วันเวลาปัจจุบัน 28 มี.ค. 2024, 18:04  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 257 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 ... 18  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 มิ.ย. 2014, 15:59 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
เจตนาเกิดกับจิตทุกดวงทุกขณะ (ยังมีองค์ประกอบร่วมกับมันอีกมาก) เกิดกับจิตที่เป็นกุศลก็ได้ ที่เป็นอกุศลก็ได้ ถ้าเป็นกุศล เรียกกุศลเจตนา (ฝ่ายกุศลจิต) หากเป็นอกุศล เรียกอกุศลเจตนา (ฝ่ายอกุศลจิต)

ทางเกิดของมัน มีสามทาง คือทางกายทวาร วจีทวาร และมโนทวาร ถ้าพูดถึงแง่การทำกรรม ก็เป็นสาม คือ กายกรรม วจีกรรม และมโนกรรม ท่านถือมโนกรรมสำคัญที่สุด ฯลฯ


555555 กรัชกายเอ๊ยยย
เจตนา ที่เกิดกับอัพยากตจิตล่ะ
มีเจตนา แล้วทำกรรมทุกกรณีไหม ^ ^

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 มิ.ย. 2014, 16:01 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
กรัชกาย เขียน:
เจตนาเกิดกับจิตทุกดวงทุกขณะ (ยังมีองค์ประกอบร่วมกับมันอีกมาก) เกิดกับจิตที่เป็นกุศลก็ได้ ที่เป็นอกุศลก็ได้ ถ้าเป็นกุศล เรียกกุศลเจตนา (ฝ่ายกุศลจิต) หากเป็นอกุศล เรียกอกุศลเจตนา (ฝ่ายอกุศลจิต)

ทางเกิดของมัน มีสามทาง คือทางกายทวาร วจีทวาร และมโนทวาร ถ้าพูดถึงแง่การทำกรรม ก็เป็นสาม คือ กายกรรม วจีกรรม และมโนกรรม ท่านถือมโนกรรมสำคัญที่สุด ฯลฯ


555555 กรัชกายเอ๊ยยย
เจตนา ที่เกิดกับอัพยากตจิตล่ะ
มีเจตนา แล้วทำกรรมทุกกรณีไหม ^ ^



ไหนลองว่าไปสิ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 มิ.ย. 2014, 16:04 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
กรัชกาย เขียน:
เจตนาเกิดกับจิตทุกดวงทุกขณะ (ยังมีองค์ประกอบร่วมกับมันอีกมาก) เกิดกับจิตที่เป็นกุศลก็ได้ ที่เป็นอกุศลก็ได้ ถ้าเป็นกุศล เรียกกุศลเจตนา (ฝ่ายกุศลจิต) หากเป็นอกุศล เรียกอกุศลเจตนา (ฝ่ายอกุศลจิต)

ทางเกิดของมัน มีสามทาง คือทางกายทวาร วจีทวาร และมโนทวาร ถ้าพูดถึงแง่การทำกรรม ก็เป็นสาม คือ กายกรรม วจีกรรม และมโนกรรม ท่านถือมโนกรรมสำคัญที่สุด ฯลฯ


555555 กรัชกายเอ๊ยยย
เจตนา ที่เกิดกับอัพยากตจิตล่ะ
มีเจตนา แล้วทำกรรมทุกกรณีไหม ^ ^



ไหนลองว่าไปสิ

ไปหาเอาเอง เปิดพระไตรอ่านบ้าง กรัชกาย
http://84000.org/tipitaka/pitaka3/apidham01.php

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 มิ.ย. 2014, 16:05 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
กรัชกาย เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
กรัชกาย เขียน:
เจตนาเกิดกับจิตทุกดวงทุกขณะ (ยังมีองค์ประกอบร่วมกับมันอีกมาก) เกิดกับจิตที่เป็นกุศลก็ได้ ที่เป็นอกุศลก็ได้ ถ้าเป็นกุศล เรียกกุศลเจตนา (ฝ่ายกุศลจิต) หากเป็นอกุศล เรียกอกุศลเจตนา (ฝ่ายอกุศลจิต)

ทางเกิดของมัน มีสามทาง คือทางกายทวาร วจีทวาร และมโนทวาร ถ้าพูดถึงแง่การทำกรรม ก็เป็นสาม คือ กายกรรม วจีกรรม และมโนกรรม ท่านถือมโนกรรมสำคัญที่สุด ฯลฯ


555555 กรัชกายเอ๊ยยย
เจตนา ที่เกิดกับอัพยากตจิตล่ะ
มีเจตนา แล้วทำกรรมทุกกรณีไหม ^ ^



ไหนลองว่าไปสิ

ไปหาเอาเอง เปิดพระไตรอ่านบ้าง กรัชกาย
http://84000.org/tipitaka/pitaka3/apidham01.php



คิกๆๆ :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 มิ.ย. 2014, 16:07 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


wink wink

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 มิ.ย. 2014, 17:01 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
wink wink


ไหนลองแหย่เกี่ยวกับเจตนาอีกทีซิ (นึกถึงตัวอื่นที่ประกอบร่วมกันอีกนะ)


เจตนาจึงเป็นเจตจำนง ความจงใจ การเลือกอารมณ์ของใจ ตัวนำที่หันเหชักพาทำให้จิตเคลื่อนไหวโน้มน้อมไปหา หรือผละไปจากสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือมุ่งไปในทิศ ทางใดทิศทางหนึ่ง เป็นหัวหน้าเป็นผู้จัดการ หรือเจ้ากี้เจ้าการของจิตว่า จะเอาอะไรไม่เอาอะไร กับเรื่องใดอย่างไร เป็นตัวการจัดแจงแต่งวิถีทางของจิต และในที่สุดก็เป็นตัวการปรุงแต่งจิตนั้น ให้เป็นไปต่างๆ


เมื่อเจตนาเกิดขึ้นครั้งหนึ่ง ก็คือกรรมเกิด ขึ้นทีหนึ่ง เมื่อกรรมเกิดขึ้นแล้ว ก็มีผลทันที เพราะเมื่อเจตนา เกิดขึ้น ก็คือมีกิจกรรมเกิดขึ้นในจิตแล้ว จิตมีการเคลื่อนไหว หรือไหวตัวแล้ว


แม้เป็นเพียงความคิด อะไรเล็กน้อย ซึ่งถึงจะไม่มีผลอะไรสำคัญ แต่ก็ไม่ไร้ผลเสียเลย อย่างน้อย ก็เป็นละอองกรรมอันละเอียดที่สั่งสม หรือ พอกเข้าไว้เป็นเครื่องปรุง แต่งคุณสมบัติของจิตอยู่ภายใน เมื่อมากขึ้น เช่น จิตเสพความคิดนั้น บ่อยๆ หรือความคิดนั้นรุนแรงขึ้นจนออกมาภายนอก ผลก็แรงขึ้นขยายออกมาเป็นลักษณะนิสัย บุคลิกภาพ เป็นต้น


ยกตัวอย่าง เช่น เจตนาในการทำร้าย ไม่ ต้องพูดถึงกรรมร้ายแรงถึงขั้นจะฆ่าคน แม้แต่การทำลายสิ่งของที่เล็กๆ น้อยๆ เหลือเกิน ถ้าทำด้วยเจตนาทำร้าย คือประกอบด้วยโทสจิตหรือมีความ โกรธ อย่างคนฉีกกระดาษด้วยความฉุนเฉียว ทั้งที่กระดาษนั้นไม่มีคุณค่าสำคัญ อะไร แต่ย่อมมีผลต่อสุขภาพจิต หาเหมือนกันไม่กับการฉีกกระดาษของคนที่ทำด้วยจิตปกติ โดยรู้ว่า จะไม่ใช้กระดาษนั้นแล้ว


เมื่อทำการอะไรๆ ด้วยเจตนาอย่างนั้นบ่อยๆ ผลแห่งการสั่งสมก็จะปรากฏชัดยิ่งขึ้น และ อาจขยายกว้างออกไปในระดับต่างๆโดยลำดับ เปรียบเหมือนฝุ่นละอองที่ปลิวเข้ามาในห้องทีละเล็กละน้อยอย่างที่มิได้ สังเกตเลย ย่อมไม่มีส่วนใดที่ไร้ผลเสียเลย แต่ผลนั้นจะสำคัญแค่ไหน นอกจากเป็นไปตามความแรงและปริมาณของสิ่งที่สั่งสมแล้ว ยังสัมพันธ์กับคุณภาพ และการใช้งานของจิตในระดับต่างๆ อีกด้วย


ฝุ่นละอองปลิวลงจับท้องถนน กว่าจะทำให้รู้สึกสกปรก ก็ต้องมีปริมาณมากมาย

ฝุ่นละอองปลิวลงบนพื้นเรือน แม้น้อยกว่านั้น ก็รู้สึกสกปรก

ฝุ่นละอองน้อยกว่านั้น ลงจับโต๊ะเขียนหนังสือ ก็สกปรก และรบกวนงาน

น้อยกว่านั้นอีก ลงจับกระจกเงาส่องหน้า ก็รู้สึกเปื้อนและกระทบการใช้งาน

ธุลีละอองนิดเดียวลงจับแว่นตา ก็รู้สึกได้และทำให้การเห็นพร่ามัวได้

อุปมาอย่างอื่น เช่น เอามีดขีดที่พื้นถนน ที่พื้นห้อง ที่กระจกแว่นตา ก็ทำนองเดียวกัน

ส่วนในด้านตรงข้ามก็พึงเห็นได้ เช่น การใช้ผ้ากำมะหยี่ หรือ สำลีเล็กน้อยเช็ดพื้นห้องจนถึงเช็ดแว่นตา เป็นต้น

รวมความว่า เจตจำนง คือ เจตนา หรือ กรรมนั้น แม้เล็กน้อย ก็มิได้ไร้ผล อาจอ้างพุทธศาสนสุภาษิตว่า

กรรมดีหรือชั่วทุกอย่างที่คนสั่งสมไว้ ย่อมมีผล ขึ้นชื่อว่ากรรม แม้จะนิดหน่อย ที่จะว่างเปล่าไปเลย ย่อมไม่มี

(อย่านำปะปนกับกรรมที่ให้ผลไม่ให้ผลระดับวิถีชีวิตภายนอก)

และว่า “กรรมไม่ว่าดีหรือชั่ว ย่อมไม่สูญเปล่าเลย

อย่างไรก็ตาม ผลทางด้านกรรมนิยามในระดับจิตใจนี้ คนจำนวนมากคอยจะมองข้าม ไม่เห็นความสำคัญ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 มิ.ย. 2014, 17:04 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


มีสองตัวอย่างประกอบ


คุณภาพของจิตที่หยาบและประณีต ซึ่งสัมพันธ์กับการใช้งาน และการเข้าถึงคุณวิเศษต่างๆที่ชีวิตจะเข้าถึงได้

อ้างคำพูด:
เวลาผมนั่งสมาธิ พอภาวนาไปซักพัก เริ่มตัดภาวนาไปแล้วทีนี้ก็จะเกิดอาการ ขนลุกเย็นทั้งตัว แล้วหลังจากนั้นก็จะมีภาพ คน สัตว์ แมลง ที่เราเคยทำร้ายเคยทำให้เค้าตาย หรือเจ็บลอยมาให้เห็น คือ แปลกใจว่า บางเรื่องเป็นเรื่องที่นานมากบางเรื่องเป็นเรื่องสมัยเด็กๆอยู่ด้วยซ้ำ ซึ่งบางทีนึกถึงยังนึกไม่ออกเลย เพราะนานมาก แต่พอมานั่งสมาธิ ก็ลอยมาให้เห็นเฉยเลย


อ้างคำพูด:
อยู่มาวันนึงหลังจากสวดมนต์เสร็จ ลองนั่งทำสมาธิต่อโดยนำจาคานุสสติ ที่เคยพาพ่อไปปล่อยปลา ตักบาตร และเหตุการณ์ที่เคยร่วมหล่อระฆังเข้ามาเป็นกรรมฐาน สิ่งที่ทำให้ผมรู้สึกว่าครั้งนี้ ไม่เหมือนครั้งก่อน ๆ คือ พอเริ่มนึกภาพระหว่างปล่อยปลากับพ่อ ตักบาตร หรือร่วมหล่อระฆัง ผมรู้สึกว่าผมมีความสุขมาก ผมอยากจะร้องไห้ในความดีครั้งนี้ ผมรู้ตัวว่าผมกำลังยิ้มปากฉีกอยู่ พอผมรู้สึกแบบนี้นั้น ผมรีบอุทิศบุญทันที ให้คนนั้นคนนี้ ผลปรากฎว่า ผมขนลุกและความรู้สึกต่าง ๆ ไม่ว่าจะมีความสุข อิ่มเอม อยากร้องไห้ มันเพิ่มจากครั้งแรกมากกว่าเดิมในเสี้ยววินาทีนี้




อย่างที่บอกว่า อย่ามองแต่เจตนาตัวเดียว เล็งถึงสัมปยุตธรรมอื่นๆด้วย เช่น สัญญา เป็นต้น

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 มิ.ย. 2014, 18:38 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 ก.พ. 2011, 19:56
โพสต์: 1798


 ข้อมูลส่วนตัว


อืมขอถามต่อนะครับ ถ้ากรณี่ผู้สั่งไม่รู้ว่าปลานั้นยังเป็นๆอยู่ เช่นไปร้านอาหาร ไม่ได้เห็นปลานั้นเลย แต่ปลานั้นก็ยังมีชีวิตอยู่ แล้วก็ดูเมนูมีความต้องการจะกินปลากระพงจึงสั่งปลากระพงทอด กุ๊กที่ร้านเลยจับปลาที่อยู่ในอ่างนั้นไปทอดตามคำสั่ง อย่างนี้ึคนสั่งจะบาปมั้ย และมีส่วนแห่งปาณาติบาตรึเปล่า


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 มิ.ย. 2014, 20:31 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


FLAME เขียน:
อืมขอถามต่อนะครับ ถ้ากรณี่ผู้สั่งไม่รู้ว่าปลานั้นยังเป็นๆอยู่ เช่นไปร้านอาหาร ไม่ได้เห็นปลานั้นเลย แต่ปลานั้นก็ยังมีชีวิตอยู่ แล้วก็ดูเมนูมีความต้องการจะกินปลากระพงจึงสั่งปลากระพงทอด กุ๊กที่ร้านเลยจับปลาที่อยู่ในอ่างนั้นไปทอดตามคำสั่ง อย่างนี้ึคนสั่งจะบาปมั้ย และมีส่วนแห่งปาณาติบาตรึเปล่า

ไม่รู้ไม่ทราบ ไม่บาปครับ
เป็นวิบากของปลา และผู้ก่อเวรคือกุ๊กที่ร้านกับเจ้าของร้านครับ

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 มิ.ย. 2014, 20:34 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
wink wink


ไหนลองแหย่เกี่ยวกับเจตนาอีกทีซิ (นึกถึงตัวอื่นที่ประกอบร่วมกันอีกนะ)


เจตนาจึงเป็นเจตจำนง ความจงใจ การเลือกอารมณ์ของใจ ตัวนำที่หันเหชักพาทำให้จิตเคลื่อนไหวโน้มน้อมไปหา หรือผละไปจากสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือมุ่งไปในทิศ ทางใดทิศทางหนึ่ง เป็นหัวหน้าเป็นผู้จัดการ หรือเจ้ากี้เจ้าการของจิตว่า จะเอาอะไรไม่เอาอะไร กับเรื่องใดอย่างไร เป็นตัวการจัดแจงแต่งวิถีทางของจิต และในที่สุดก็เป็นตัวการปรุงแต่งจิตนั้น ให้เป็นไปต่างๆ


เมื่อเจตนาเกิดขึ้นครั้งหนึ่ง ก็คือกรรมเกิด ขึ้นทีหนึ่ง เมื่อกรรมเกิดขึ้นแล้ว ก็มีผลทันที เพราะเมื่อเจตนา เกิดขึ้น ก็คือมีกิจกรรมเกิดขึ้นในจิตแล้ว จิตมีการเคลื่อนไหว หรือไหวตัวแล้ว


แม้เป็นเพียงความคิด อะไรเล็กน้อย ซึ่งถึงจะไม่มีผลอะไรสำคัญ แต่ก็ไม่ไร้ผลเสียเลย อย่างน้อย ก็เป็นละอองกรรมอันละเอียดที่สั่งสม หรือ พอกเข้าไว้เป็นเครื่องปรุง แต่งคุณสมบัติของจิตอยู่ภายใน เมื่อมากขึ้น เช่น จิตเสพความคิดนั้น บ่อยๆ หรือความคิดนั้นรุนแรงขึ้นจนออกมาภายนอก ผลก็แรงขึ้นขยายออกมาเป็นลักษณะนิสัย บุคลิกภาพ เป็นต้น


ยกตัวอย่าง เช่น เจตนาในการทำร้าย ไม่ ต้องพูดถึงกรรมร้ายแรงถึงขั้นจะฆ่าคน แม้แต่การทำลายสิ่งของที่เล็กๆ น้อยๆ เหลือเกิน ถ้าทำด้วยเจตนาทำร้าย คือประกอบด้วยโทสจิตหรือมีความ โกรธ อย่างคนฉีกกระดาษด้วยความฉุนเฉียว ทั้งที่กระดาษนั้นไม่มีคุณค่าสำคัญ อะไร แต่ย่อมมีผลต่อสุขภาพจิต หาเหมือนกันไม่กับการฉีกกระดาษของคนที่ทำด้วยจิตปกติ โดยรู้ว่า จะไม่ใช้กระดาษนั้นแล้ว


เมื่อทำการอะไรๆ ด้วยเจตนาอย่างนั้นบ่อยๆ ผลแห่งการสั่งสมก็จะปรากฏชัดยิ่งขึ้น และ อาจขยายกว้างออกไปในระดับต่างๆโดยลำดับ เปรียบเหมือนฝุ่นละอองที่ปลิวเข้ามาในห้องทีละเล็กละน้อยอย่างที่มิได้ สังเกตเลย ย่อมไม่มีส่วนใดที่ไร้ผลเสียเลย แต่ผลนั้นจะสำคัญแค่ไหน นอกจากเป็นไปตามความแรงและปริมาณของสิ่งที่สั่งสมแล้ว ยังสัมพันธ์กับคุณภาพ และการใช้งานของจิตในระดับต่างๆ อีกด้วย


ฝุ่นละอองปลิวลงจับท้องถนน กว่าจะทำให้รู้สึกสกปรก ก็ต้องมีปริมาณมากมาย

ฝุ่นละอองปลิวลงบนพื้นเรือน แม้น้อยกว่านั้น ก็รู้สึกสกปรก

ฝุ่นละอองน้อยกว่านั้น ลงจับโต๊ะเขียนหนังสือ ก็สกปรก และรบกวนงาน

น้อยกว่านั้นอีก ลงจับกระจกเงาส่องหน้า ก็รู้สึกเปื้อนและกระทบการใช้งาน

ธุลีละอองนิดเดียวลงจับแว่นตา ก็รู้สึกได้และทำให้การเห็นพร่ามัวได้

อุปมาอย่างอื่น เช่น เอามีดขีดที่พื้นถนน ที่พื้นห้อง ที่กระจกแว่นตา ก็ทำนองเดียวกัน

ส่วนในด้านตรงข้ามก็พึงเห็นได้ เช่น การใช้ผ้ากำมะหยี่ หรือ สำลีเล็กน้อยเช็ดพื้นห้องจนถึงเช็ดแว่นตา เป็นต้น

รวมความว่า เจตจำนง คือ เจตนา หรือ กรรมนั้น แม้เล็กน้อย ก็มิได้ไร้ผล อาจอ้างพุทธศาสนสุภาษิตว่า

กรรมดีหรือชั่วทุกอย่างที่คนสั่งสมไว้ ย่อมมีผล ขึ้นชื่อว่ากรรม แม้จะนิดหน่อย ที่จะว่างเปล่าไปเลย ย่อมไม่มี

(อย่านำปะปนกับกรรมที่ให้ผลไม่ให้ผลระดับวิถีชีวิตภายนอก)

และว่า “กรรมไม่ว่าดีหรือชั่ว ย่อมไม่สูญเปล่าเลย

อย่างไรก็ตาม ผลทางด้านกรรมนิยามในระดับจิตใจนี้ คนจำนวนมากคอยจะมองข้าม ไม่เห็นความสำคัญ

นี่ก็มั่วอีก
ใครเขียนบทความนี้ มั่วมาก

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 มิ.ย. 2014, 20:50 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
กรัชกาย เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
wink wink


ไหนลองแหย่เกี่ยวกับเจตนาอีกทีซิ (นึกถึงตัวอื่นที่ประกอบร่วมกันอีกนะ)


เจตนาจึงเป็นเจตจำนง ความจงใจ การเลือกอารมณ์ของใจ ตัวนำที่หันเหชักพาทำให้จิตเคลื่อนไหวโน้มน้อมไปหา หรือผละไปจากสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือมุ่งไปในทิศ ทางใดทิศทางหนึ่ง เป็นหัวหน้าเป็นผู้จัดการ หรือเจ้ากี้เจ้าการของจิตว่า จะเอาอะไรไม่เอาอะไร กับเรื่องใดอย่างไร เป็นตัวการจัดแจงแต่งวิถีทางของจิต และในที่สุดก็เป็นตัวการปรุงแต่งจิตนั้น ให้เป็นไปต่างๆ


เมื่อเจตนาเกิดขึ้นครั้งหนึ่ง ก็คือกรรมเกิด ขึ้นทีหนึ่ง เมื่อกรรมเกิดขึ้นแล้ว ก็มีผลทันที เพราะเมื่อเจตนา เกิดขึ้น ก็คือมีกิจกรรมเกิดขึ้นในจิตแล้ว จิตมีการเคลื่อนไหว หรือไหวตัวแล้ว


แม้เป็นเพียงความคิด อะไรเล็กน้อย ซึ่งถึงจะไม่มีผลอะไรสำคัญ แต่ก็ไม่ไร้ผลเสียเลย อย่างน้อย ก็เป็นละอองกรรมอันละเอียดที่สั่งสม หรือ พอกเข้าไว้เป็นเครื่องปรุง แต่งคุณสมบัติของจิตอยู่ภายใน เมื่อมากขึ้น เช่น จิตเสพความคิดนั้น บ่อยๆ หรือความคิดนั้นรุนแรงขึ้นจนออกมาภายนอก ผลก็แรงขึ้นขยายออกมาเป็นลักษณะนิสัย บุคลิกภาพ เป็นต้น


ยกตัวอย่าง เช่น เจตนาในการทำร้าย ไม่ ต้องพูดถึงกรรมร้ายแรงถึงขั้นจะฆ่าคน แม้แต่การทำลายสิ่งของที่เล็กๆ น้อยๆ เหลือเกิน ถ้าทำด้วยเจตนาทำร้าย คือประกอบด้วยโทสจิตหรือมีความ โกรธ อย่างคนฉีกกระดาษด้วยความฉุนเฉียว ทั้งที่กระดาษนั้นไม่มีคุณค่าสำคัญ อะไร แต่ย่อมมีผลต่อสุขภาพจิต หาเหมือนกันไม่กับการฉีกกระดาษของคนที่ทำด้วยจิตปกติ โดยรู้ว่า จะไม่ใช้กระดาษนั้นแล้ว


เมื่อทำการอะไรๆ ด้วยเจตนาอย่างนั้นบ่อยๆ ผลแห่งการสั่งสมก็จะปรากฏชัดยิ่งขึ้น และ อาจขยายกว้างออกไปในระดับต่างๆโดยลำดับ เปรียบเหมือนฝุ่นละอองที่ปลิวเข้ามาในห้องทีละเล็กละน้อยอย่างที่มิได้ สังเกตเลย ย่อมไม่มีส่วนใดที่ไร้ผลเสียเลย แต่ผลนั้นจะสำคัญแค่ไหน นอกจากเป็นไปตามความแรงและปริมาณของสิ่งที่สั่งสมแล้ว ยังสัมพันธ์กับคุณภาพ และการใช้งานของจิตในระดับต่างๆ อีกด้วย


ฝุ่นละอองปลิวลงจับท้องถนน กว่าจะทำให้รู้สึกสกปรก ก็ต้องมีปริมาณมากมาย

ฝุ่นละอองปลิวลงบนพื้นเรือน แม้น้อยกว่านั้น ก็รู้สึกสกปรก

ฝุ่นละอองน้อยกว่านั้น ลงจับโต๊ะเขียนหนังสือ ก็สกปรก และรบกวนงาน

น้อยกว่านั้นอีก ลงจับกระจกเงาส่องหน้า ก็รู้สึกเปื้อนและกระทบการใช้งาน

ธุลีละอองนิดเดียวลงจับแว่นตา ก็รู้สึกได้และทำให้การเห็นพร่ามัวได้

อุปมาอย่างอื่น เช่น เอามีดขีดที่พื้นถนน ที่พื้นห้อง ที่กระจกแว่นตา ก็ทำนองเดียวกัน

ส่วนในด้านตรงข้ามก็พึงเห็นได้ เช่น การใช้ผ้ากำมะหยี่ หรือ สำลีเล็กน้อยเช็ดพื้นห้องจนถึงเช็ดแว่นตา เป็นต้น

รวมความว่า เจตจำนง คือ เจตนา หรือ กรรมนั้น แม้เล็กน้อย ก็มิได้ไร้ผล อาจอ้างพุทธศาสนสุภาษิตว่า

กรรมดีหรือชั่วทุกอย่างที่คนสั่งสมไว้ ย่อมมีผล ขึ้นชื่อว่ากรรม แม้จะนิดหน่อย ที่จะว่างเปล่าไปเลย ย่อมไม่มี

(อย่านำปะปนกับกรรมที่ให้ผลไม่ให้ผลระดับวิถีชีวิตภายนอก)

และว่า “กรรมไม่ว่าดีหรือชั่ว ย่อมไม่สูญเปล่าเลย

อย่างไรก็ตาม ผลทางด้านกรรมนิยามในระดับจิตใจนี้ คนจำนวนมากคอยจะมองข้าม ไม่เห็นความสำคัญ

นี่ก็มั่วอีก
ใครเขียนบทความนี้ มั่วมาก


บอกให้บอกด้วยว่า มั่วยังไง เอาชัดๆ พร้อมทั้งบทความหรืออะไรก็ได้ที่ตนเองเห็นว่าไม่มั่วมาด้วย :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 มิ.ย. 2014, 20:52 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
FLAME เขียน:
อืมขอถามต่อนะครับ ถ้ากรณี่ผู้สั่งไม่รู้ว่าปลานั้นยังเป็นๆอยู่ เช่นไปร้านอาหาร ไม่ได้เห็นปลานั้นเลย แต่ปลานั้นก็ยังมีชีวิตอยู่ แล้วก็ดูเมนูมีความต้องการจะกินปลากระพงจึงสั่งปลากระพงทอด กุ๊กที่ร้านเลยจับปลาที่อยู่ในอ่างนั้นไปทอดตามคำสั่ง อย่างนี้ึคนสั่งจะบาปมั้ย และมีส่วนแห่งปาณาติบาตรึเปล่า

ไม่รู้ไม่ทราบ ไม่บาปครับ
เป็นวิบากของปลา และผู้ก่อเวรคือกุ๊กที่ร้านกับเจ้าของร้านครับ



เช่นนั้น ถ้ามันยุ่งยากลำบากใจนักก็นะ กินผักจิ้มน้ำเกลือหรือกินข้าวกับน้ำปลาเถอะนะ คิกๆๆ :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 มิ.ย. 2014, 20:54 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
FLAME เขียน:
อืมขอถามต่อนะครับ ถ้ากรณี่ผู้สั่งไม่รู้ว่าปลานั้นยังเป็นๆอยู่ เช่นไปร้านอาหาร ไม่ได้เห็นปลานั้นเลย แต่ปลานั้นก็ยังมีชีวิตอยู่ แล้วก็ดูเมนูมีความต้องการจะกินปลากระพงจึงสั่งปลากระพงทอด กุ๊กที่ร้านเลยจับปลาที่อยู่ในอ่างนั้นไปทอดตามคำสั่ง อย่างนี้ึคนสั่งจะบาปมั้ย และมีส่วนแห่งปาณาติบาตรึเปล่า

ไม่รู้ไม่ทราบ ไม่บาปครับ
เป็นวิบากของปลา และผู้ก่อเวรคือกุ๊กที่ร้านกับเจ้าของร้านครับ



เช่นนั้น ถ้ามันยุ่งยากลำบากใจนักก็นะ กินผักจิ้มน้ำเกลือหรือกินข้าวกับน้ำปลาเถอะนะ คิกๆๆ :b32:

กรัชกายไปบอกคนถามครับ
ผมแจงตามที่ถามครับ

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 มิ.ย. 2014, 20:55 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 ก.พ. 2012, 12:27
โพสต์: 2372

แนวปฏิบัติ: ปฏิจจสมุปบาท และกรรมฐาน
งานอดิเรก: สวดมนต์รภาวนา
อายุ: 27

 ข้อมูลส่วนตัว


คุนน้องก็มีคำถามเหมือนกันเจ้าค่ะ คืออยากทราบเช่นกัน ในกรณีที่เราเข้าร้านอาหารและเป็นนักปฏิบัติธรรมที่มีศีลเคร่งมาก เราเกิดอยากกินปลาขึ้นมาในขณะนั้น แต่สติดันไประลึกเกี่ยวกับกุศลและอกุศลขึ้น คือไประลึกว่าปลาที่อยากกินนั้น นำมาปรุงเป็นอาหาร ปลาเป็นหรือปลาตาย(ในกรณีที่เราเกิดไประลึกรู้ก่อนจะสั่งเมนูปลา...แต่เราก็ตัดสินใจสั่งปลานั้นแล้วเป็นเหตุทำให้ชีวิตสัตว์ตกไปบังเอิญเกิดเป็นปลาเป็นขึ้นมา) แล้วแบบนี้เราจะเป็นผู้มีส่วนร่วมในการฆ่าไหมเจ้าค่ะ ในกรณีที่เราไม่รู้ว่าเป็นปลาเป็นหรือตายแต่ก็ตัดสินใจสั่งเพราะอยากกิน แบบนี้เรียกว่าเจตนาเจาะจงสั่งหรือไม่เจ้าค่ะ แล้วถ้าปลาเป็นปลาที่มีชีวิตเราจะเข้าข่ายมีส่วนร่วมในปาณาติบาตรไหมค่ะ s006


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 มิ.ย. 2014, 20:56 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
กรัชกาย เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
FLAME เขียน:
อืมขอถามต่อนะครับ ถ้ากรณี่ผู้สั่งไม่รู้ว่าปลานั้นยังเป็นๆอยู่ เช่นไปร้านอาหาร ไม่ได้เห็นปลานั้นเลย แต่ปลานั้นก็ยังมีชีวิตอยู่ แล้วก็ดูเมนูมีความต้องการจะกินปลากระพงจึงสั่งปลากระพงทอด กุ๊กที่ร้านเลยจับปลาที่อยู่ในอ่างนั้นไปทอดตามคำสั่ง อย่างนี้ึคนสั่งจะบาปมั้ย และมีส่วนแห่งปาณาติบาตรึเปล่า

ไม่รู้ไม่ทราบ ไม่บาปครับ
เป็นวิบากของปลา และผู้ก่อเวรคือกุ๊กที่ร้านกับเจ้าของร้านครับ



เช่นนั้น ถ้ามันยุ่งยากลำบากใจนักก็นะ กินผักจิ้มน้ำเกลือหรือกินข้าวกับน้ำปลาเถอะนะ คิกๆๆ :b32:

กรัชกายไปบอกคนถามครับ
ผมแจงตามที่ถามครับ


ถามจริงนะ เช่นนั้น แต่ละมื้อๆคุณกินข้าวกับอะไรบ้าง เช่น :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 257 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 ... 18  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 49 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร