มีตัวตน.........อนัตตา....ก็ไม่มีตัวตน สัจจะ ....ความจริง.....มันเป็นธรรมธาตุ มีอยู่แค่นั้นอย่างที่มันมีมันเป็น ![]() ![]() แต่อย่างไรก็นับถือความละเอียดละออในการแจงบัญญัติของคุณฝึกจิตนะครับ เจริญธรรม ![]() แต่ผมว่านะ อนัตตา นั้น คือ มันไม่ใช่ตัวตน จน ไม่มีตัวตน และเมื่อ ไม่มีตัวตน(ไม่ใช่ว่าว่างเปล่า ดับสูญ) เมื่อไหร่ จึงเป็นสุญญตา นะครับ |
เจ้าของ: | bigtoo [ 25 ก.ค. 2012, 08:21 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: เมื่อเข้าสภาวะสูญญตา |
อนัตตามีการตีความหมายกันแพร่หลาย บังคับบัญชาไม่ได้ ไม่มีตัวตนบ้างละ มันใช่อย่างนั้นจริงเหรอ มันละเอียดมากสุ่มเสี่ยงแก่การอธิบาย อนัตตาเป็นภาษาที่เรียกสิ่งที่มีจริงในสมมุติบัญญัติที่มีการแยกแยะแล้วเช่นตัวเรา ถ้าไม่แยกเรียกว่าอัตตา(ตัวเรา) ถ้าแยกส่วนเรียกว่าอนัตตา (รูปนามหรือขันต์5ธาตุ4) ในลักษณะเดียวกันเช่นรถยนต์ถ้าไม่แยกเรียกว่าอัตตา ถ้าแยกส่วนเป็นธาตุ เรียกว่าอนัตตา และนัยอื่นก็เช่นเดียวกันมันก็แค่นี้เอง ส่วนบังคับบัญชาไม่ได้นั้นมันน่าจะเป็นอนิจจัง ทุกขขังนะครับที่เราไม่สามารถควบคุมมันไม่ให้ไม่เปลี่ยนแปลงได้ ส่วนสูญญตานั้นเป็นธรรมเหนือโลกเราอธิบายไม่ได้มากกว่านี้หรอกว่าง ไม่มีเกิด ไม่มีดับ คงที่ อมตะ นิรันดร์ เป็นสภาวะของนิพพาน |
เจ้าของ: | ฝึกจิต [ 25 ก.ค. 2012, 15:35 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: เมื่อเข้าสภาวะสูญญตา |
bigtoo เขียน: อนัตตามีการตีความหมายกันแพร่หลาย บังคับบัญชาไม่ได้ ไม่มีตัวตนบ้างละ มันใช่อย่างนั้นจริงเหรอ มันละเอียดมากสุ่มเสี่ยงแก่การอธิบาย อนัตตาเป็นภาษาที่เรียกสิ่งที่มีจริงในสมมุติบัญญัติที่มีการแยกแยะแล้วเช่นตัวเรา ถ้าไม่แยกเรียกว่าอัตตา(ตัวเรา) ถ้าแยกส่วนเรียกว่าอนัตตา (รูปนามหรือขันต์5ธาตุ4) ในลักษณะเดียวกันเช่นรถยนต์ถ้าไม่แยกเรียกว่าอัตตา ถ้าแยกส่วนเป็นธาตุ เรียกว่าอนัตตา และนัยอื่นก็เช่นเดียวกันมันก็แค่นี้เอง ส่วนบังคับบัญชาไม่ได้นั้นมันน่าจะเป็นอนิจจัง ทุกขขังนะครับที่เราไม่สามารถควบคุมมันไม่ให้ไม่เปลี่ยนแปลงได้ ส่วนสูญญตานั้นเป็นธรรมเหนือโลกเราอธิบายไม่ได้มากกว่านี้หรอกว่าง ไม่มีเกิด ไม่มีดับ คงที่ อมตะ นิรันดร์ เป็นสภาวะของนิพพาน ผมว่าไม่ใช่มั่งครับ แยกส่วนหรือไม่แยกส่วน ทุกอย่างล้วน อนัตตา ครับ ส่วนอัตตา นั้น มันหมายถึง การเข้าไปยึด ตัวตน ว่าเป็น เราของเรา โดยไม่เข้าใจไม่เข้าถึงว่า มันอยู่ภายใต้อนัตตา และอีกแบบ คือ เข้าใจเข้าถึงแล้วว่า มันยึดไม่ได้ ปล่อยไปตามเหตุปัจจัย ไป อันนี้คงหมายถึง อรหันต์ แล้ว ท่านอื่นใดเห็นอย่างไร ก็อธิบายกัน นะครับ ช่วยๆกันคลำดู ![]() |
เจ้าของ: | กบนอกกะลา [ 25 ก.ค. 2012, 20:49 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: เมื่อเข้าสภาวะสูญญตา |
เบื่อจัง... ปรมัตถ์...สุญญตา...อนัตตา... มันเป็ยยังงัยหรอ...ไม่เคยเห็น.. ![]() ![]() |
เจ้าของ: | govit2552 [ 26 ก.ค. 2012, 06:40 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: เมื่อเข้าสภาวะสูญญตา |
อ้างคำพูด: ฆนะปิดบังอนัตตลักษณะ
ฆนะ คือ สิ่งที่เนื่องกันอยู่ ท่านได้แบ่งฆนะ ออกเป็น 4 อย่าง คือ สันตติฆนะ สมูหฆนะ กิจจฆนะ อารัมมณฆนะ[15]. สันตติฆนะ คือ ขันธ์ 5 ที่เกิดดับสืบเนื่องกันไปไม่ขาดสาย ซึ่งเร็วจนดูเหมือนกับว่า ขันธ์ 5 ไม่มีอะไรเกิดดับ. สมูหฆนะ คือ ขันธ์ 5 ที่เกิดร่วมกันสัมพันธ์อาศัยซึ่งกันและกัน จนดูราวกะว่า ขันธ์ทั้ง 5 เป็นกลุ่มก้อน เป็นหนึ่งเดียวกัน. กิจจฆนะ คือ ขันธ์ 5 ที่มีกิจหน้าที่มากหลายรับรู้เข้าใจได้ง่ายและยากโดดเด่นแตกต่างกันไป ซึ่งหากไม่มีปัญญาก็อาจดูเหมือนกับว่า ขันธ์ 5 มีกิจอย่างใดอย่างหนึ่งเพียงกิจเดียว. อารัมมณฆนะ คือ ขันธ์ 4 ที่รับรู้อารมณ์มากมายหลากหลายใหม่ๆไปเรื่อย แต่หากเราเองไม่มีความรู้พอที่จะสังเกต จะไม่ทราบเลยว่า จิตใจของเราแบ่งออกตามการรู้อารมณ์ได้มากทีเดียว[16] [17]. การเนื่องกันเหล่านี้จะมีหรือไม่มี ขึ้นอยู่กับปัจจัยของธรรมที่ร่วมกันเกิดอยู่นั้น เป็นกฏธรรมชาติ เป็นธรรมดา หากเหตุพร้อมมูลก็ไม่มีใครไปห้ามไม่ให้ผลเกิดได้เลย. ฆนะทั้งหมด โดยเฉพาะ 3 อย่างหลังที่เนื่องกันติดกันอยู่ตลอดเวลาอย่างนี้ จะทำให้เรารู้สึกเหมือนกับว่า ขันธ์ 5 บังคับบัญชาตัวเองได้ ไม่ต้องอาศัยปัจจัยอะไรเลย ราวกะมีตัวตนแก่นสาร ทั้งที่ความจริงแล้ว ขันธ์ไม่เคยอยู่เดียว ๆ เลย มีแต่จะต้องแวดล้อมไปด้วยปัจจัยและปัจจยุปบันที่ทั้งเกิดก่อน เกิดหลัง และเกิดร่วมมากมายจนนับไม่ถ้วน (ถ้านับละเอียด). ในคัมภีร์ท่านจึงกล่าวไว้ว่า "ฆนะปิดบังอนิจจลักษณะ" เพราะอนิจจลักษณะเป็นเครื่องกำหนดความไม่มีตัวตนอำนาจที่เป็นแก่นสารมั่นคงของขันธ์ 5 ซึ่งตรงกันข้ามกับฆนะที่เนื่องกันจนทำให้เข้าใจผิดไปว่า ขันธ์เป็นหนึ่ง มีเหตุคือเรา คือเขาเพียงหนึ่งที่เป็นตัวตนมั่นคงบังคับสิ่งต่างๆได้ ทั้งที่ก่อนหน้านั้น และขณะนั้นเองมีเหตุให้เกิดขันธ์เหล่านั้นเกิดอยู่มากมาย หลังจากนั้นโดยทั่วไปก็ยังมีผลที่จะเกิดสืบต่อไปอีกมากมาย. การที่ยังพิจารณาอนัตตลักษณะว่า "ขันธ์ที่ยังไม่เกิดก็เกิดมีขึ้น พอมีขึ้นแล้วต่อไปก็จะกลายเป็นไม่มีไปอีก"เป็นต้น (โดยมุ่งถึงความไม่มีอำนาจส่วนตัว เป็นไปตามหมู่ปัจจัยเป็นอเนกอนันต์) ไม่บ่อย ไม่ต่อเนื่อง หรือเพิ่งเริ่มกำหนด จึงยังไม่เกิดความชำนาญ อนัตตลักษณะที่กำหนดอยู่ก็จะไม่ชัดเจน ไม่เข้าใจกระจ่างเท่าไหร่ฆนะจึงยังมีอำนาจรบกวนไม่ให้กำหนดอนัตตลักษณะได้ชัดเจนแจ่มแจ้ง. สำหรับวิธีการจัดการกับฆนะไม่ให้มีผลกับการกำหนดอนัตตลักษณะนั้นไม่มีวิธีการโดยตรง เพราะฆนะเหล่านี้มีอยู่เป็นปกติ หากธรรมต่างๆไม่มีความสัมพันธ์กันเนื่องกันแล้ว ก็เท่ากับนิพพานไป. แต่ท่านก็ยังคงให้พิจารณาอนัตตลักษณะแบบเดิมเป็นต้นว่า "ขันธ์ที่ยังไม่เกิดก็เกิดมีขึ้น พอมีขึ้นแล้วต่อไปก็จะกลายเป็นไม่มีไปอีก"ดังนี้ โดยมุ่งถึงความไม่มีอำนาจส่วนตัว เป็นไปตามหมู่ปัจจัยเป็นอเนกอนันต์ ต่อไป โดยทำให้มาก ให้ต่อเนื่อง ให้บ่อยครั้งเข้า อนัตตลักษณะก็จะปรากฏชัดขึ้น และฆนะต่าง ๆ แม้จะยังมีอยู่ตามเดิม แต่ก็จะไม่มีอำนาจปกปิดอนัตตลักษณะ หรือ ทำให้อนัตตลักษณะไม่ชัดเจนอีกต่อไป. อนึ่ง ฆนะไม่ได้ปิดบังอนัตตา เพราะอนัตตา คือ ขันธ์ 5 ซึ่งขันธ์ 5 ที่เป็นโลกิยะโดยมากแล้วใคร ๆ แม้ที่ไม่ได้ศึกษาคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าก็สามารถจะเห็นได้ ดังที่ท่านกล่าวไว้ในอรรถกถามหาสติปัฏฐานสูตรว่า "กามํ อุตฺตานเสยฺยกาปิ ทารกา ถญฺญปิวนาทิกาเล สุขํ เวทยมานา สุขํ เวทนํ เวทยามาติ ปชานนฺติ น ปเนตํ เอวรูปํ ชานนํ สนฺธาย วุตฺตํ - ความจริงแล้ว แม้แต่พวกทารกแบเบาะมีความสุขอยู่ในเวลาขณะที่ดื่มนม ก็ย่อมรู้ชัดอยู่ว่า เรามีสุขเวทนา (คือ รู้ตัวว่ากำลังมีความสุข) อยู่ ดังนี้ แต่การรู้อย่างนี้ท่านไม่ได้ประสงค์เอา (ในการเจริญสติปัฏฐาน) "ดังนี้[18]. ดังนั้นแม้เราจะหั่นหมูเป็นชิ้น ๆ จนไม่เหลือสภาพความเป็นหมูอ้วนๆให้เห็นเลยก็ตาม หรือ จะเป็นนักวิทยาศาสตร์แยกอะตอม (atom) ออกจนสิ้นเหลือแต่คว๊าก (quark) กับกลูอ้อน (gluon) หรือแยกได้มากกว่านั้นก็ตามที แต่หากไม่มนสิการถึงอนิจจลักษณะว่า "ขันธ์ที่ยังไม่เกิดก็เกิดมีขึ้น พอมีขึ้นแล้วต่อไปก็จะกลายเป็นไม่มีไปอีก"เป็นต้น (โดยมุ่งถึงความเบียดเบียนบีบคั้น) เราก็จะไม่สามารถเห็นอนัตตลักษณะได้เลย เพราะความสำคัญของการเจริญวิปัสสนาอยู่ที่การนึกอาวัชชนาการถึงไตรลักษณ์อย่างละเอียดบ่อย ๆ เพื่อเปลี่ยนวิปัลลาสทาง ทิฏฐิ จิต และ สัญญา, ไม่ใช่การทำลายขันธ์ 5 เป็นชิ้น ๆ ด้วยน้ำมือของขันธ์นั้นเองแต่อย่างใดเลย. |
เจ้าของ: | ปลีกวิเวก [ 26 ก.ค. 2012, 08:57 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: เมื่อเข้าสภาวะสูญญตา |
govit2552 เขียน: อ้างคำพูด: ฆนะปิดบังอนัตตลักษณะ ฆนะ คือ สิ่งที่เนื่องกันอยู่ ท่านได้แบ่งฆนะ ออกเป็น 4 อย่าง คือ สันตติฆนะ สมูหฆนะ กิจจฆนะ อารัมมณฆนะ[15]. สันตติฆนะ คือ ขันธ์ 5 ที่เกิดดับสืบเนื่องกันไปไม่ขาดสาย ซึ่งเร็วจนดูเหมือนกับว่า ขันธ์ 5 ไม่มีอะไรเกิดดับ. สมูหฆนะ คือ ขันธ์ 5 ที่เกิดร่วมกันสัมพันธ์อาศัยซึ่งกันและกัน จนดูราวกะว่า ขันธ์ทั้ง 5 เป็นกลุ่มก้อน เป็นหนึ่งเดียวกัน. กิจจฆนะ คือ ขันธ์ 5 ที่มีกิจหน้าที่มากหลายรับรู้เข้าใจได้ง่ายและยากโดดเด่นแตกต่างกันไป ซึ่งหากไม่มีปัญญาก็อาจดูเหมือนกับว่า ขันธ์ 5 มีกิจอย่างใดอย่างหนึ่งเพียงกิจเดียว. อารัมมณฆนะ คือ ขันธ์ 4 ที่รับรู้อารมณ์มากมายหลากหลายใหม่ๆไปเรื่อย แต่หากเราเองไม่มีความรู้พอที่จะสังเกต จะไม่ทราบเลยว่า จิตใจของเราแบ่งออกตามการรู้อารมณ์ได้มากทีเดียว[16] [17]. การเนื่องกันเหล่านี้จะมีหรือไม่มี ขึ้นอยู่กับปัจจัยของธรรมที่ร่วมกันเกิดอยู่นั้น เป็นกฏธรรมชาติ เป็นธรรมดา หากเหตุพร้อมมูลก็ไม่มีใครไปห้ามไม่ให้ผลเกิดได้เลย. ฆนะทั้งหมด โดยเฉพาะ 3 อย่างหลังที่เนื่องกันติดกันอยู่ตลอดเวลาอย่างนี้ จะทำให้เรารู้สึกเหมือนกับว่า ขันธ์ 5 บังคับบัญชาตัวเองได้ ไม่ต้องอาศัยปัจจัยอะไรเลย ราวกะมีตัวตนแก่นสาร ทั้งที่ความจริงแล้ว ขันธ์ไม่เคยอยู่เดียว ๆ เลย มีแต่จะต้องแวดล้อมไปด้วยปัจจัยและปัจจยุปบันที่ทั้งเกิดก่อน เกิดหลัง และเกิดร่วมมากมายจนนับไม่ถ้วน (ถ้านับละเอียด). ในคัมภีร์ท่านจึงกล่าวไว้ว่า "ฆนะปิดบังอนิจจลักษณะ" เพราะอนิจจลักษณะเป็นเครื่องกำหนดความไม่มีตัวตนอำนาจที่เป็นแก่นสารมั่นคงของขันธ์ 5 ซึ่งตรงกันข้ามกับฆนะที่เนื่องกันจนทำให้เข้าใจผิดไปว่า ขันธ์เป็นหนึ่ง มีเหตุคือเรา คือเขาเพียงหนึ่งที่เป็นตัวตนมั่นคงบังคับสิ่งต่างๆได้ ทั้งที่ก่อนหน้านั้น และขณะนั้นเองมีเหตุให้เกิดขันธ์เหล่านั้นเกิดอยู่มากมาย หลังจากนั้นโดยทั่วไปก็ยังมีผลที่จะเกิดสืบต่อไปอีกมากมาย. การที่ยังพิจารณาอนัตตลักษณะว่า "ขันธ์ที่ยังไม่เกิดก็เกิดมีขึ้น พอมีขึ้นแล้วต่อไปก็จะกลายเป็นไม่มีไปอีก"เป็นต้น (โดยมุ่งถึงความไม่มีอำนาจส่วนตัว เป็นไปตามหมู่ปัจจัยเป็นอเนกอนันต์) ไม่บ่อย ไม่ต่อเนื่อง หรือเพิ่งเริ่มกำหนด จึงยังไม่เกิดความชำนาญ อนัตตลักษณะที่กำหนดอยู่ก็จะไม่ชัดเจน ไม่เข้าใจกระจ่างเท่าไหร่ฆนะจึงยังมีอำนาจรบกวนไม่ให้กำหนดอนัตตลักษณะได้ชัดเจนแจ่มแจ้ง. สำหรับวิธีการจัดการกับฆนะไม่ให้มีผลกับการกำหนดอนัตตลักษณะนั้นไม่มีวิธีการโดยตรง เพราะฆนะเหล่านี้มีอยู่เป็นปกติ หากธรรมต่างๆไม่มีความสัมพันธ์กันเนื่องกันแล้ว ก็เท่ากับนิพพานไป. แต่ท่านก็ยังคงให้พิจารณาอนัตตลักษณะแบบเดิมเป็นต้นว่า "ขันธ์ที่ยังไม่เกิดก็เกิดมีขึ้น พอมีขึ้นแล้วต่อไปก็จะกลายเป็นไม่มีไปอีก"ดังนี้ โดยมุ่งถึงความไม่มีอำนาจส่วนตัว เป็นไปตามหมู่ปัจจัยเป็นอเนกอนันต์ ต่อไป โดยทำให้มาก ให้ต่อเนื่อง ให้บ่อยครั้งเข้า อนัตตลักษณะก็จะปรากฏชัดขึ้น และฆนะต่าง ๆ แม้จะยังมีอยู่ตามเดิม แต่ก็จะไม่มีอำนาจปกปิดอนัตตลักษณะ หรือ ทำให้อนัตตลักษณะไม่ชัดเจนอีกต่อไป. อนึ่ง ฆนะไม่ได้ปิดบังอนัตตา เพราะอนัตตา คือ ขันธ์ 5 ซึ่งขันธ์ 5 ที่เป็นโลกิยะโดยมากแล้วใคร ๆ แม้ที่ไม่ได้ศึกษาคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าก็สามารถจะเห็นได้ ดังที่ท่านกล่าวไว้ในอรรถกถามหาสติปัฏฐานสูตรว่า "กามํ อุตฺตานเสยฺยกาปิ ทารกา ถญฺญปิวนาทิกาเล สุขํ เวทยมานา สุขํ เวทนํ เวทยามาติ ปชานนฺติ น ปเนตํ เอวรูปํ ชานนํ สนฺธาย วุตฺตํ - ความจริงแล้ว แม้แต่พวกทารกแบเบาะมีความสุขอยู่ในเวลาขณะที่ดื่มนม ก็ย่อมรู้ชัดอยู่ว่า เรามีสุขเวทนา (คือ รู้ตัวว่ากำลังมีความสุข) อยู่ ดังนี้ แต่การรู้อย่างนี้ท่านไม่ได้ประสงค์เอา (ในการเจริญสติปัฏฐาน) "ดังนี้[18]. ดังนั้นแม้เราจะหั่นหมูเป็นชิ้น ๆ จนไม่เหลือสภาพความเป็นหมูอ้วนๆให้เห็นเลยก็ตาม หรือ จะเป็นนักวิทยาศาสตร์แยกอะตอม (atom) ออกจนสิ้นเหลือแต่คว๊าก (quark) กับกลูอ้อน (gluon) หรือแยกได้มากกว่านั้นก็ตามที แต่หากไม่มนสิการถึงอนิจจลักษณะว่า "ขันธ์ที่ยังไม่เกิดก็เกิดมีขึ้น พอมีขึ้นแล้วต่อไปก็จะกลายเป็นไม่มีไปอีก"เป็นต้น (โดยมุ่งถึงความเบียดเบียนบีบคั้น) เราก็จะไม่สามารถเห็นอนัตตลักษณะได้เลย เพราะความสำคัญของการเจริญวิปัสสนาอยู่ที่การนึกอาวัชชนาการถึงไตรลักษณ์อย่างละเอียดบ่อย ๆ เพื่อเปลี่ยนวิปัลลาสทาง ทิฏฐิ จิต และ สัญญา, ไม่ใช่การทำลายขันธ์ 5 เป็นชิ้น ๆ ด้วยน้ำมือของขันธ์นั้นเองแต่อย่างใดเลย. ![]() ขอบคุณท่านโกวิทที่นำมาให้อ่าน เมื่อ "สติ" เกิดแล้วก็ต้องเดินปัญญาต่อพิจารณาให้เห็นถึงความปรวนแปรเปลี่ยนแปลงตามเหตุปัจจัย ไม่อาจบังคับบัญชาให้เป็นไปตามความต้องการได้..พิจารณาบ่อยๆเข้าเมื่อมีผัสสะเกิดทางทวารที่ เคยพิจารณาบ่อยๆ มันจะแค่รู้...รู้แล้วปล่อยไม่ปรุงแต่งเป็นความชอบหรือไม่ชอบ อย่างเช่นรสชาดของอาหารเมื่อกระทบลิ้นก็แค่รู้ว่าเป็นรส..แต่ถ้ายังรู้ว่าเป็นรส เปรี้ยว หวาน เค็ม อันนี้เลยไปเป็นบัญญัติแล้ว ดังนั้นในการใช้ชีวิตประจำวันการรู้อารมณ์ปรมัติและบัญญัติจะต้องสลับกันไป..แต่ถ้าใช้บัญญัติอย่างเดียวมันมักไม่พ้นการปรุงแต่งไปตามความชอบใจไม่ชอบใจที่เราเคยชิน.. |
เจ้าของ: | bigtoo [ 26 ก.ค. 2012, 09:19 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: เมื่อเข้าสภาวะสูญญตา |
จกขุ ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง เมื่อแทงตลอดอริยสัจ ท่านก็จะประจักษ์ความจริงในมโมทวาร(อนิจจัง ทุกขังอนัตตา )ดวงตาเห็นธรรมก็ปรากฎ เมื่อเห็นสิ่งที่ปรากฎด้วยตาที่3เรียกตาปัญญา เมื่อตาปัญญาเห็นที่มันผลุดขึ้นมาเรียกว่าญาณปัญญา เมื่อญาณปัญญาเกิด สัญญาก็จำเป็นปัญญาเรียกว่าปัญญา เมื่อรู้ทั้งหมดก็รู้วิธีที่จะเข้าถึงเรียกว่าวิชชา สุดท้ายแสงสว่างก็ปรากฎนั้นเป็นปัญที่เรียกว่าแสงสว่างแห่งปัญญาตัวกำจัดความมือบอดกำจัดอาสวะกิเลสทั้งหมด(แสวงสว่างใดเหนือกว่าแสงสว่างแห่งปัญญาไม่มี)แสงสว่าางเป็นสิ่งที่กำจัดความมือบอดทั้งหมดในจักวาล ทั้งรูปธรรมนามธรรม แส่งสว่างทั่วไปกำจัดความมืดธรรมดาทำให้เราเห็นในสิ่งที่มองไม่เห็น แส่วงว่างที่เกิดในมโนทวารนั้นเป็นนิพพานธาตุเป็นพลังงานที่กำจัดความมือบอดในจิตวิญญาณของคนเรา (ตรงนี้ท่านได้ยังไม่เคยพบก็จะบอกว่าแส่งสว่างใดไม่เท่าปัญญาเข้าใจผิดครับ) ต้องเป็นแสงสว่างแห่งปัญญาที่ปรากฎขึ้นจริง ตามความเห็นของbigtoo เอาไว้พิจารณา ![]() ![]() ![]() |
หน้า 1 จากทั้งหมด 11 | เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง |
Powered by phpBB © 2000, 2002, 2005, 2007 phpBB Group http://www.phpbb.com/ |