วันเวลาปัจจุบัน 28 มี.ค. 2024, 18:54  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 134 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 5, 6, 7, 8, 9  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 ต.ค. 2013, 09:33 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


govit2552 เขียน:
[๖๗๓] คำว่า เสวยสุขด้วยนามกาย มีอธิบายว่า สุข เป็นไฉน
ความสบายทางใจ ความสุขทางใจ ความเสวยอารมณ์ที่สบายเป็นสุขอัน
เกิดแต่เจโตสัมผัส กิริยาเสวยอารมณ์ที่สบายเป็นสุขอันเกิดแต่เจโตสัมผัส อันใด
นี้เรียกว่า สุข
กาย เป็นไฉน
สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ นี้เรียกว่า กาย
ภิกษุ ย่อมเสวยสุขนี้ ด้วยกายนี้ ด้วยเหตุนั้น จึงเรียกว่า เสวยสุข
ด้วยนามกาย
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=35&A=7871&Z=8548


อ่านธรรมต้องเข้าใจด้วยว่า ธรรมที่อ่านเป็น การการอธิบายธรรมที่เป็นวิชชาหรือธรรมที่เป็นอวิชา
ธรรมที่คุณโกวิทยกมากล่าว เป็นการยกเอาธรรมที่เป็นอวิชามาแสดง เพื่อให้รู้ความเป็นอวิชา
เพื่อจะได้เห็นเหตุหรือเห็นตัวอวิชา แล้วจะได้ละมันเสีย

สรุปให้ฟังคือ ธรรมที่กล่าวมามันไม่ใชกายแท้ แต่เป็นสิ่งที่ปรุงแต่งกาย
กายแท้ที่พระพุทธองคทรงตรัสก็คือธาตุสี่ ไม่มีขันธ์ ไม่มีสุขทุกข์ทางใจ

ความหมายของปัญญา.....คือรู้อวิชาและวิชชา การจะรู้วิชชาให้เกิดญาน
เราต้องรู้อวิชาด้วย
ดังนั้นต้องแยกแยะให้ดี ไม่ใช่รู้อวิชาแล้วเข้าไปยึด ธรรมที่ว่าจะกลายเป็นกิเลส


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 ต.ค. 2013, 09:51 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
govit2552 เขียน:
[๖๗๓] คำว่า เสวยสุขด้วยนามกาย มีอธิบายว่า สุข เป็นไฉน
ความสบายทางใจ ความสุขทางใจ ความเสวยอารมณ์ที่สบายเป็นสุขอัน
เกิดแต่เจโตสัมผัส กิริยาเสวยอารมณ์ที่สบายเป็นสุขอันเกิดแต่เจโตสัมผัส อันใด
นี้เรียกว่า สุข
กาย เป็นไฉน
สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ นี้เรียกว่า กาย
ภิกษุ ย่อมเสวยสุขนี้ ด้วยกายนี้ ด้วยเหตุนั้น จึงเรียกว่า เสวยสุข
ด้วยนามกาย
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=35&A=7871&Z=8548


อ่านธรรมต้องเข้าใจด้วยว่า ธรรมที่อ่านเป็น การการอธิบายธรรมที่เป็นวิชชาหรือธรรมที่เป็นอวิชา
ธรรมที่คุณโกวิทยกมากล่าว เป็นการยกเอาธรรมที่เป็นอวิชามาแสดง เพื่อให้รู้ความเป็นอวิชา
เพื่อจะได้เห็นเหตุหรือเห็นตัวอวิชา แล้วจะได้ละมันเสีย

สรุปให้ฟังคือ ธรรมที่กล่าวมามันไม่ใชกายแท้ แต่เป็นสิ่งที่ปรุงแต่งกาย
กายแท้ที่พระพุทธองคทรงตรัสก็คือธาตุสี่ ไม่มีขันธ์ ไม่มีสุขทุกข์ทางใจ

ความหมายของปัญญา.....คือรู้อวิชาและวิชชา การจะรู้วิชชาให้เกิดญาน
เราต้องรู้อวิชาด้วย
ดังนั้นต้องแยกแยะให้ดี ไม่ใช่รู้อวิชาแล้วเข้าไปยึด ธรรมที่ว่าจะกลายเป็นกิเลส



ผู้ที่อ่านพระสูตร พิจารณาดีๆ

อ้างคำพูด:
สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ นี้เรียกว่า กาย
ภิกษุ ย่อมเสวยสุขนี้ ด้วยกายนี้ ด้วยเหตุนั้น จึงเรียกว่า เสวยสุข
ด้วยนามกาย


สัญญา- สังขาร- วิญญาณ- เป็นนามธรรม ไม่ใช่รูปธรรม (เป็นเจตสิก)

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 ต.ค. 2013, 09:54 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
govit2552 เขียน:
[๖๗๓] คำว่า เสวยสุขด้วยนามกาย มีอธิบายว่า สุข เป็นไฉน
ความสบายทางใจ ความสุขทางใจ ความเสวยอารมณ์ที่สบายเป็นสุขอัน
เกิดแต่เจโตสัมผัส กิริยาเสวยอารมณ์ที่สบายเป็นสุขอันเกิดแต่เจโตสัมผัส อันใด
นี้เรียกว่า สุข
กาย เป็นไฉน
สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ นี้เรียกว่า กาย
ภิกษุ ย่อมเสวยสุขนี้ ด้วยกายนี้ ด้วยเหตุนั้น จึงเรียกว่า เสวยสุข
ด้วยนามกาย
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=35&A=7871&Z=8548


อ่านธรรมต้องเข้าใจด้วยว่า ธรรมที่อ่านเป็น การการอธิบายธรรมที่เป็นวิชชาหรือธรรมที่เป็นอวิชา
ธรรมที่คุณโกวิทยกมากล่าว เป็นการยกเอาธรรมที่เป็นอวิชามาแสดง เพื่อให้รู้ความเป็นอวิชา
เพื่อจะได้เห็นเหตุหรือเห็นตัวอวิชา แล้วจะได้ละมันเสีย

สรุปให้ฟังคือ ธรรมที่กล่าวมามันไม่ใชกายแท้ แต่เป็นสิ่งที่ปรุงแต่งกาย
กายแท้ที่พระพุทธองคทรงตรัสก็คือธาตุสี่ ไม่มีขันธ์ ไม่มีสุขทุกข์ทางใจ

ความหมายของปัญญา.....คือรู้อวิชาและวิชชา การจะรู้วิชชาให้เกิดญาน
เราต้องรู้อวิชาด้วย
ดังนั้นต้องแยกแยะให้ดี ไม่ใช่รู้อวิชาแล้วเข้าไปยึด ธรรมที่ว่าจะกลายเป็นกิเลส



อ้างคำพูด:
ความหมายของปัญญา.....คือรู้อวิชาและวิชชา การจะรู้วิชชาให้เกิดญาน
เราต้องรู้อวิชาด้วย


พูัดเป็นงูกินหางเชีย ปัญญานั่นแหละวิชชา ญาณ ก็เป็นปัญญา อวิชชา แปลความไม่รู้ ตรงกับความรู้ คือ ปัญญาหรือญาณ ฮี่ๆ :b9:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 ต.ค. 2013, 10:39 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5977

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


รูป ที่เป็นสภาวะปรมัตถ์ หมายถึง สิ่งที่เกิดขึ้น ทั้งภายนอกและภายใน

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 ต.ค. 2013, 10:44 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5977

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


สิ่งที่เกิดขึ้น ทั้งภายนอกและภายใน ล้วนเป็นสภาวะธรรมทั้งสิ้น


ธรรมา-ธรรมเมา

ธรรมใดๆ ที่ กระทำแล้ว ไม่เป็นไปเพื่อ ความระงับ(ศิล)

ไม่เป็นเหตุให้เกิด ความสงบ(สมาธิ)

ไม่เป็นเหตุให้เกิดปัญญา(ไตรลักษณ์)

ไม่เป็นเหตุให้เกิด ความเบื่อหน่ายคลายกำหนัด

ไม่เป็นไป เพื่อกระทำให้ถึงที่สุดแห่งทุกข์(นิพพาน)

ธรรมที่เกิดขึ้นนั้นๆ ล้วนเป็น ธรรมเมา คือ ยังมัวเมาในกิเลส
กระทำเพื่อดับเหตุ ของการสร้างเหตุของการเกิด ยังไม่ได้



มีนิพพาน เป็นอารมณ์

ธรรมใดๆ ที่เป็นไปเพื่อ ความระงับ(กาย วาจา ใจ/ศิล)

เป็นเหตุให้เกิด ความสงบ(สมาธิ)

เป็นเหตุให้เกิดปัญญา(ไตรลักษณ์)

เป็นเหตุให้เกิด ความเบื่อหน่ายคลายกำหนัด

เป็นเหตุของการกระทำเพื่อ ดับเหตุแห่งทุกข์(การเกิด)


มรณานุสติ ได้แก่ การระลึกถึง ความตายเนืองๆ
หมายถึง การมีนิพพาน เป็นอารมณ์

เป็นเรื่องของ จิตใต้สำนึก และจิตเหนือสำนึก


จิตใต้สำนึก คือ เหตุจาก มโนกรรม วจีกรรม กายกรรม ที่มีอยู่

เป็นเหตุให้ ภพชาติของการเกิดทั้งปัจจุบันชาติ
และการเวียนว่าย ตายเกิดในวัฏฏสงสาร ยาวนาน


จิตใต้สำนึก เป็นเรื่อง การขาดสติ ไม่มีสติระลึกรู้ อยู่กับปัจจุบัน
เป็นเหตุให้ หลงไหลไปในอดีตบ้าง(เรื่องราวที่ผ่านมาแล้ว)
เป็นเหตุให้ หลงไหล ไปในอนาคตบ้าง(จินตนาการกับเรื่องที่ยังไม่เกิดขึ้น)

เป็นเหตุให้ ขณะจิตจุติ ขณะกำลังจะขาดใจตาย
ชั่วขณะนั้น นึกถึงอะไรอยู่ จิตย่อมปฏิสนธิ(เกิด) ในภพภูมินั้น



จิตเหนือสำนึก เป็นจิตที่ถูกฝึกมาในระดับหนึ่ง

เป็นเหตุให้ ภพชาติของการเกิดทั้งปัจจุบันชาติ
และการเวียนว่ายตายเกิด ในวัฏฏสงสาร สั้นลง

จิตเหนือสำนึก เป็นเรื่องของ ผลของการฝึกจิต มีสติ ระลึกรู้ อยู่กับปัจจุบัน
เป็นเหตุให้ ขณะจิตจุติ ขณะกำลังจะขาดใจตาย
ชั่วขณะนั้น มีสติรู้อยู่ ไม่มีความสะดุ้ง หวาดกลัวต่อความตาย
เป็นผู้ไม่มีความอาลัยในอัตตภาพร่างกายนี้ ย่อมชื่อว่า มีนิพพาน เป็นอารมณ์




จูฬสาโรปมสูตร
อุปมานักบวชกับผู้แสวงหาแก่นไม้


สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน อารามของท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี
ครั้งนั้น พราหมณ์ชื่อปิงคลโกจฉะ เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ครั้นแล้ว
ได้ปราศรัยกับพระผู้มีพระภาค ครั้นผ่านการปราศรัยพอให้ระลึกถึงกันไปแล้ว
จึงนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง แล้วได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคดังนี้ว่า

ข้าแต่ท่านพระโคดม สมณพราหมณ์พวกนี้ เป็นเจ้าหมู่ เจ้าคณะ เป็นคณาจารย์ มีชื่อเสียง มียศ เป็นเจ้าลัทธิชนเป็นอันมาก
สมมติว่าเป็นคนดี คือ ปูรณกัสสป มักขลิโคสาล อชิตเกสกัมพล ปกุธกัจจายนะสัญชัยเวลัฏฐบุตร นิครนถ์นาฏบุตร
พวกนั้นทั้งหมดรู้ยิ่งตามปฏิญญาของตนๆ หรือทุกคนไม่รู้ยิ่งเลย หรือว่าบางพวกรู้ยิ่ง บางพวกไม่รู้ยิ่ง.


พระผู้มีพระภาคตรัสว่า อย่าเลย พราหมณ์ ข้อที่ว่าพวกนั้นทั้งหมดรู้ยิ่งตามปฏิญญาของตนๆ
หรือทุกคนไม่รู้ยิ่งเลย หรือว่าบางพวกรู้ยิ่ง บางพวกไม่รู้ยิ่งนั้น จงงดไว้เถิด

เราจักแสดงธรรมแก่ท่าน ท่านจงฟังธรรมนั้น จงกระทำไว้ในใจให้ดี
เราจักกล่าว ปิงคลโกจฉพราหมณ์ ทูลรับพระดำรัสของพระผู้มีพระภาคแล้ว.




[๓๕๔] พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรพราหมณ์ เปรียบเหมือนบุรุษผู้มีความต้องการแก่นไม้ แสวงหาแก่นไม้เที่ยวเสาะหาแก่นไม้อยู่
เมื่อต้นไม้ใหญ่มีแก่นตั้งอยู่ ละเลยแก่น ละเลยกระพี้ ละเลยเปลือก ละเลยสะเก็ดไปเสีย ตัดเอากิ่งและใบถือไป สำคัญว่าแก่น

บุรุษผู้มีจักษุ เห็นเขาผู้นั้นแล้ว พึงกล่าวอย่างนี้ว่า
บุรุษผู้เจริญนี้ ไม่รู้จักแก่น ไม่รู้จักกระพี้ ไม่รู้จักเปลือก ไม่รู้จักสะเก็ด ไม่รู้จักกิ่งและใบ จริงอย่างนั้น
บุรุษผู้เจริญนี้ มีความต้องการแก่นไม้ แสวงหาแก่นไม้ เที่ยวเสาะหาแก่นไม้อยู่

เมื่อต้นไม้ใหญ่มีแก่นตั้งอยู่ละเลยแก่น ละเลยกระพี้ ละเลยเปลือก ละเลยสะเก็ดไปเสีย
ตัดเอากิ่งและใบถือไป สำคัญว่าแก่น และกิจที่จะพึงทำด้วยไม้แก่นของเขา จักไม่สำเร็จประโยชน์แก่เขา



หรืออีกอย่างหนึ่ง เปรียบเหมือนบุรุษผู้มีความต้องการแก่นไม้ แสวงหาแก่นไม้ เที่ยวเสาะหาแก่นไม้อยู่
เมื่อต้นไม้ใหญ่มีแก่นตั้งอยู่ ละเลยแก่น ละเลยกระพี้ ละเลยเปลือกไปเสีย ถากเอาสะเก็ดถือไป สำคัญว่าแก่น.

บุรุษผู้มีจักษุ เห็นเขาผู้นั้นแล้ว พึงกล่าวอย่างนี้ว่า
บุรุษผู้เจริญนี้ ไม่รู้จักแก่น ไม่รู้จักกระพี้ ไม่รู้จักเปลือก ไม่รู้จักสะเก็ด ไม่รู้จักกิ่งและใบ จริงอย่างนั้น
บุรุษผู้เจริญนี้ มีความต้องการแก่นไม้ แสวงหาแก่นไม้ เที่ยวเสาะหาแก่นไม้อยู่

เมื่อต้นไม้ใหญ่มีแก่นตั้งอยู่ ละเลยแก่น ละเลยกระพี้ ละเลยเปลือกไปเสีย
ถากเอาสะเก็ดถือไป สำคัญว่าแก่น และกิจที่จะพึงทำด้วยไม้แก่นของเขาจักไม่สำเร็จประโยชน์แก่เขา.


หรืออีกอย่างหนึ่ง เปรียบเหมือนบุรุษผู้มีความต้องการแก่นไม้ แสวงหาแก่นไม้ เที่ยวเสาะหาแก่นไม้อยู่
เมื่อต้นไม้ใหญ่มีแก่นตั้งอยู่ ละเลยแก่น ละเลยกระพี้ไปเสีย ถากเอาเปลือกถือไป สำคัญว่าแก่น.

บุรุษผู้มีจักษุ เห็นเขาผู้นั้นแล้ว พึงกล่าวอย่างนี้ว่า
บุรุษผู้เจริญนี้ ไม่รู้จักแก่น ไม่รู้จักกระพี้ ไม่รู้จักเปลือก ไม่รู้จักสะเก็ด ไม่รู้จักกิ่งและใบ จริงอย่างนั้น

บุรุษผู้เจริญนี้ มีความต้องการแก่นไม้ แสวงหาแก่นไม้ เที่ยวเสาะหาแก่นไม้อยู่
เมื่อต้นไม้ใหญ่มีแก่นตั้งอยู่ ละเลยแก่น ละเลยกระพี้ไปเสีย ถากเอาเปลือกถือไป สำคัญว่าแก่น
และกิจที่จะพึงทำด้วยไม้แก่นของเขา จักไม่สำเร็จประโยชน์แก่เขา.


หรืออีกอย่างหนึ่ง เปรียบเหมือนบุรุษผู้มีความต้องการแก่นไม้ แสวงหาแก่นไม้ เที่ยวเสาะหาแก่นไม้อยู่
เมื่อต้นไม้ใหญ่มีแก่นตั้งอยู่ ละเลยแก่นไปเสีย ถากเอากระพี้ถือไป สำคัญว่าแก่น.

บุรุษผู้มีจักษุ เห็นเขาผู้นั้นแล้ว พึงกล่าวอย่างนี้ว่า
บุรุษผู้เจริญนี้ ไม่รู้จักแก่น ไม่รู้จักกระพี้ ไม่รู้จักเปลือก ไม่รู้จักสะเก็ด ไม่รู้จักกิ่งและใบ จริงอย่างนั้น

บุรุษผู้เจริญนี้ มีความต้องการแก่นไม้ แสวงหาแก่นไม้ เที่ยวเสาะหาแก่นไม้อยู่
เมื่อต้นไม้ใหญ่มีแก่นตั้งอยู่ ละเลยแก่นไปเสีย ถากเอากระพี้ถือไป สำคัญว่าแก่น
และกิจที่จะพึงทำด้วยไม้แก่นของเขา จักไม่สำเร็จประโยชน์แก่เขา.

หรืออีกอย่างหนึ่ง เปรียบเหมือนบุรุษผู้มีความต้องการแก่นไม้ แสวงหาแก่นไม้ เที่ยวเสาะหาแก่นไม้อยู่
เมื่อต้นไม้ใหญ่มีแก่นตั้งอยู่ ตัดเอาแก่นนั้นแหละถือไป รู้อยู่ว่าแก่น.

บุรุษผู้มีจักษุ เห็นเขาผู้นั้นแล้ว พึงกล่าวอย่างนี้ว่า
บุรุษผู้เจริญนี้ รู้จักแก่น รู้จักกระพี้ รู้จักเปลือก รู้จักสะเก็ด รู้จักกิ่งและใบ จริงอย่างนั้น

บุรุษผู้เจริญนี้มีความต้องการแก่นไม้ แสวงหาแก่นไม้ เที่ยวเสาะหาแก่นไม้อยู่
เมื่อต้นไม้ใหญ่มีแก่นตั้งอยู่ ตัดเอาแก่นนั่นแหละถือไป รู้อยู่ว่าแก่น
และกิจที่จะพึงทำด้วยไม้แก่นของเขาจักสำเร็จประโยชน์แก่เขา ฉันใด.


[๓๕๕] ดูกรพราหมณ์ ฉันนั้นเหมือนกันแล กุลบุตรบางคนในโลกนี้ มีศรัทธาออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต ด้วยคิดว่า
เราเป็นผู้อันชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส ท่วมทับแล้ว
ถูกความทุกข์ท่วมทับแล้ว มีความทุกข์เป็นเบื้องหน้า
ไฉนหนอ ความกระทำที่สุดแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ จะพึงปรากฏ.
เขาบวชอย่างนั้นแล้ว ยังลาภสักการะและความสรรเสริญให้บังเกิดขึ้น.

เขามีความยินดี มีความดำริเต็มเปี่ยม
ด้วยลาภสักการะและความสรรเสริญนั้น.

เพราะลาภสักการะและความสรรเสริญอันนั้น เขาย่อมยกตนข่มผู้อื่นว่า
เรามีลาภสักการะและความสรรเสริญ ส่วนภิกษุอื่นนอกนี้ ไม่ปรากฏ [หรือมีคนรู้จักน้อย] มีศักดาน้อย.

อนึ่ง เขาไม่ยังฉันทะให้เกิด ไม่พยายาม เพื่อทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่าอื่นอันยิ่งกว่า
และประณีตกว่า ลาภสักการะและความสรรเสริญนั้น
ทั้งเป็นผู้มีความประพฤติย่อหย่อน ท้อถอย

เปรียบเหมือนบุรุษคนนั้น ที่มีความต้องการแก่นไม้ แสวงหาแก่นไม้ เที่ยวเสาะหาแก่นไม้อยู่
เมื่อต้นไม้ใหญ่มีแก่นตั้งอยู่ ละเลยแก่น ละเลยกระพี้ ละเลยเปลือก ละเลยสะเก็ดไปเสีย
ตัดเอากิ่งและใบถือไป สำคัญว่าแก่น

และกิจที่จะพึงทำด้วยไม้แก่นของเขา จักไม่สำเร็จประโยชน์แก่เขา ฉันใด.
ดูกรพราหมณ์ เราเรียกบุคคลนี้ว่า มีอุปมาฉันนั้น


[๓๕๖] ดูกรพราหมณ์ บุคคลบางคนในโลกนี้ มีศรัทธา ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต ด้วยคิดว่า
เราเป็นผู้อันชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาสท่วมทับแล้ว
ถูกความทุกข์ท่วมทับแล้ว มีความทุกข์เป็นเบื้องหน้า
ไฉนหนอ ความกระทำที่สุดแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ จะพึงปรากฏ.
เขาบวชอย่างนี้แล้ว ยังลาภสักการะและความสรรเสริญให้บังเกิดขึ้น.

เขาไม่มีความยินดี มีความดำริยังไม่เต็มเปี่ยม
ด้วยลาภสักการะและความสรรเสริญนั้น.

เขาไม่ยกตน ไม่ข่มผู้อื่น
เพราะลาภสักการะและความสรรเสริญอันนั้น.

เขายังฉันทะให้เกิด พยายาม เพื่อทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่าอื่นอันยิ่งกว่า
และประณีตกว่า ลาภสักการะและความสรรเสริญ
ทั้งเป็นผู้มีความประพฤติไม่ย่อหย่อน ไม่ท้อถอย.

เขาย่อมยังความถึงพร้อมแห่งศีลให้สำเร็จ.
เขามีความยินดี มีความดำริเต็มเปี่ยม แล้วด้วยความถึงพร้อมแห่งศีลนั้น.

เพราะความถึงพร้อมแห่งศีลอันนั้น เขาย่อมยกตนข่มผู้อื่นว่า
เรามีศีล มีกัลยาณธรรม ส่วนภิกษุอื่นนอกนี้ เป็นผู้ทุศีล มีบาปธรรม.

อนึ่ง เขาไม่ยังฉันทะให้เกิด ไม่พยายาม เพื่อทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่าอื่นอันยิ่งกว่า
และประณีตกว่าความถึงพร้อมแห่งศีลนั้น
ทั้งเป็นผู้มีความประพฤติย่อหย่อน ท้อถอย.

เปรียบเหมือนบุรุษคนนั้น ที่มีความต้องการแก่นไม้ แสวงหาแก่นไม้ เที่ยวเสาะหาแก่นไม้อยู่
เมื่อต้นไม้ใหญ่มีแก่นตั้งอยู่ ละเลยแก่น ละเลยกระพี้ ละเลยเปลือก
ไปเสีย ถากเอาสะเก็ดถือไป สำคัญว่าแก่น

และกิจที่จะพึงทำด้วยไม้แก่นของเขา จักไม่สำเร็จประโยชน์แก่เขา ฉันใด.
ดูกรพราหมณ์ เราเรียกบุคคลนี้ว่า มีอุปมาฉันนั้น.



[๓๕๗] ดูกรพราหมณ์ บุคคลบางคนในโลกนี้ มีศรัทธา ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต ด้วยคิดว่า
เราเป็นผู้อันชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาสท่วมทับแล้ว
ถูกความทุกข์ท่วมทับแล้ว มีความทุกข์เป็นเบื้องหน้า
ไฉนหนอ ความกระทำที่สุด แห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ จะพึงปรากฏ.

เขาบวชอย่างนั้นแล้ว ยังลาภสักการะและความสรรเสริญให้บังเกิดขึ้น.
เขาไม่มีความยินดี มีความดำริยังไม่เต็มเปี่ยม ด้วยลาภสักการะและความสรรเสริญนั้น
เขาไม่ยกตน ไม่ข่มผู้อื่น เพราะลาภสักการะและความสรรเสริญอันนั้น.

อนึ่งเขายังฉันทะให้เกิด พยายาม เพื่อทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่าอื่นอันยิ่งกว่า
และประณีตกว่า ลาภสักการะและความสรรเสริญนั้น
ทั้งเป็นผู้มีความประพฤติไม่ย่อหย่อน ไม่ท้อถอย.

เขาย่อมยังความถึงพร้อมแห่งศีลให้สำเร็จ.
เขามีความยินดีด้วยความถึงพร้อมแห่งศีลนั้น แต่มีความดำริยังไม่เต็มเปี่ยม.
เขาไม่ยกตน ไม่ข่มผู้อื่น เพราะความถึงพร้อมแห่งศีลอันนั้น.


อนึ่ง เขายังฉันทะให้เกิด พยายาม เพื่อทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่าอื่นอันยิ่งกว่า
และประณีตกว่า ความถึงพร้อมแห่งศีลนั้น
ทั้งเป็นผู้มีความประพฤติไม่ย่อหย่อน ไม่ท้อถอย.
เขาย่อมยังความถึงพร้อมแห่งสมาธิให้สำเร็จ.

เขามีความยินดี มีความดำริเต็มเปี่ยม ด้วยความถึงพร้อมแห่งสมาธินั้น
เพราะความถึงพร้อมแห่งสมาธิอันนั้น เขาย่อมยกตนข่มผู้อื่นว่า

เรามีจิตตั้งมั่น มีจิตมีอารมณ์เป็นอันเดียว ส่วนภิกษุอื่นนอกนี้ มีจิตไม่ตั้งมั่น มีจิตหมุนไปผิดแล้ว.

เขาไม่ยังฉันทะให้เกิด ไม่พยายาม เพื่อทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่าอื่นอันยิ่งกว่า
และประณีตกว่าความถึงพร้อมแห่งสมาธินั้น
ทั้งเป็นผู้ประพฤติย่อหย่อน ท้อถอย.

เปรียบเหมือนบุรุษนั้นที่มีความต้องการแก่นไม้ แสวงหาแก่นไม้ เที่ยวเสาะหาแก่นไม้อยู่
เมื่อต้นไม้ใหญ่มีแก่นตั้งอยู่ ละเลยแก่น ละเลยกระพี้ไปเสีย
ถากเอาเปลือกถือไป สำคัญว่าแก่น

และกิจที่จะพึงทำด้วยไม้แก่นของเขา จักไม่สำเร็จประโยชน์แก่เขาฉันใด.
ดูกรพราหมณ์ เราเรียกบุคคลนี้ว่า มีอุปมาฉันนั้น.



[๓๕๘] ดูกรพราหมณ์ บุคคลบางคนในโลกนี้ มีศรัทธา ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต ด้วยคิดว่า
เราเป็นผู้อันชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์โทมนัส อุปายาสท่วมทับแล้ว
ถูกความทุกข์ท่วมทับแล้ว มีความทุกข์เป็นเบื้องหน้า
ไฉนหนอ ความกระทำที่สุดแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ จะพึงปรากฏ.

เขาบวชอย่างนั้นแล้ว ยังลาภสักการะและความสรรเสริญให้บังเกิดขึ้น
เขาไม่มีความยินดี มีความดำริยังไม่เต็มเปี่ยม ด้วยลาภสักการะและความสรรเสริญนั้น.
เขาไม่ยกตน ไม่ข่มผู้อื่น เพราะลาภสักการะและความสรรเสริญนั้น.

อนึ่ง เขายังฉันทะให้เกิด พยายาม เพื่อทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่าอื่นอันยิ่งกว่า
และประณีตกว่า ลาภสักการะและความสรรเสริญนั้น
ทั้งเป็นผู้มีความประพฤติไม่ย่อหย่อน ไม่ท้อถอย.
เขาย่อมยังความถึงพร้อมแห่งศีลให้สำเร็จ.

เขามีความยินดีด้วยความถึงพร้อมแห่งศีลนั้น
แต่มีความดำริยังไม่เต็มเปี่ยม.

เขาไม่ยกตน ไม่ข่มผู้อื่น
เพราะความถึงพร้อมแห่งศีลอันนั้น.

อนึ่ง เขายังฉันทะให้เกิดพยายาม เพื่อทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่าอื่นอันยิ่งกว่า
และประณีตกว่า ความถึงพร้อมแห่งศีลนั้น
ทั้งเป็นผู้มีความประพฤติไม่ย่อหย่อน ไม่ท้อถอย

เขาย่อมยังความถึงพร้อมแห่งสมาธิให้สำเร็จ.
เขามีความยินดีด้วยความถึงพร้อมแห่งสมาธินั้น แต่มีความดำริยังไม่เต็มเปี่ยม.
เขาไม่ยกตน ไม่ข่มผู้อื่น เพราะความถึงพร้อมแห่งสมาธิอันนั้น.

อนึ่ง เขายังฉันทะให้เกิด พยายาม เพื่อทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่าอื่นอันยิ่งกว่า
และประณีตกว่า ความถึงพร้อมแห่งสมาธินั้น
ทั้งเป็นผู้มีความประพฤติไม่ย่อหย่อน ไม่ท้อถอย.
เขาย่อมยังญาณทัสสนะให้สำเร็จ.

เขามีความยินดี มีความดำริเต็มเปี่ยม
ด้วยญาณทัสสนะอันนั้น.

เพราะญาณทัสสนะนั้น เขาย่อมยกตนข่มผู้อื่นว่า
เรารู้ เราเห็น ส่วนภิกษุอื่นนอกนี้ ไม่รู้ไม่เห็นอยู่.

อนึ่ง เขาไม่ยังฉันทะให้เกิด ไม่พยายาม เพื่อทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่าอื่นอันยิ่งกว่า
และประณีตกว่าญาณทัสสนะนั้น
ทั้งเป็นผู้มีความประพฤติย่อหย่อน ท้อถอย.

เปรียบเหมือนบุรุษคนนั้น ที่มีความต้องการแก่นไม้ แสวงหาแก่นไม้ เที่ยวเสาะหาแก่นอยู่
เมื่อต้นไม้ใหญ่มีแก่นตั้งอยู่ ละเลยแก่นไปเสีย ถากเอากระพี้ถือไป สำคัญว่าแก่น

และกิจที่จะพึงทำด้วยไม้แก่นของเขา จักไม่สำเร็จประโยชน์แก่เขา ฉันใด.
ดูกรพราหมณ์ เราเรียกบุคคลนี้ว่า มีอุปมาฉันนั้น.


[๓๕๙] ดูกรพราหมณ์ บุคคลบางคนในโลกนี้ มีศรัทธา ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตด้วยคิดว่า
เราเป็นผู้อันชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส ท่วมทับแล้ว
ถูกความทุกข์ท่วมทับแล้ว มีความทุกข์เป็นเบื้องหน้า
ไฉนหนอ ความกระทำที่สุดแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ จะพึงปรากฏ.
เขาบวชอย่างนั้นแล้ว ยังลาภสักการะและความสรรเสริญให้เกิดขึ้น.

เขาไม่มีความยินดี มีความดำริยังไม่เต็มเปี่ยม ด้วยลาภสักการะและความสรรเสริญนั้น.
เขาไม่ยกตน ไม่ข่มผู้อื่น เพราะลาภสักการะและความสรรเสริญอันนั้น.

อนึ่ง เขายังฉันทะให้เกิด พยายาม เพื่อทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่าอื่นอันยิ่งกว่า
และประณีตกว่า ลาภสักการะและความสรรเสริญนั้น
ทั้งเป็นผู้มีความประพฤติไม่ย่อหย่อน ไม่ท้อถอย.
เขาย่อมยังความถึงพร้อม แห่งศีลให้สำเร็จ.

เขามีความยินดีด้วยความถึงพร้อมแห่งศีลนั้น แต่มีความดำริยังไม่เต็มเปี่ยม
เขาไม่ยกตน ไม่ข่มผู้อื่น เพราะความถึงพร้อมแห่งศีลอันนั้น.

อนึ่ง เขายังฉันทะให้เกิดพยายาม เพื่อทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่าอื่นอันยิ่งกว่า
และประณีตกว่า ความถึงพร้อมแห่งศีลนั้น
ทั้งเป็นผู้มีความประพฤติไม่ย่อหย่อน ไม่ท้อถอย.
เขาย่อมยังความถึงพร้อมแห่งสมาธิให้สำเร็จ.

เขามีความยินดีด้วยความถึงพร้อมแห่งสมาธินั้น แต่มีความดำริยังไม่เต็มเปี่ยม
เขาไม่ยกตน ไม่ข่มผู้อื่น เพราะความถึงพร้อมแห่งสมาธิอันนั้น.

อนึ่ง เขายังฉันทะให้เกิดพยายาม เพื่อทำให้แจ้งธรรมเหล่าอื่นอันยิ่งกว่า
และประณีตกว่า ความถึงพร้อมแห่งสมาธินั้น
ทั้งเป็นผู้มีความประพฤติไม่ย่อหย่อน ไม่ท้อถอย
เขาย่อมยังญาณทัสสนะให้สำเร็จ.

เขามีความยินดีด้วยญาณทัสสนะนั้น แต่มีความดำริยังไม่เต็มเปี่ยม.
เขาไม่ยกตนไม่ข่มผู้อื่น เพราะญาณทัสสนะอันนั้น.

อนึ่ง เขายังฉันทะให้เกิด พยายาม เพื่อทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่าอื่นยิ่งกว่า
และประณีตกว่า ญาณทัสสนะนั้น ทั้งเป็นผู้มีความประพฤติไม่ย่อหย่อน ไม่ท้อถอย.

ดูกรพราหมณ์ ก็ธรรมที่ยิ่งกว่าและประณีตกว่า ญาณทัสสนะเป็นไฉน?

ภิกษุในพระศาสนานี้ สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม
บรรลุปฐมฌาน มีวิตกมีวิจาร มีปีติและสุขเกิดแต่วิเวกอยู่.
แม้ธรรมข้อนี้ ก็ยิ่งกว่าและประณีตกว่าญาณทัสสนะ


อีกข้อหนึ่ง ภิกษุบรรลุทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่งจิตในภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น
เพราะวิตกวิจารสงบไป ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวกอยู่. แม้ธรรมข้อนี้ ก็
ยิ่งกว่าและประณีตกว่าญาณทัสสนะ.
อีกข้อหนึ่ง ภิกษุมีอุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย เพราะปีติสิ้นไป
บรรลุตติยฌานที่พระอริยะทั้งหลายสรรเสริญว่า ผู้ได้ฌานนี้ เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติอยู่เป็นสุข.
แม้ธรรมข้อนี้ ก็ยิ่งกว่าและประณีตกว่าญาณทัสสนะ.
อีกข้อหนึ่ง ภิกษุบรรลุจตุตถฌานไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข เพราะละสุขละทุกข์และดับ
โสมนัสก่อนๆ ได้ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์อยู่. แม้ธรรมข้อนี้ ก็ยิ่งกว่าและประณีตกว่า
ญาณทัสสนะ.
อีกข้อหนึ่ง เพราะล่วงเสียซึ่งรูปสัญญาโดยประการทั้งปวง เพราะปฏิฆสัญญาดับไป
เพราะไม่ใส่ใจซึ่งนานัตตสัญญา ภิกษุย่อมบรรลุอากาสานัญจายตนฌาน ด้วยพิจารณาว่า
อากาศหาที่สุดมิได้. แม้ธรรมข้อนี้ ก็ยิ่งกว่าและประณีตกว่าญาณทัสสนะ.
อีกข้อหนึ่ง เพราะล่วงเสียซึ่งอากาสานัญจายตนฌานโดยประการทั้งปวง ภิกษุย่อมบรรลุ
วิญญาณัญจายตนฌาน ด้วยพิจารณาว่า วิญญาณหาที่สุดมิได้. แม้ธรรมข้อนี้ ก็ยิ่งกว่าและ
ประณีตกว่าญาณทัสสนะ.
อีกข้อหนึ่ง เพราะล่วงเสียซึ่งวิญญาณัญจายตนฌานโดยประการทั้งปวง ภิกษุย่อมบรรลุ
อากิญจัญญายตนฌาน ด้วยพิจารณาว่า น้อยหนึ่งไม่มี. แม้ธรรมข้อนี้ ก็ยิ่งกว่าและประณีตกว่า
ญาณทัสสนะ.
อีกข้อหนึ่ง เพราะล่วงเสียซึ่งอากิญจัญญายตนฌานโดยประการทั้งปวง ภิกษุย่อม
บรรลุเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน. แม้ธรรมข้อนี้ ก็ยิ่งกว่าและประณีตกว่าญาณทัสสนะ.
อีกข้อหนึ่ง เพราะล่วงเสียซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนฌานโดยประการทั้งปวง ภิกษุย่อม
บรรลุสัญญาเวทยิตนิโรธ. เพราะเห็นด้วยปัญญาของเธอ อาสวะทั้งหลายย่อมสิ้นไป. แม้ธรรมข้อนี้
ก็ยิ่งกว่าและประณีตกว่าญาณทัสสนะ. ดูกรพราหมณ์ ธรรมเหล่านี้แล ที่ยิ่งกว่าและประณีตกว่า
ญาณทัสสนะ.
เปรียบเหมือนบุรุษคนนั้นที่มีความต้องการแก่น แสวงหาแก่น เที่ยวเสาะหาแก่นอยู่
เมื่อต้นไม้ใหญ่มีแก่นตั้งอยู่ ตัดเอาแก่นนั้นแหละถือไป รู้อยู่ว่าแก่น และกิจที่จะพึงทำด้วยไม้
แก่นของเขา จักสำเร็จประโยชน์แก่เขา ฉันใด. ดูกรพราหมณ์ เราเรียกบุคคลนี้ว่า มีอุปมา
ฉันนั้น


[๓๖๐] ดูกรพราหมณ์ ดังพรรณนามาฉะนี้ พรหมจรรย์จึง
มิใช่มีลาภสักการะและความสรรเสริญเป็นอานิสงส์
มิใช่มีความถึงพร้อมแห่งศีลเป็นอานิสงส์
มิใช่มีความถึงพร้อมสมาธิเป็นอานิสงส์
มิใช่มีญาณทัสสนะเป็นอานิสงส์

พรหมจรรย์นี้ มีเจโตวิมุติอันไม่กำเริบ
เป็นประโยชน์ เป็นแก่น เป็นที่สุด.

เมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสอย่างนี้แล้ว ปิงคลโกจฉพราหมณ์ ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคดังนี้ว่า
ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ภาษิตของพระองค์แจ่มแจ้งนัก

ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญภาษิตของพระองค์แจ่มแจ้งนัก
เปรียบเหมือนบุคคลหงายของที่คว่ำ เปิดของที่ปิด บอกทางแก่คนหลงทาง
หรือตามประทีปในที่มืด ด้วยประสงค์ว่า ผู้มีจักษุจักเห็นรูปได้ ฉันใด
ธรรมที่พระองค์ทรงประกาศแล้วโดยอเนกปริยาย ก็ฉันนั้นเหมือนกัน.

ข้าพระองค์นี้ ขอถึงพระองค์กับพระธรรมและภิกษุสงฆ์ว่า เป็นสรณะ

ขอพระองค์จงทรงจำข้าพระองค์ว่า
เป็นอุบาสกผู้ถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะตลอดชีวิต จำเดิมแต่วันนี้เป็นต้นไป.


http://www.84000.org/tipitaka/pitaka2/v ... 505&Z=6695

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 ต.ค. 2013, 10:54 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5977

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


[๔๖๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน
รูปเที่ยงหรือไม่เที่ยง?
ภิ. ไม่เที่ยง พระเจ้าข้า.
พ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า?
ภิ. เป็นทุกข์ พระเจ้าข้า.
พ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา
ควรหรือหนอที่จะตามเห็นสิ่งนั้นว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตัวตนของเรา?
ภิ. ไม่ควรเห็นอย่างนั้น พระเจ้าข้า.
พ. เวทนา ฯลฯ สัญญา ฯลฯ สังขาร ฯลฯ วิญญาณเที่ยงหรือไม่เที่ยง?
ภิ. ไม่เที่ยง พระเจ้าข้า.
พ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า?
ภิ. เป็นทุกข์ พระเจ้าข้า.
พ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา
ควรหรือหนอที่จะตามเห็นสิ่งนั้นว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตัวตนของเรา?
ภิ. ไม่ควรเห็นอย่างนั้น พระเจ้าข้า.

[๔๖๕] พ. เพราะเหตุนั้นแหละ ภิกษุทั้งหลาย รูปอย่างใดอย่างหนึ่ง
ทั้งที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน
เป็นภายในหรือภายนอก
หยาบหรือละเอียด เลวหรือประณีต
อยู่ในที่ไกลหรือในที่ใกล้

รูปทั้งหมดนั้น เธอทั้งหลายพึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า
นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่เป็นเรา นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา.

เวทนาอย่างใดอย่างหนึ่ง ฯลฯ สัญญาอย่างใดอย่างหนึ่ง ฯลฯ
สังขารอย่างใดอย่างหนึ่ง ฯลฯ วิญญาณอย่างใดอย่างหนึ่ง

ทั้งที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน
เป็นภายในหรือภายนอก
หยาบหรือละเอียด เลวหรือประณีต
อยู่ในที่ไกลหรือในที่ใกล้

วิญญาณทั้งหมดนั้น เธอทั้งหลายพึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า
นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่เป็นเรา นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา.

ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว เห็นอยู่อย่างนี้ ฯลฯ
กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี ฯลฯ
(อีก ๒๔ สูตรเหมือนในวรรคที่ ๒)

http://www.84000.org/tipitaka/attha/v.p ... 557&Z=5632

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 ต.ค. 2013, 12:05 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5013


 ข้อมูลส่วนตัว


:b41: สิ่งใดที่ควรแก้ไข ก็ควรแก้ไข :b41:

:b8: :b8: :b8:


แก้ไขล่าสุดโดย eragon_joe เมื่อ 27 ต.ค. 2013, 12:33, แก้ไขแล้ว 2 ครั้ง.

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 ต.ค. 2013, 12:12 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5977

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


ถ้าตรงไหน เป็นข้อคิดเห็นของตน

เวลานำพระสูตรมาวางไว้
จะใช้คำว่า หมายเหตุ ต่อท้าย ในการอธิบายพระสูตรนั้นๆ ตามความเห็นของตน


ส่วนตรงไหน ที่เป็นพระสูตรโดยตรง จะมีลิงค์แนบ และมีหัวข้อวางไว้แต่แรก


ตรงไหน ที่เป็นความเห็นของตน จะไม่มีการแนบลิงค์ เพราะไม่ได้นำมาจากที่อื่นมาโพส


ส่วนใครอ่านแล้ว จะเกิดความรู้สึกนึกคิดอย่างไร
ล้วนเกิดจากเหตุปัจจัยที่มีต่อกัน





walaiporn เขียน:
สิ่งที่เกิดขึ้น ทั้งภายนอกและภายใน ล้วนเป็นสภาวะธรรมทั้งสิ้น


ธรรมา-ธรรมเมา

ธรรมใดๆ ที่ กระทำแล้ว ไม่เป็นไปเพื่อ ความระงับ(ศิล)

ไม่เป็นเหตุให้เกิด ความสงบ(สมาธิ)

ไม่เป็นเหตุให้เกิดปัญญา(ไตรลักษณ์)

ไม่เป็นเหตุให้เกิด ความเบื่อหน่ายคลายกำหนัด

ไม่เป็นไป เพื่อกระทำให้ถึงที่สุดแห่งทุกข์(นิพพาน)

ธรรมที่เกิดขึ้นนั้นๆ ล้วนเป็น ธรรมเมา คือ ยังมัวเมาในกิเลส
กระทำเพื่อดับเหตุ ของการสร้างเหตุของการเกิด ยังไม่ได้



มีนิพพาน เป็นอารมณ์

ธรรมใดๆ ที่เป็นไปเพื่อ ความระงับ(กาย วาจา ใจ/ศิล)

เป็นเหตุให้เกิด ความสงบ(สมาธิ)

เป็นเหตุให้เกิดปัญญา(ไตรลักษณ์)

เป็นเหตุให้เกิด ความเบื่อหน่ายคลายกำหนัด

เป็นเหตุของการกระทำเพื่อ ดับเหตุแห่งทุกข์(การเกิด)


มรณานุสติ ได้แก่ การระลึกถึง ความตายเนืองๆ
หมายถึง การมีนิพพาน เป็นอารมณ์

เป็นเรื่องของ จิตใต้สำนึก และจิตเหนือสำนึก


จิตใต้สำนึก คือ เหตุจาก มโนกรรม วจีกรรม กายกรรม ที่มีอยู่

เป็นเหตุให้ ภพชาติของการเกิดทั้งปัจจุบันชาติ
และการเวียนว่าย ตายเกิดในวัฏฏสงสาร ยาวนาน


จิตใต้สำนึก เป็นเรื่อง การขาดสติ ไม่มีสติระลึกรู้ อยู่กับปัจจุบัน
เป็นเหตุให้ หลงไหลไปในอดีตบ้าง(เรื่องราวที่ผ่านมาแล้ว)
เป็นเหตุให้ หลงไหล ไปในอนาคตบ้าง(จินตนาการกับเรื่องที่ยังไม่เกิดขึ้น)

เป็นเหตุให้ ขณะจิตจุติ ขณะกำลังจะขาดใจตาย
ชั่วขณะนั้น นึกถึงอะไรอยู่ จิตย่อมปฏิสนธิ(เกิด) ในภพภูมินั้น



จิตเหนือสำนึก เป็นจิตที่ถูกฝึกมาในระดับหนึ่ง

เป็นเหตุให้ ภพชาติของการเกิดทั้งปัจจุบันชาติ
และการเวียนว่ายตายเกิด ในวัฏฏสงสาร สั้นลง

จิตเหนือสำนึก เป็นเรื่องของ ผลของการฝึกจิต มีสติ ระลึกรู้ อยู่กับปัจจุบัน
เป็นเหตุให้ ขณะจิตจุติ ขณะกำลังจะขาดใจตาย
ชั่วขณะนั้น มีสติรู้อยู่ ไม่มีความสะดุ้ง หวาดกลัวต่อความตาย
เป็นผู้ไม่มีความอาลัยในอัตตภาพร่างกายนี้ ย่อมชื่อว่า มีนิพพาน เป็นอารมณ์




จูฬสาโรปมสูตร
อุปมานักบวชกับผู้แสวงหาแก่นไม้



สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน อารามของท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี
ครั้งนั้น พราหมณ์ชื่อปิงคลโกจฉะ เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ครั้นแล้ว
ได้ปราศรัยกับพระผู้มีพระภาค ครั้นผ่านการปราศรัยพอให้ระลึกถึงกันไปแล้ว
จึงนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง แล้วได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคดังนี้ว่า

ข้าแต่ท่านพระโคดม สมณพราหมณ์พวกนี้ เป็นเจ้าหมู่ เจ้าคณะ เป็นคณาจารย์ มีชื่อเสียง มียศ เป็นเจ้าลัทธิชนเป็นอันมาก
สมมติว่าเป็นคนดี คือ ปูรณกัสสป มักขลิโคสาล อชิตเกสกัมพล ปกุธกัจจายนะสัญชัยเวลัฏฐบุตร นิครนถ์นาฏบุตร
พวกนั้นทั้งหมดรู้ยิ่งตามปฏิญญาของตนๆ หรือทุกคนไม่รู้ยิ่งเลย หรือว่าบางพวกรู้ยิ่ง บางพวกไม่รู้ยิ่ง.


พระผู้มีพระภาคตรัสว่า อย่าเลย พราหมณ์ ข้อที่ว่าพวกนั้นทั้งหมดรู้ยิ่งตามปฏิญญาของตนๆ
หรือทุกคนไม่รู้ยิ่งเลย หรือว่าบางพวกรู้ยิ่ง บางพวกไม่รู้ยิ่งนั้น จงงดไว้เถิด

เราจักแสดงธรรมแก่ท่าน ท่านจงฟังธรรมนั้น จงกระทำไว้ในใจให้ดี
เราจักกล่าว ปิงคลโกจฉพราหมณ์ ทูลรับพระดำรัสของพระผู้มีพระภาคแล้ว.




[๓๕๔] พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรพราหมณ์ เปรียบเหมือนบุรุษผู้มีความต้องการแก่นไม้ แสวงหาแก่นไม้เที่ยวเสาะหาแก่นไม้อยู่
เมื่อต้นไม้ใหญ่มีแก่นตั้งอยู่ ละเลยแก่น ละเลยกระพี้ ละเลยเปลือก ละเลยสะเก็ดไปเสีย ตัดเอากิ่งและใบถือไป สำคัญว่าแก่น

บุรุษผู้มีจักษุ เห็นเขาผู้นั้นแล้ว พึงกล่าวอย่างนี้ว่า
บุรุษผู้เจริญนี้ ไม่รู้จักแก่น ไม่รู้จักกระพี้ ไม่รู้จักเปลือก ไม่รู้จักสะเก็ด ไม่รู้จักกิ่งและใบ จริงอย่างนั้น
บุรุษผู้เจริญนี้ มีความต้องการแก่นไม้ แสวงหาแก่นไม้ เที่ยวเสาะหาแก่นไม้อยู่

เมื่อต้นไม้ใหญ่มีแก่นตั้งอยู่ละเลยแก่น ละเลยกระพี้ ละเลยเปลือก ละเลยสะเก็ดไปเสีย
ตัดเอากิ่งและใบถือไป สำคัญว่าแก่น และกิจที่จะพึงทำด้วยไม้แก่นของเขา จักไม่สำเร็จประโยชน์แก่เขา



หรืออีกอย่างหนึ่ง เปรียบเหมือนบุรุษผู้มีความต้องการแก่นไม้ แสวงหาแก่นไม้ เที่ยวเสาะหาแก่นไม้อยู่
เมื่อต้นไม้ใหญ่มีแก่นตั้งอยู่ ละเลยแก่น ละเลยกระพี้ ละเลยเปลือกไปเสีย ถากเอาสะเก็ดถือไป สำคัญว่าแก่น.

บุรุษผู้มีจักษุ เห็นเขาผู้นั้นแล้ว พึงกล่าวอย่างนี้ว่า
บุรุษผู้เจริญนี้ ไม่รู้จักแก่น ไม่รู้จักกระพี้ ไม่รู้จักเปลือก ไม่รู้จักสะเก็ด ไม่รู้จักกิ่งและใบ จริงอย่างนั้น
บุรุษผู้เจริญนี้ มีความต้องการแก่นไม้ แสวงหาแก่นไม้ เที่ยวเสาะหาแก่นไม้อยู่

เมื่อต้นไม้ใหญ่มีแก่นตั้งอยู่ ละเลยแก่น ละเลยกระพี้ ละเลยเปลือกไปเสีย
ถากเอาสะเก็ดถือไป สำคัญว่าแก่น และกิจที่จะพึงทำด้วยไม้แก่นของเขาจักไม่สำเร็จประโยชน์แก่เขา.


หรืออีกอย่างหนึ่ง เปรียบเหมือนบุรุษผู้มีความต้องการแก่นไม้ แสวงหาแก่นไม้ เที่ยวเสาะหาแก่นไม้อยู่
เมื่อต้นไม้ใหญ่มีแก่นตั้งอยู่ ละเลยแก่น ละเลยกระพี้ไปเสีย ถากเอาเปลือกถือไป สำคัญว่าแก่น.

บุรุษผู้มีจักษุ เห็นเขาผู้นั้นแล้ว พึงกล่าวอย่างนี้ว่า
บุรุษผู้เจริญนี้ ไม่รู้จักแก่น ไม่รู้จักกระพี้ ไม่รู้จักเปลือก ไม่รู้จักสะเก็ด ไม่รู้จักกิ่งและใบ จริงอย่างนั้น

บุรุษผู้เจริญนี้ มีความต้องการแก่นไม้ แสวงหาแก่นไม้ เที่ยวเสาะหาแก่นไม้อยู่
เมื่อต้นไม้ใหญ่มีแก่นตั้งอยู่ ละเลยแก่น ละเลยกระพี้ไปเสีย ถากเอาเปลือกถือไป สำคัญว่าแก่น
และกิจที่จะพึงทำด้วยไม้แก่นของเขา จักไม่สำเร็จประโยชน์แก่เขา.


หรืออีกอย่างหนึ่ง เปรียบเหมือนบุรุษผู้มีความต้องการแก่นไม้ แสวงหาแก่นไม้ เที่ยวเสาะหาแก่นไม้อยู่
เมื่อต้นไม้ใหญ่มีแก่นตั้งอยู่ ละเลยแก่นไปเสีย ถากเอากระพี้ถือไป สำคัญว่าแก่น.

บุรุษผู้มีจักษุ เห็นเขาผู้นั้นแล้ว พึงกล่าวอย่างนี้ว่า
บุรุษผู้เจริญนี้ ไม่รู้จักแก่น ไม่รู้จักกระพี้ ไม่รู้จักเปลือก ไม่รู้จักสะเก็ด ไม่รู้จักกิ่งและใบ จริงอย่างนั้น

บุรุษผู้เจริญนี้ มีความต้องการแก่นไม้ แสวงหาแก่นไม้ เที่ยวเสาะหาแก่นไม้อยู่
เมื่อต้นไม้ใหญ่มีแก่นตั้งอยู่ ละเลยแก่นไปเสีย ถากเอากระพี้ถือไป สำคัญว่าแก่น
และกิจที่จะพึงทำด้วยไม้แก่นของเขา จักไม่สำเร็จประโยชน์แก่เขา.

หรืออีกอย่างหนึ่ง เปรียบเหมือนบุรุษผู้มีความต้องการแก่นไม้ แสวงหาแก่นไม้ เที่ยวเสาะหาแก่นไม้อยู่
เมื่อต้นไม้ใหญ่มีแก่นตั้งอยู่ ตัดเอาแก่นนั้นแหละถือไป รู้อยู่ว่าแก่น.

บุรุษผู้มีจักษุ เห็นเขาผู้นั้นแล้ว พึงกล่าวอย่างนี้ว่า
บุรุษผู้เจริญนี้ รู้จักแก่น รู้จักกระพี้ รู้จักเปลือก รู้จักสะเก็ด รู้จักกิ่งและใบ จริงอย่างนั้น

บุรุษผู้เจริญนี้มีความต้องการแก่นไม้ แสวงหาแก่นไม้ เที่ยวเสาะหาแก่นไม้อยู่
เมื่อต้นไม้ใหญ่มีแก่นตั้งอยู่ ตัดเอาแก่นนั่นแหละถือไป รู้อยู่ว่าแก่น
และกิจที่จะพึงทำด้วยไม้แก่นของเขาจักสำเร็จประโยชน์แก่เขา ฉันใด.


[๓๕๕] ดูกรพราหมณ์ ฉันนั้นเหมือนกันแล กุลบุตรบางคนในโลกนี้ มีศรัทธาออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต ด้วยคิดว่า
เราเป็นผู้อันชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส ท่วมทับแล้ว
ถูกความทุกข์ท่วมทับแล้ว มีความทุกข์เป็นเบื้องหน้า
ไฉนหนอ ความกระทำที่สุดแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ จะพึงปรากฏ.
เขาบวชอย่างนั้นแล้ว ยังลาภสักการะและความสรรเสริญให้บังเกิดขึ้น.

เขามีความยินดี มีความดำริเต็มเปี่ยม
ด้วยลาภสักการะและความสรรเสริญนั้น.

เพราะลาภสักการะและความสรรเสริญอันนั้น เขาย่อมยกตนข่มผู้อื่นว่า
เรามีลาภสักการะและความสรรเสริญ ส่วนภิกษุอื่นนอกนี้ ไม่ปรากฏ [หรือมีคนรู้จักน้อย] มีศักดาน้อย.

อนึ่ง เขาไม่ยังฉันทะให้เกิด ไม่พยายาม เพื่อทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่าอื่นอันยิ่งกว่า
และประณีตกว่า ลาภสักการะและความสรรเสริญนั้น
ทั้งเป็นผู้มีความประพฤติย่อหย่อน ท้อถอย

เปรียบเหมือนบุรุษคนนั้น ที่มีความต้องการแก่นไม้ แสวงหาแก่นไม้ เที่ยวเสาะหาแก่นไม้อยู่
เมื่อต้นไม้ใหญ่มีแก่นตั้งอยู่ ละเลยแก่น ละเลยกระพี้ ละเลยเปลือก ละเลยสะเก็ดไปเสีย
ตัดเอากิ่งและใบถือไป สำคัญว่าแก่น

และกิจที่จะพึงทำด้วยไม้แก่นของเขา จักไม่สำเร็จประโยชน์แก่เขา ฉันใด.
ดูกรพราหมณ์ เราเรียกบุคคลนี้ว่า มีอุปมาฉันนั้น


[๓๕๖] ดูกรพราหมณ์ บุคคลบางคนในโลกนี้ มีศรัทธา ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต ด้วยคิดว่า
เราเป็นผู้อันชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาสท่วมทับแล้ว
ถูกความทุกข์ท่วมทับแล้ว มีความทุกข์เป็นเบื้องหน้า
ไฉนหนอ ความกระทำที่สุดแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ จะพึงปรากฏ.
เขาบวชอย่างนี้แล้ว ยังลาภสักการะและความสรรเสริญให้บังเกิดขึ้น.

เขาไม่มีความยินดี มีความดำริยังไม่เต็มเปี่ยม
ด้วยลาภสักการะและความสรรเสริญนั้น.

เขาไม่ยกตน ไม่ข่มผู้อื่น
เพราะลาภสักการะและความสรรเสริญอันนั้น.

เขายังฉันทะให้เกิด พยายาม เพื่อทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่าอื่นอันยิ่งกว่า
และประณีตกว่า ลาภสักการะและความสรรเสริญ
ทั้งเป็นผู้มีความประพฤติไม่ย่อหย่อน ไม่ท้อถอย.

เขาย่อมยังความถึงพร้อมแห่งศีลให้สำเร็จ.
เขามีความยินดี มีความดำริเต็มเปี่ยม แล้วด้วยความถึงพร้อมแห่งศีลนั้น.

เพราะความถึงพร้อมแห่งศีลอันนั้น เขาย่อมยกตนข่มผู้อื่นว่า
เรามีศีล มีกัลยาณธรรม ส่วนภิกษุอื่นนอกนี้ เป็นผู้ทุศีล มีบาปธรรม.

อนึ่ง เขาไม่ยังฉันทะให้เกิด ไม่พยายาม เพื่อทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่าอื่นอันยิ่งกว่า
และประณีตกว่าความถึงพร้อมแห่งศีลนั้น
ทั้งเป็นผู้มีความประพฤติย่อหย่อน ท้อถอย.

เปรียบเหมือนบุรุษคนนั้น ที่มีความต้องการแก่นไม้ แสวงหาแก่นไม้ เที่ยวเสาะหาแก่นไม้อยู่
เมื่อต้นไม้ใหญ่มีแก่นตั้งอยู่ ละเลยแก่น ละเลยกระพี้ ละเลยเปลือก
ไปเสีย ถากเอาสะเก็ดถือไป สำคัญว่าแก่น

และกิจที่จะพึงทำด้วยไม้แก่นของเขา จักไม่สำเร็จประโยชน์แก่เขา ฉันใด.
ดูกรพราหมณ์ เราเรียกบุคคลนี้ว่า มีอุปมาฉันนั้น.



[๓๕๗] ดูกรพราหมณ์ บุคคลบางคนในโลกนี้ มีศรัทธา ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต ด้วยคิดว่า
เราเป็นผู้อันชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาสท่วมทับแล้ว
ถูกความทุกข์ท่วมทับแล้ว มีความทุกข์เป็นเบื้องหน้า
ไฉนหนอ ความกระทำที่สุด แห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ จะพึงปรากฏ.

เขาบวชอย่างนั้นแล้ว ยังลาภสักการะและความสรรเสริญให้บังเกิดขึ้น.
เขาไม่มีความยินดี มีความดำริยังไม่เต็มเปี่ยม ด้วยลาภสักการะและความสรรเสริญนั้น
เขาไม่ยกตน ไม่ข่มผู้อื่น เพราะลาภสักการะและความสรรเสริญอันนั้น.

อนึ่งเขายังฉันทะให้เกิด พยายาม เพื่อทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่าอื่นอันยิ่งกว่า
และประณีตกว่า ลาภสักการะและความสรรเสริญนั้น
ทั้งเป็นผู้มีความประพฤติไม่ย่อหย่อน ไม่ท้อถอย.

เขาย่อมยังความถึงพร้อมแห่งศีลให้สำเร็จ.
เขามีความยินดีด้วยความถึงพร้อมแห่งศีลนั้น แต่มีความดำริยังไม่เต็มเปี่ยม.
เขาไม่ยกตน ไม่ข่มผู้อื่น เพราะความถึงพร้อมแห่งศีลอันนั้น.


อนึ่ง เขายังฉันทะให้เกิด พยายาม เพื่อทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่าอื่นอันยิ่งกว่า
และประณีตกว่า ความถึงพร้อมแห่งศีลนั้น
ทั้งเป็นผู้มีความประพฤติไม่ย่อหย่อน ไม่ท้อถอย.
เขาย่อมยังความถึงพร้อมแห่งสมาธิให้สำเร็จ.

เขามีความยินดี มีความดำริเต็มเปี่ยม ด้วยความถึงพร้อมแห่งสมาธินั้น
เพราะความถึงพร้อมแห่งสมาธิอันนั้น เขาย่อมยกตนข่มผู้อื่นว่า

เรามีจิตตั้งมั่น มีจิตมีอารมณ์เป็นอันเดียว ส่วนภิกษุอื่นนอกนี้ มีจิตไม่ตั้งมั่น มีจิตหมุนไปผิดแล้ว.

เขาไม่ยังฉันทะให้เกิด ไม่พยายาม เพื่อทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่าอื่นอันยิ่งกว่า
และประณีตกว่าความถึงพร้อมแห่งสมาธินั้น
ทั้งเป็นผู้ประพฤติย่อหย่อน ท้อถอย.

เปรียบเหมือนบุรุษนั้นที่มีความต้องการแก่นไม้ แสวงหาแก่นไม้ เที่ยวเสาะหาแก่นไม้อยู่
เมื่อต้นไม้ใหญ่มีแก่นตั้งอยู่ ละเลยแก่น ละเลยกระพี้ไปเสีย
ถากเอาเปลือกถือไป สำคัญว่าแก่น

และกิจที่จะพึงทำด้วยไม้แก่นของเขา จักไม่สำเร็จประโยชน์แก่เขาฉันใด.
ดูกรพราหมณ์ เราเรียกบุคคลนี้ว่า มีอุปมาฉันนั้น.



[๓๕๘] ดูกรพราหมณ์ บุคคลบางคนในโลกนี้ มีศรัทธา ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต ด้วยคิดว่า
เราเป็นผู้อันชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์โทมนัส อุปายาสท่วมทับแล้ว
ถูกความทุกข์ท่วมทับแล้ว มีความทุกข์เป็นเบื้องหน้า
ไฉนหนอ ความกระทำที่สุดแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ จะพึงปรากฏ.

เขาบวชอย่างนั้นแล้ว ยังลาภสักการะและความสรรเสริญให้บังเกิดขึ้น
เขาไม่มีความยินดี มีความดำริยังไม่เต็มเปี่ยม ด้วยลาภสักการะและความสรรเสริญนั้น.
เขาไม่ยกตน ไม่ข่มผู้อื่น เพราะลาภสักการะและความสรรเสริญนั้น.

อนึ่ง เขายังฉันทะให้เกิด พยายาม เพื่อทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่าอื่นอันยิ่งกว่า
และประณีตกว่า ลาภสักการะและความสรรเสริญนั้น
ทั้งเป็นผู้มีความประพฤติไม่ย่อหย่อน ไม่ท้อถอย.
เขาย่อมยังความถึงพร้อมแห่งศีลให้สำเร็จ.

เขามีความยินดีด้วยความถึงพร้อมแห่งศีลนั้น
แต่มีความดำริยังไม่เต็มเปี่ยม.

เขาไม่ยกตน ไม่ข่มผู้อื่น
เพราะความถึงพร้อมแห่งศีลอันนั้น.

อนึ่ง เขายังฉันทะให้เกิดพยายาม เพื่อทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่าอื่นอันยิ่งกว่า
และประณีตกว่า ความถึงพร้อมแห่งศีลนั้น
ทั้งเป็นผู้มีความประพฤติไม่ย่อหย่อน ไม่ท้อถอย

เขาย่อมยังความถึงพร้อมแห่งสมาธิให้สำเร็จ.
เขามีความยินดีด้วยความถึงพร้อมแห่งสมาธินั้น แต่มีความดำริยังไม่เต็มเปี่ยม.
เขาไม่ยกตน ไม่ข่มผู้อื่น เพราะความถึงพร้อมแห่งสมาธิอันนั้น.

อนึ่ง เขายังฉันทะให้เกิด พยายาม เพื่อทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่าอื่นอันยิ่งกว่า
และประณีตกว่า ความถึงพร้อมแห่งสมาธินั้น
ทั้งเป็นผู้มีความประพฤติไม่ย่อหย่อน ไม่ท้อถอย.
เขาย่อมยังญาณทัสสนะให้สำเร็จ.

เขามีความยินดี มีความดำริเต็มเปี่ยม
ด้วยญาณทัสสนะอันนั้น.

เพราะญาณทัสสนะนั้น เขาย่อมยกตนข่มผู้อื่นว่า
เรารู้ เราเห็น ส่วนภิกษุอื่นนอกนี้ ไม่รู้ไม่เห็นอยู่.

อนึ่ง เขาไม่ยังฉันทะให้เกิด ไม่พยายาม เพื่อทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่าอื่นอันยิ่งกว่า
และประณีตกว่าญาณทัสสนะนั้น
ทั้งเป็นผู้มีความประพฤติย่อหย่อน ท้อถอย.

เปรียบเหมือนบุรุษคนนั้น ที่มีความต้องการแก่นไม้ แสวงหาแก่นไม้ เที่ยวเสาะหาแก่นอยู่
เมื่อต้นไม้ใหญ่มีแก่นตั้งอยู่ ละเลยแก่นไปเสีย ถากเอากระพี้ถือไป สำคัญว่าแก่น

และกิจที่จะพึงทำด้วยไม้แก่นของเขา จักไม่สำเร็จประโยชน์แก่เขา ฉันใด.
ดูกรพราหมณ์ เราเรียกบุคคลนี้ว่า มีอุปมาฉันนั้น.


[๓๕๙] ดูกรพราหมณ์ บุคคลบางคนในโลกนี้ มีศรัทธา ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตด้วยคิดว่า
เราเป็นผู้อันชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส ท่วมทับแล้ว
ถูกความทุกข์ท่วมทับแล้ว มีความทุกข์เป็นเบื้องหน้า
ไฉนหนอ ความกระทำที่สุดแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ จะพึงปรากฏ.
เขาบวชอย่างนั้นแล้ว ยังลาภสักการะและความสรรเสริญให้เกิดขึ้น.

เขาไม่มีความยินดี มีความดำริยังไม่เต็มเปี่ยม ด้วยลาภสักการะและความสรรเสริญนั้น.
เขาไม่ยกตน ไม่ข่มผู้อื่น เพราะลาภสักการะและความสรรเสริญอันนั้น.

อนึ่ง เขายังฉันทะให้เกิด พยายาม เพื่อทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่าอื่นอันยิ่งกว่า
และประณีตกว่า ลาภสักการะและความสรรเสริญนั้น
ทั้งเป็นผู้มีความประพฤติไม่ย่อหย่อน ไม่ท้อถอย.
เขาย่อมยังความถึงพร้อม แห่งศีลให้สำเร็จ.

เขามีความยินดีด้วยความถึงพร้อมแห่งศีลนั้น แต่มีความดำริยังไม่เต็มเปี่ยม
เขาไม่ยกตน ไม่ข่มผู้อื่น เพราะความถึงพร้อมแห่งศีลอันนั้น.

อนึ่ง เขายังฉันทะให้เกิดพยายาม เพื่อทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่าอื่นอันยิ่งกว่า
และประณีตกว่า ความถึงพร้อมแห่งศีลนั้น
ทั้งเป็นผู้มีความประพฤติไม่ย่อหย่อน ไม่ท้อถอย.
เขาย่อมยังความถึงพร้อมแห่งสมาธิให้สำเร็จ.

เขามีความยินดีด้วยความถึงพร้อมแห่งสมาธินั้น แต่มีความดำริยังไม่เต็มเปี่ยม
เขาไม่ยกตน ไม่ข่มผู้อื่น เพราะความถึงพร้อมแห่งสมาธิอันนั้น.

อนึ่ง เขายังฉันทะให้เกิดพยายาม เพื่อทำให้แจ้งธรรมเหล่าอื่นอันยิ่งกว่า
และประณีตกว่า ความถึงพร้อมแห่งสมาธินั้น
ทั้งเป็นผู้มีความประพฤติไม่ย่อหย่อน ไม่ท้อถอย
เขาย่อมยังญาณทัสสนะให้สำเร็จ.

เขามีความยินดีด้วยญาณทัสสนะนั้น แต่มีความดำริยังไม่เต็มเปี่ยม.
เขาไม่ยกตนไม่ข่มผู้อื่น เพราะญาณทัสสนะอันนั้น.

อนึ่ง เขายังฉันทะให้เกิด พยายาม เพื่อทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่าอื่นยิ่งกว่า
และประณีตกว่า ญาณทัสสนะนั้น ทั้งเป็นผู้มีความประพฤติไม่ย่อหย่อน ไม่ท้อถอย.

ดูกรพราหมณ์ ก็ธรรมที่ยิ่งกว่าและประณีตกว่า ญาณทัสสนะเป็นไฉน?

ภิกษุในพระศาสนานี้ สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม
บรรลุปฐมฌาน มีวิตกมีวิจาร มีปีติและสุขเกิดแต่วิเวกอยู่.
แม้ธรรมข้อนี้ ก็ยิ่งกว่าและประณีตกว่าญาณทัสสนะ


อีกข้อหนึ่ง ภิกษุบรรลุทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่งจิตในภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น
เพราะวิตกวิจารสงบไป ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวกอยู่. แม้ธรรมข้อนี้ ก็
ยิ่งกว่าและประณีตกว่าญาณทัสสนะ.
อีกข้อหนึ่ง ภิกษุมีอุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย เพราะปีติสิ้นไป
บรรลุตติยฌานที่พระอริยะทั้งหลายสรรเสริญว่า ผู้ได้ฌานนี้ เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติอยู่เป็นสุข.
แม้ธรรมข้อนี้ ก็ยิ่งกว่าและประณีตกว่าญาณทัสสนะ.
อีกข้อหนึ่ง ภิกษุบรรลุจตุตถฌานไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข เพราะละสุขละทุกข์และดับ
โสมนัสก่อนๆ ได้ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์อยู่. แม้ธรรมข้อนี้ ก็ยิ่งกว่าและประณีตกว่า
ญาณทัสสนะ.
อีกข้อหนึ่ง เพราะล่วงเสียซึ่งรูปสัญญาโดยประการทั้งปวง เพราะปฏิฆสัญญาดับไป
เพราะไม่ใส่ใจซึ่งนานัตตสัญญา ภิกษุย่อมบรรลุอากาสานัญจายตนฌาน ด้วยพิจารณาว่า
อากาศหาที่สุดมิได้. แม้ธรรมข้อนี้ ก็ยิ่งกว่าและประณีตกว่าญาณทัสสนะ.
อีกข้อหนึ่ง เพราะล่วงเสียซึ่งอากาสานัญจายตนฌานโดยประการทั้งปวง ภิกษุย่อมบรรลุ
วิญญาณัญจายตนฌาน ด้วยพิจารณาว่า วิญญาณหาที่สุดมิได้. แม้ธรรมข้อนี้ ก็ยิ่งกว่าและ
ประณีตกว่าญาณทัสสนะ.
อีกข้อหนึ่ง เพราะล่วงเสียซึ่งวิญญาณัญจายตนฌานโดยประการทั้งปวง ภิกษุย่อมบรรลุ
อากิญจัญญายตนฌาน ด้วยพิจารณาว่า น้อยหนึ่งไม่มี. แม้ธรรมข้อนี้ ก็ยิ่งกว่าและประณีตกว่า
ญาณทัสสนะ.
อีกข้อหนึ่ง เพราะล่วงเสียซึ่งอากิญจัญญายตนฌานโดยประการทั้งปวง ภิกษุย่อม
บรรลุเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน. แม้ธรรมข้อนี้ ก็ยิ่งกว่าและประณีตกว่าญาณทัสสนะ.
อีกข้อหนึ่ง เพราะล่วงเสียซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนฌานโดยประการทั้งปวง ภิกษุย่อม
บรรลุสัญญาเวทยิตนิโรธ. เพราะเห็นด้วยปัญญาของเธอ อาสวะทั้งหลายย่อมสิ้นไป. แม้ธรรมข้อนี้
ก็ยิ่งกว่าและประณีตกว่าญาณทัสสนะ. ดูกรพราหมณ์ ธรรมเหล่านี้แล ที่ยิ่งกว่าและประณีตกว่า
ญาณทัสสนะ.
เปรียบเหมือนบุรุษคนนั้นที่มีความต้องการแก่น แสวงหาแก่น เที่ยวเสาะหาแก่นอยู่
เมื่อต้นไม้ใหญ่มีแก่นตั้งอยู่ ตัดเอาแก่นนั้นแหละถือไป รู้อยู่ว่าแก่น และกิจที่จะพึงทำด้วยไม้
แก่นของเขา จักสำเร็จประโยชน์แก่เขา ฉันใด. ดูกรพราหมณ์ เราเรียกบุคคลนี้ว่า มีอุปมา
ฉันนั้น


[๓๖๐] ดูกรพราหมณ์ ดังพรรณนามาฉะนี้ พรหมจรรย์จึง
มิใช่มีลาภสักการะและความสรรเสริญเป็นอานิสงส์
มิใช่มีความถึงพร้อมแห่งศีลเป็นอานิสงส์
มิใช่มีความถึงพร้อมสมาธิเป็นอานิสงส์
มิใช่มีญาณทัสสนะเป็นอานิสงส์

พรหมจรรย์นี้ มีเจโตวิมุติอันไม่กำเริบ
เป็นประโยชน์ เป็นแก่น เป็นที่สุด.

เมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสอย่างนี้แล้ว ปิงคลโกจฉพราหมณ์ ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคดังนี้ว่า
ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ภาษิตของพระองค์แจ่มแจ้งนัก

ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญภาษิตของพระองค์แจ่มแจ้งนัก
เปรียบเหมือนบุคคลหงายของที่คว่ำ เปิดของที่ปิด บอกทางแก่คนหลงทาง
หรือตามประทีปในที่มืด ด้วยประสงค์ว่า ผู้มีจักษุจักเห็นรูปได้ ฉันใด
ธรรมที่พระองค์ทรงประกาศแล้วโดยอเนกปริยาย ก็ฉันนั้นเหมือนกัน.

ข้าพระองค์นี้ ขอถึงพระองค์กับพระธรรมและภิกษุสงฆ์ว่า เป็นสรณะ

ขอพระองค์จงทรงจำข้าพระองค์ว่า
เป็นอุบาสกผู้ถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะตลอดชีวิต จำเดิมแต่วันนี้เป็นต้นไป.


http://www.84000.org/tipitaka/pitaka2/v ... 505&Z=6695

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 ต.ค. 2013, 13:58 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
โฮฮับ เขียน:
govit2552 เขียน:
[๖๗๓] คำว่า เสวยสุขด้วยนามกาย มีอธิบายว่า สุข เป็นไฉน
ความสบายทางใจ ความสุขทางใจ ความเสวยอารมณ์ที่สบายเป็นสุขอัน
เกิดแต่เจโตสัมผัส กิริยาเสวยอารมณ์ที่สบายเป็นสุขอันเกิดแต่เจโตสัมผัส อันใด
นี้เรียกว่า สุข
กาย เป็นไฉน
สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ นี้เรียกว่า กาย
ภิกษุ ย่อมเสวยสุขนี้ ด้วยกายนี้ ด้วยเหตุนั้น จึงเรียกว่า เสวยสุข
ด้วยนามกาย
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=35&A=7871&Z=8548


อ่านธรรมต้องเข้าใจด้วยว่า ธรรมที่อ่านเป็น การการอธิบายธรรมที่เป็นวิชชาหรือธรรมที่เป็นอวิชา
ธรรมที่คุณโกวิทยกมากล่าว เป็นการยกเอาธรรมที่เป็นอวิชามาแสดง เพื่อให้รู้ความเป็นอวิชา
เพื่อจะได้เห็นเหตุหรือเห็นตัวอวิชา แล้วจะได้ละมันเสีย

สรุปให้ฟังคือ ธรรมที่กล่าวมามันไม่ใชกายแท้ แต่เป็นสิ่งที่ปรุงแต่งกาย
กายแท้ที่พระพุทธองคทรงตรัสก็คือธาตุสี่ ไม่มีขันธ์ ไม่มีสุขทุกข์ทางใจ

ความหมายของปัญญา.....คือรู้อวิชาและวิชชา การจะรู้วิชชาให้เกิดญาน
เราต้องรู้อวิชาด้วย
ดังนั้นต้องแยกแยะให้ดี ไม่ใช่รู้อวิชาแล้วเข้าไปยึด ธรรมที่ว่าจะกลายเป็นกิเลส



อ้างคำพูด:
ความหมายของปัญญา.....คือรู้อวิชาและวิชชา การจะรู้วิชชาให้เกิดญาน
เราต้องรู้อวิชาด้วย


พูัดเป็นงูกินหางเชีย ปัญญานั่นแหละวิชชา ญาณ ก็เป็นปัญญา อวิชชา แปลความไม่รู้ ตรงกับความรู้ คือ ปัญญาหรือญาณ ฮี่ๆ :b9:


ปัญญา....คือการรู้สภาพธรรมตามความเป็นจริง

ญาน.....คือผลจากการใช้ปัญญาไปพิจารณาหาเหตุแห่งธรรม

วิชชา....การดับเหตุแห่งธรรมนั้นๆหรือการดับอวิชชา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 ต.ค. 2013, 14:24 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โฮฮับ เขียน:
govit2552 เขียน:
[๖๗๓] คำว่า เสวยสุขด้วยนามกาย มีอธิบายว่า สุข เป็นไฉน
ความสบายทางใจ ความสุขทางใจ ความเสวยอารมณ์ที่สบายเป็นสุขอัน
เกิดแต่เจโตสัมผัส กิริยาเสวยอารมณ์ที่สบายเป็นสุขอันเกิดแต่เจโตสัมผัส อันใด
นี้เรียกว่า สุข
กาย เป็นไฉน
สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ นี้เรียกว่า กาย
ภิกษุ ย่อมเสวยสุขนี้ ด้วยกายนี้ ด้วยเหตุนั้น จึงเรียกว่า เสวยสุข
ด้วยนามกาย
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=35&A=7871&Z=8548


อ่านธรรมต้องเข้าใจด้วยว่า ธรรมที่อ่านเป็น การการอธิบายธรรมที่เป็นวิชชาหรือธรรมที่เป็นอวิชา
ธรรมที่คุณโกวิทยกมากล่าว เป็นการยกเอาธรรมที่เป็นอวิชามาแสดง เพื่อให้รู้ความเป็นอวิชา
เพื่อจะได้เห็นเหตุหรือเห็นตัวอวิชา แล้วจะได้ละมันเสีย

สรุปให้ฟังคือ ธรรมที่กล่าวมามันไม่ใชกายแท้ แต่เป็นสิ่งที่ปรุงแต่งกาย
กายแท้ที่พระพุทธองคทรงตรัสก็คือธาตุสี่ ไม่มีขันธ์ ไม่มีสุขทุกข์ทางใจ

ความหมายของปัญญา.....คือรู้อวิชาและวิชชา การจะรู้วิชชาให้เกิดญาน
เราต้องรู้อวิชาด้วย
ดังนั้นต้องแยกแยะให้ดี ไม่ใช่รู้อวิชาแล้วเข้าไปยึด ธรรมที่ว่าจะกลายเป็นกิเลส



อ้างคำพูด:
ความหมายของปัญญา.....คือรู้อวิชาและวิชชา การจะรู้วิชชาให้เกิดญาน
เราต้องรู้อวิชาด้วย


พูัดเป็นงูกินหางเชีย ปัญญานั่นแหละวิชชา ญาณ ก็เป็นปัญญา อวิชชา แปลความไม่รู้ ตรงกับความรู้ คือ ปัญญาหรือญาณ ฮี่ๆ :b9:


ปัญญา....คือการรู้สภาพธรรมตามความเป็นจริง

ญาน.....คือผลจากการใช้ปัญญาไปพิจารณาหาเหตุแห่งธรรม

วิชชา....การดับเหตุแห่งธรรมนั้นๆหรือการดับอวิชชา


ทั้งญาณ วิชชา เป็นชื่อหนึ่งของปัญญา


ปัญญา เป็นตัวความรู้ในสังขารขันธ์ เป็นที่ต้องฝึกปรือ ทำให้เจริญเพิ่มพูนขึ้นไปโดยลำดับ ปัญญาจึงมีหลายขั้นหลายระดับ และมีชื่อเรียกต่างๆ ตามขั้นของความเจริญบ้าง ตามทางเกิดของปัญญานั้นบ้าง ตามลักษณะเฉพาะของปัญญาชนิดนั้นบ้าง

จะยกชื่อของปัญญา เช่น วิปัสสนา สัมปชัญญะ วิชชา ญาณ โพธิ สัมโพธิ ปริญญา อัญญา อภิญญา พุทธิ ฯลฯ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 ต.ค. 2013, 14:26 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โฮฮับ เขียน:
govit2552 เขียน:
[๖๗๓] คำว่า เสวยสุขด้วยนามกาย มีอธิบายว่า สุข เป็นไฉน
ความสบายทางใจ ความสุขทางใจ ความเสวยอารมณ์ที่สบายเป็นสุขอัน
เกิดแต่เจโตสัมผัส กิริยาเสวยอารมณ์ที่สบายเป็นสุขอันเกิดแต่เจโตสัมผัส อันใด
นี้เรียกว่า สุข
กาย เป็นไฉน
สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ นี้เรียกว่า กาย
ภิกษุ ย่อมเสวยสุขนี้ ด้วยกายนี้ ด้วยเหตุนั้น จึงเรียกว่า เสวยสุข
ด้วยนามกาย
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=35&A=7871&Z=8548


อ่านธรรมต้องเข้าใจด้วยว่า ธรรมที่อ่านเป็น การการอธิบายธรรมที่เป็นวิชชาหรือธรรมที่เป็นอวิชา
ธรรมที่คุณโกวิทยกมากล่าว เป็นการยกเอาธรรมที่เป็นอวิชามาแสดง เพื่อให้รู้ความเป็นอวิชา
เพื่อจะได้เห็นเหตุหรือเห็นตัวอวิชา แล้วจะได้ละมันเสีย

สรุปให้ฟังคือ ธรรมที่กล่าวมามันไม่ใชกายแท้ แต่เป็นสิ่งที่ปรุงแต่งกาย
กายแท้ที่พระพุทธองคทรงตรัสก็คือธาตุสี่ ไม่มีขันธ์ ไม่มีสุขทุกข์ทางใจ

ความหมายของปัญญา.....คือรู้อวิชาและวิชชา การจะรู้วิชชาให้เกิดญาน
เราต้องรู้อวิชาด้วย
ดังนั้นต้องแยกแยะให้ดี ไม่ใช่รู้อวิชาแล้วเข้าไปยึด ธรรมที่ว่าจะกลายเป็นกิเลส



อ้างคำพูด:
ความหมายของปัญญา.....คือรู้อวิชาและวิชชา การจะรู้วิชชาให้เกิดญาน
เราต้องรู้อวิชาด้วย


พูัดเป็นงูกินหางเชีย ปัญญานั่นแหละวิชชา ญาณ ก็เป็นปัญญา อวิชชา แปลความไม่รู้ ตรงกับความรู้ คือ ปัญญาหรือญาณ ฮี่ๆ :b9:


ปัญญา....คือการรู้สภาพธรรมตามความเป็นจริง

ญาน.....คือผลจากการใช้ปัญญาไปพิจารณาหาเหตุแห่งธรรม

วิชชา....การดับเหตุแห่งธรรมนั้นๆหรือการดับอวิชชา



ที่นี่ viewtopic.php?f=1&t=46596&p=339922#p339922


บอกว่า

อ้างคำพูด:
กายเป็นวิชชา มันเป็นเพียงธาตุสี่



พอมานี่บอก

อ้างคำพูด:
วิชชา....การดับเหตุแห่งธรรมนั้นๆหรือการดับอวิชชา


กลายเป็นว่า ธาตุ 4 ดับอวิชชา สมชื่อที่คิดตั้งให้ว่า "ธรรมะบ๊อกซิ่งเล" จริงๆ ขอให้เจริญๆพ่อคุ้น :b32:

ยิ่งนานวันยิ่งเห็นสิ่งไร้สาระมากขึ้นๆ จนเกือบจะไม่มีประโยชน์เลย :b24:


อ้างคำพูด:
ปัญญา....คือการรู้สภาพธรรมตามความเป็นจริง



ความเป็นจริงที่โฮฮับพูดได้แก่อะไรอ่ะ :b10:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 ต.ค. 2013, 16:07 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5977

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


สิ่งที่เกิดขึ้น ทั้งภายนอกและภายใน ทำให้เกิดความรู้สึกนึกคิดต่างๆนานา
ล้วนเกิดจาก เหตุปัจจัยที่มีอยู่ของแต่ละคน


การกล่าวโทษนอกตัว
เรื่องนอกตัว ยิ่งแก้ ยิ่งวุ่น เพราะแก้ไม่ถูกจุด

การกล่าวโทษตัวเอง
แก้ให้ถูกจุด ต้องแก้ที่ตัวเอง

โดยการมนสิการ กระทำไว้ในใจ
ดูสิ่งที่ตัวเองมีอยู่ และเป็นอยู่ จบที่ตัวเอง ดับที่ตัวเอง

ถ้าคิดว่า ตนดีกว่า ผู้อื่น เป็นการ ยกตน กดข่มผู้อื่น
เช่น การพยายามกระทำให้ ผู้อื่น กระทำสิ่งที่ คิดเอาเองว่า
ต้องทำแบบนี้ จึงจะถูก ทำแบบนั้น ไม่ถูก

ถ้าคิดว่า ตนเสมอ ผู้อื่น

ถ้าคิดว่า ตนต่ำกว่าผู้อื่น เช่น การคิดว่า ตนแย่กว่าผู้อื่น ตนรู้น้อยกว่าผู้อื่น

การกระทำทั้งหมดนี้ ไม่ว่าจะเป็นตามความเป็นจริง หรือ ไม่เป็นตามความเป็นจริง ของสิ่งที่เกิดขึ้น

นี่แหละเหตุปัจจัยที่มีอยู่ ของการกระทำภพชาติปัจจุบัน ให้เกิดขึ้น



ปริยัติ

เรื่องราวของปริยัติ ล้วนเป็นเพียงสัญญา

ใครจะโพสอะไรยังไง จะเน้นคำ หรือ ไม่เน้นคำ ล้วนเกิดจากเหตุปัจจัยที่มีอยู่
และที่กำลังสร้างให้เกิดขึ้นใหม่

ส่วนคนที่เข้ามาอ่าน จะเข้าใจว่าอย่างไร หรือ รู้สึกอย่างไร
ล้วนเกิดจากเหตุปัจจัย ที่มีต่อกัน


ที่ยังมีเหตุปัจจัยให้สร้างเหตุต่อกันอยู่
ก็แค่ ไม่ถูกใจ กับ ถูกใจ เท่านั้นเอง

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 ต.ค. 2013, 16:32 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
โฮฮับ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โฮฮับ เขียน:
govit2552 เขียน:
[๖๗๓] คำว่า เสวยสุขด้วยนามกาย มีอธิบายว่า สุข เป็นไฉน
ความสบายทางใจ ความสุขทางใจ ความเสวยอารมณ์ที่สบายเป็นสุขอัน
เกิดแต่เจโตสัมผัส กิริยาเสวยอารมณ์ที่สบายเป็นสุขอันเกิดแต่เจโตสัมผัส อันใด
นี้เรียกว่า สุข
กาย เป็นไฉน
สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ นี้เรียกว่า กาย
ภิกษุ ย่อมเสวยสุขนี้ ด้วยกายนี้ ด้วยเหตุนั้น จึงเรียกว่า เสวยสุข
ด้วยนามกาย
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=35&A=7871&Z=8548


อ่านธรรมต้องเข้าใจด้วยว่า ธรรมที่อ่านเป็น การการอธิบายธรรมที่เป็นวิชชาหรือธรรมที่เป็นอวิชา
ธรรมที่คุณโกวิทยกมากล่าว เป็นการยกเอาธรรมที่เป็นอวิชามาแสดง เพื่อให้รู้ความเป็นอวิชา
เพื่อจะได้เห็นเหตุหรือเห็นตัวอวิชา แล้วจะได้ละมันเสีย

สรุปให้ฟังคือ ธรรมที่กล่าวมามันไม่ใชกายแท้ แต่เป็นสิ่งที่ปรุงแต่งกาย
กายแท้ที่พระพุทธองคทรงตรัสก็คือธาตุสี่ ไม่มีขันธ์ ไม่มีสุขทุกข์ทางใจ

ความหมายของปัญญา.....คือรู้อวิชาและวิชชา การจะรู้วิชชาให้เกิดญาน
เราต้องรู้อวิชาด้วย
ดังนั้นต้องแยกแยะให้ดี ไม่ใช่รู้อวิชาแล้วเข้าไปยึด ธรรมที่ว่าจะกลายเป็นกิเลส



อ้างคำพูด:
ความหมายของปัญญา.....คือรู้อวิชาและวิชชา การจะรู้วิชชาให้เกิดญาน
เราต้องรู้อวิชาด้วย


พูัดเป็นงูกินหางเชีย ปัญญานั่นแหละวิชชา ญาณ ก็เป็นปัญญา อวิชชา แปลความไม่รู้ ตรงกับความรู้ คือ ปัญญาหรือญาณ ฮี่ๆ :b9:


ปัญญา....คือการรู้สภาพธรรมตามความเป็นจริง

ญาน.....คือผลจากการใช้ปัญญาไปพิจารณาหาเหตุแห่งธรรม

วิชชา....การดับเหตุแห่งธรรมนั้นๆหรือการดับอวิชชา



ที่นี่ viewtopic.php?f=1&t=46596&p=339922#p339922


บอกว่า

อ้างคำพูด:
กายเป็นวิชชา มันเป็นเพียงธาตุสี่



พอมานี่บอก

อ้างคำพูด:
วิชชา....การดับเหตุแห่งธรรมนั้นๆหรือการดับอวิชชา


กลายเป็นว่า ธาตุ 4 ดับอวิชชา สมชื่อที่คิดตั้งให้ว่า "ธรรมะบ๊อกซิ่งเล" จริงๆ ขอให้เจริญๆพ่อคุ้น :b32:

ยิ่งนานวันยิ่งเห็นสิ่งไร้สาระมากขึ้นๆ จนเกือบจะไม่มีประโยชน์เลย :b24:


อ้างคำพูด:
ปัญญา....คือการรู้สภาพธรรมตามความเป็นจริง



ความเป็นจริงที่โฮฮับพูดได้แก่อะไรอ่ะ :b10:


บอกเป็นร้อยแล้วมั้งว่า การเอาพุทธพจน์มาแปลในลักษณะของคำศัพท์ มันใช้ไม่ได้
มันไม่ใช่การพิจารณาธรรม ที่กรัชกายกำลังงงเป็นไก่ตาแตกก็เป็นเพราะ
กรัชกายไปเอาคำศัพท์ในพจนานุกรม มาแปลพุทธพจน์ แบบนี้มันไม่ได้เรื่อง

การพิจารณาอย่าเอาพุทธพจน์ไปผสมกัน เพราะพุทธพจน์มึความหมายในตัวเอง
พุทธพจน์คำหนึ่งมาอยู่กับพุทธพจน์อีกคำหนึ่ง
มันมีความหมายว่า คำแต่ล่ะคำ เป็นเหตุเป็นปัจจัยต่อกัน อย่างเช่น

ปัญญาเป็นเหตุให้เกิดญาน
ญานเป็นเหตุให้เกิดวิชชา

คนที่มีปัญญา เป็นแค่เพียงเห็นสภาวะธรรม
แต่การเห็นสภาวะธรรม สามารถเอาลักษณะของสภาวะธรรม
มาหาเหตุที่ทำให้เกิดสภาวะธรรมนั้นได้ เมื่อหาเหตุของการเกิดสภาวะธรรมได้...
เรียกว่า เกิดญานรู้เหตุ ญานรู้ไม่ใช่ปัญญา แต่เป็นผลของปัญญา
เมื่อเกิดญานรู้เหตุแล้ว ก็สามารถดับเหตุการปรุงแต่งของสภาวะธรรมเหล่านั้น
การปรุงแต่งสภาวะธรรมเกิดจากอวิชาหรือเรียกว่า เพราะความไม่รู้
แต่เมื่อเรารู้เหตุที่เรียกว่าญานรู้แล้ว เมื่อดับเหตุการปรุงแต่ง อวิชาย่อมหมดไป
ป็นวิชชาขึ้นมาแทน


และที่ว่ากายเป็นวิชชาก็เพราะ อวิชาทำให้เกิดการปรุงแต่งกาย จนกายนั้นเป็นรูปขันธ์
หรือในรูป๒๘ แท้จริงแล้วกายเป็นเพียงธาตุสี่ รูปอันเกิดจากการปรุงแต่งธาตุ เป็นเพราะ
อวิชาไปปรุงแต่งธาตุสี่ เมื่อเราปฏิบัติจนหมดความปรุงแต่ง
รูปขันธ์ก็หมดไปเหลือไว้เพียงกายหรือธาตุสี่ เมื่อหมดการปรุงแต่ง อวิชาย่อมหมดไป
เมื่ออวิชาหมดไปย่อมเป็นวิชชามาแทนที่

ในความเป็นจริงแล้วกายเป็นเพียงธาตุสี่ เพราะความไม่รู้ของบุคคลจึงคิดว่า
กายคือรูปขันธ์๒๘ ซึ่งความจริงมันไม่ใช่มันเป็นเรื่องของผู้ที่ยังไม่รู้

ดังนั้นถ้ามีใครมาบอกว่า กายคือรูปขันธ์แบบนี้มันผิดจากความเป็นจริง


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 ต.ค. 2013, 19:32 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โฮฮับ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โฮฮับ เขียน:
govit2552 เขียน:
[๖๗๓] คำว่า เสวยสุขด้วยนามกาย มีอธิบายว่า สุข เป็นไฉน
ความสบายทางใจ ความสุขทางใจ ความเสวยอารมณ์ที่สบายเป็นสุขอัน
เกิดแต่เจโตสัมผัส กิริยาเสวยอารมณ์ที่สบายเป็นสุขอันเกิดแต่เจโตสัมผัส อันใด
นี้เรียกว่า สุข
กาย เป็นไฉน
สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ นี้เรียกว่า กาย
ภิกษุ ย่อมเสวยสุขนี้ ด้วยกายนี้ ด้วยเหตุนั้น จึงเรียกว่า เสวยสุข
ด้วยนามกาย
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=35&A=7871&Z=8548


อ่านธรรมต้องเข้าใจด้วยว่า ธรรมที่อ่านเป็น การการอธิบายธรรมที่เป็นวิชชาหรือธรรมที่เป็นอวิชา
ธรรมที่คุณโกวิทยกมากล่าว เป็นการยกเอาธรรมที่เป็นอวิชามาแสดง เพื่อให้รู้ความเป็นอวิชา
เพื่อจะได้เห็นเหตุหรือเห็นตัวอวิชา แล้วจะได้ละมันเสีย

สรุปให้ฟังคือ ธรรมที่กล่าวมามันไม่ใชกายแท้ แต่เป็นสิ่งที่ปรุงแต่งกาย
กายแท้ที่พระพุทธองคทรงตรัสก็คือธาตุสี่ ไม่มีขันธ์ ไม่มีสุขทุกข์ทางใจ

ความหมายของปัญญา.....คือรู้อวิชาและวิชชา การจะรู้วิชชาให้เกิดญาน
เราต้องรู้อวิชาด้วย
ดังนั้นต้องแยกแยะให้ดี ไม่ใช่รู้อวิชาแล้วเข้าไปยึด ธรรมที่ว่าจะกลายเป็นกิเลส



อ้างคำพูด:
ความหมายของปัญญา.....คือรู้อวิชาและวิชชา การจะรู้วิชชาให้เกิดญาน
เราต้องรู้อวิชาด้วย


พูัดเป็นงูกินหางเชีย ปัญญานั่นแหละวิชชา ญาณ ก็เป็นปัญญา อวิชชา แปลความไม่รู้ ตรงกับความรู้ คือ ปัญญาหรือญาณ ฮี่ๆ :b9:


ปัญญา....คือการรู้สภาพธรรมตามความเป็นจริง

ญาน.....คือผลจากการใช้ปัญญาไปพิจารณาหาเหตุแห่งธรรม

วิชชา....การดับเหตุแห่งธรรมนั้นๆหรือการดับอวิชชา



ที่นี่ viewtopic.php?f=1&t=46596&p=339922#p339922


บอกว่า

อ้างคำพูด:
กายเป็นวิชชา มันเป็นเพียงธาตุสี่



พอมานี่บอก

อ้างคำพูด:
วิชชา....การดับเหตุแห่งธรรมนั้นๆหรือการดับอวิชชา


กลายเป็นว่า ธาตุ 4 ดับอวิชชา สมชื่อที่คิดตั้งให้ว่า "ธรรมะบ๊อกซิ่งเล" จริงๆ ขอให้เจริญๆพ่อคุ้น :b32:

ยิ่งนานวันยิ่งเห็นสิ่งไร้สาระมากขึ้นๆ จนเกือบจะไม่มีประโยชน์เลย :b24:


อ้างคำพูด:
ปัญญา....คือการรู้สภาพธรรมตามความเป็นจริง



ความเป็นจริงที่โฮฮับพูดได้แก่อะไรอ่ะ :b10:


บอกเป็นร้อยแล้วมั้งว่า การเอาพุทธพจน์มาแปลในลักษณะของคำศัพท์ มันใช้ไม่ได้
มันไม่ใช่การพิจารณาธรรม ที่กรัชกายกำลังงงเป็นไก่ตาแตกก็เป็นเพราะ
กรัชกายไปเอาคำศัพท์ในพจนานุกรม มาแปลพุทธพจน์ แบบนี้มันไม่ได้เรื่อง

การพิจารณาอย่าเอาพุทธพจน์ไปผสมกัน เพราะพุทธพจน์มึความหมายในตัวเอง
พุทธพจน์คำหนึ่งมาอยู่กับพุทธพจน์อีกคำหนึ่ง
มันมีความหมายว่า คำแต่ล่ะคำ เป็นเหตุเป็นปัจจัยต่อกัน อย่างเช่น

ปัญญาเป็นเหตุให้เกิดญาน
ญานเป็นเหตุให้เกิดวิชชา

คนที่มีปัญญา เป็นแค่เพียงเห็นสภาวะธรรม
แต่การเห็นสภาวะธรรม สามารถเอาลักษณะของสภาวะธรรม
มาหาเหตุที่ทำให้เกิดสภาวะธรรมนั้นได้ เมื่อหาเหตุของการเกิดสภาวะธรรมได้...
เรียกว่า เกิดญานรู้เหตุ ญานรู้ไม่ใช่ปัญญา แต่เป็นผลของปัญญา
เมื่อเกิดญานรู้เหตุแล้ว ก็สามารถดับเหตุการปรุงแต่งของสภาวะธรรมเหล่านั้น
การปรุงแต่งสภาวะธรรมเกิดจากอวิชาหรือเรียกว่า เพราะความไม่รู้
แต่เมื่อเรารู้เหตุที่เรียกว่าญานรู้แล้ว เมื่อดับเหตุการปรุงแต่ง อวิชาย่อมหมดไป
ป็นวิชชาขึ้นมาแทน


และที่ว่ากายเป็นวิชชาก็เพราะ อวิชาทำให้เกิดการปรุงแต่งกาย จนกายนั้นเป็นรูปขันธ์
หรือในรูป๒๘ แท้จริงแล้วกายเป็นเพียงธาตุสี่ รูปอันเกิดจากการปรุงแต่งธาตุ เป็นเพราะ
อวิชาไปปรุงแต่งธาตุสี่ เมื่อเราปฏิบัติจนหมดความปรุงแต่ง
รูปขันธ์ก็หมดไปเหลือไว้เพียงกายหรือธาตุสี่ เมื่อหมดการปรุงแต่ง อวิชาย่อมหมดไป
เมื่ออวิชาหมดไปย่อมเป็นวิชชามาแทนที่

ในความเป็นจริงแล้วกายเป็นเพียงธาตุสี่ เพราะความไม่รู้ของบุคคลจึงคิดว่า
กายคือรูปขันธ์๒๘ ซึ่งความจริงมันไม่ใช่มันเป็นเรื่องของผู้ที่ยังไม่รู้

ดังนั้นถ้ามีใครมาบอกว่า กายคือรูปขันธ์แบบนี้มันผิดจากความเป็นจริง



พูดหลายครั้งแล้วว่า โฮฮับหลุดโลก เอาศัพท์ทางธรรมซึ่งเขามีความหมายของเขา มาพูดโยงให้เข้ากับความเห็นผิดของตน โยงไปโยงมา จนธรรมซึ่งเป็นเรื่องของคน กลายเป็นธรรมของผีไปฉิบ ฮี่ๆ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 134 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 5, 6, 7, 8, 9

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: Google [Bot] และ บุคคลทั่วไป 59 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร