วันเวลาปัจจุบัน 23 เม.ย. 2024, 21:14  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 18 โพสต์ ]  ไปที่หน้า 1, 2  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 มิ.ย. 2016, 09:37 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับพูดเรื่องเมตตากรุณา เห็นแล้วคันปากยิบๆ :b32: ยังโยงไปโน่นนี่อีกหลายตัวหลายศัพท์ (ข้อความที่เน้นสีไว้ :b32: )

ดูความหมายเมตตาเป็นต้นกัน ท่านอธิบายไว้ในสัมมาสังกัปปะ (สัมมาสังกัปปะ - ความดำริชอบ ความนึกคิดในทางที่ถูกต้อง ... ตรงข้ามกับความดำริผิด ที่เรียกว่า มิจฉาสังกัปปะ)

ดูโจทก์ก่อน

อ้างคำพูด:
กรัชกาย เขียน:

ไม่บอกให้ไปบวชชีนะ แต่ลงคำสอนที่เป็นสัจธรรมให้ดูก่อน

"ดูกรภิกษุทั้งหลาย ความรักเป็นความร้าย ความรักเป็นสิ่งทารุณและเป็นเครื่องทำลายความสุขของปวงชน ทุกคนต้องการความสมหวังในชีวิตรัก แต่ความรักไม่เคยให้ความสมหวังแก่ใครถึงครึ่งหนึ่งแห่งความต้องการ ยิ่งความรักที่ฉาบทาด้วยความเสน่หาด้วยแล้ว ก็เป็นพิษแก่จิตใจ ทำให้ทุรนทุรายดิ้นรนไม่รู้จักจบสิ้น ความสุขที่เกิดจากความรักนั้นเหมือนความสบายของคนป่วยที่ได้กินของแสลง เธอทั้งหลายอย่าพอใจในความรักเลย เมื่อจิตใจยึดไว้ด้วยความรัก จิตใจนั้นจะสร้างความหวังขึ้นอย่างเจิดจ้า แต่ทุกครั้งที่เราหวัง ความผิดหวังก็จะรอเราอยู่"

คิดจะรักจงลืมคำว่าเสียใจ

ความรักความเสน่หา ไม่มีสูตรตายตัว ต้องปรับต้องแก้กันจนวันตาย ดีกันบ้าง ทะเลาะกันบ้าง ทำไปทำมาตัดใจได้ปลงใจได้ เมื่อกาลเวลาผ่านไปๆ และผ่านไป


โฮฮับตอบ

สอนได้เลอะเทอะมาก! พูดมาได้ความรักเป็นร้าย ความรักมันเป็นบ่อเกิดแห่ง ความเมตตาและกรุณา
สัตว์โลกทุกผู้ทุกนามไม่สามารถหลีกเลี่ยงความรักได้ นั้นเป็นเพราะความรักเป็นธรรมชาติที่อยู่คู่โลก

ความรักเป็นสิ่งดี แต่ความรักเป็นสังโยชน์อย่างหนึ่งที่เหนียวรั้งให้บุคคลต้องเวียนว่ายในวัฏสงสาร
ความรักย่อมนำมาซึ่งความทุกข์ ทุกข์ในที่นี้ก็คือ ทุกข์อันเกิดจากความห่วงหาอาทร

กับตัว จขกท นั้นไม่ใช่ความรัก แต่เป็นกามฉันทะหรือความหลงในรูป
ซึ่งก็เป็นสังโยชน์เช่นกัน......แต่กามฉันทะสามารถปล่อยวางได้ง่ายกว่าความรัก


ที่นี่

viewtopic.php?f=1&t=52588

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 มิ.ย. 2016, 10:22 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เอาเนื้อๆก่อน

เมตตา หมายถึง ไมตรี ความรัก ความปรารถนาดี อยากให้เขามีความสุข ความเห็นอกเห็นใจ ความเข้าใจดีต่อกัน ความใฝ่ใจหรือต้องการสร้างเสริมประโยชน์สุขให้แก่เพื่อนมนุษย์และสัตว์ทั้ง หลาย


เมตตาเป็นธรรมกลางๆ กลางทั้งในแง่ผู้ควรมีเมตตา และในแง่ผู้ควรได้รับเมตตา จึงควรมีทั้งผู้น้อยต่อผู้ใหญ่ และผู้ใหญ่ต่อผู้น้อย คนจนต่อคนมี และคนมีต่อคนจน ยาจกต่อเศรษฐี และเศรษฐีต่อยาจก คนฐานะต่ำต่อคนฐานะสูง และคนฐานะสูงต่อคนฐานะต่ำ คฤหัสถ์ต่อพระสงฆ์ และพระสงฆ์ต่อคฤหัสถ์ เป็นธรรมพื้นฐานของใจขั้นแรก ในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ซึ่งทำให้มองกันในแง่ดี หวังดีต่อกัน พร้อมที่จะรับฟังและเจรจาเหตุผลของกันและกัน ไม่ยึดเอาความเห็นแก่ตัว หรือความเกลียดชังเป็นที่ตั้ง


ข้อสังเกตสำคัญอีกอย่างหนึ่งของเมตตา ก็คือ สมบัติ และวิบัติของเมตตา

สมบัติ ได้แก่ ความสมบูรณ์ หรือผลสำเร็จที่ต้องการของเมตตา

วิบัติ ได้แก่ ความล้มเหลว ความไม่สำเร็จ การปฏิบัติที่คลาดเคลื่อนผิดพลาด

เมื่อว่าตามหลัก สมบัติของเมตตา คือ ระงับพยาบาทได้ (พยาปาทุปสโม เอติสฺสา สมฺปตฺติ)

วิบัติของเมตตา คือ การเกิดสิเนหะ (สิเนหสมฺภโว วิปตฺติ)

ในแง่สมบัติ ไม่มีข้อสังเกตพิเศษ

แต่ในแง่วิบัติ มีเรื่องที่ต้องสังเกตอย่างสำคัญ สิเนหะ หมายถึง เสน่หา ความรักใคร่เยื่อใยเฉพาะบุคคล ความพอใจ โปรดปรานส่วนตัว เช่น ปุตตสิเหนะ ความรักอย่างบุตร ภริยา สิเนหะ ความรักใคร่ฐานภรรยา เป็นต้น

สิเนหะ คือ เสน่หา เป็นเหตุให้เกิดความลำเอียง ทำให้ช่วยเหลือกันในทางที่ผิดได้ อย่างที่เรียกว่า เกิดฉันทาคติ (ลำเอียงเพราะรักใคร่) ที่ได้ยินพูดกันว่า “ท่านเมตตาฉันเป็นพิเศษ” “นายเมตตาเขามาก” เป็นต้น นั้น เป็นเรื่องของสิเนหะ ซึ่งเป็นความวิบัติของเมตตามากกว่า หาใช่เมตตาไม่


ส่วนเมตตาที่แท้จริงนั้น เป็นธรรมที่เอื้อต่อการรักษาความเที่ยงธรรม เพราะเป็นธรรมกลางๆ ทำให้มีภาวะจิตที่ปราศจากความเห็นแก่ตัว ที่จะเอนเอียงเข้าหา ปราศจากความเกลียดชังคิดร้าย มีไมตรี ปรารถนาดีต่อคนทุกคนสม่ำเสมอกัน จึงช่วยให้พิจารณาตัดสินและกระทำการต่างๆ ไปตามเหตุผล โดยมุ่งประโยชน์สุขที่แท้จริงแก่คนทั้งหลาย มิใช่มุ่งสิ่งที่เขาหรือคนชอบหรืออยากได้อยากเอา

เมตตาที่จริง จะเป็นไปในแบบที่ว่า

“พระผู้มีพระภาคนั้น มีใจเสมอกัน ทั้งต่อนายขมังธนู (ที่รับจ้างมาลอบสังหารพระองค์) ต่อพระเทวทัต ต่อโจรองคุลิมาล ต่อช้างธนบาล (ที่พระเทวทัตปล่อยมาเพื่อฆ่าพระองค์) และต่อพระราหุล ทั่วทุกคน”
(ขุ.อป.32/868)

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 มิ.ย. 2016, 10:35 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Kiss
อ้างคำพูด:
ความรักเป็นสังโยชน์

คุณโฮฮับบอกว่าความรักเป็นสังโยชน์ :b10:
จริงหรอขอคำอธิบายโดยละเอียดด้วยค่ะ
:b39: :b39:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 มิ.ย. 2016, 10:42 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
Kiss
อ้างคำพูด:
ความรักเป็นสังโยชน์

คุณโฮฮับบอกว่าความรักเป็นสังโยชน์ :b10:
จริงหรอขอคำอธิบายโดยละเอียดด้วยค่ะ
:b39: :b39:



อ้างคำพูด:
กับตัว จขกท นั้นไม่ใช่ความรัก แต่เป็นกามฉันทะหรือความหลงในรูป
ซึ่งก็เป็นสังโยชน์เช่นกัน......แต่กามฉันทะสามารถปล่อยวางได้ง่ายกว่าความรัก


นั่นเข้าใจผิดข้อที่หนึ่ง (ถ้าจะพูดรวมๆว่าความรักทุกอย่างเป็นกิเลสพอฟัง)

ดูที่เน้นสังเกตไว้

กามฉันท์ เป็นนิวรณ์ข้อ ๑ ไม่ใช่สังโยชน์


อย่างที่บอกไว้ โฮฮับจับศัพท์นั่นนี่มาโยงไปไขว่มาเป็นประดุจทางต่างระดับ คิกๆๆ คนไม่คุ้นกับศัพท์และความหมายของภาษาเค้า จะอื้อฮือหล่อจัง

https://www.youtube.com/watch?v=uRT06ZbLR9o

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 มิ.ย. 2016, 10:55 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


วางหลักให้สังเกต

สังโยชน์ (สัญโญชน์) กิเลสที่ผู้มัดใจสัตว์, ธรรมที่มัดสัตว์ไว้กับทุกข์ มี ๑๐ อย่าง คือ ก. โอรัมภาคิยสังโยชน์ สังโยชน์เบื้องต่ำ ๕ ได้แก่ สักกายทิฏฐิ -ความเห็นว่าเป็นตัวของตน ๒. วิจิกิจฉา - ความลังเลสงสัย ๓. สีลัพพตปรามาส -ความถือมั่นศีลพรต ๔. กามราคะ - ความติดใจในกามคุณ ๕ ปฏิฆะ - ความกระทบกระทั่งในใจ

ข. อุทธัมภาคิยสังโยชน์ สังโยชน์เบื้องสูง ๕ ได้แก่ ๖. รูปราคะ - ความติดใจในรูปธรรมอันประณีต ๗. อรูปราคะ - ความติดใจในอรูปธรรม ๘. มานะ - ความถือว่าตัวเป็นนั่นเป็นนี่ ๙. อุทธัจจะ - ความฟุ้งซ่าน ๑๐ อวิชชา - ความไม่รู้จริง


อ้างคำพูด:
โฮฮับ

สอนได้เลอะเทอะมาก! พูดมาได้ความรักเป็นร้าย ความรักมันเป็นบ่อเกิดแห่ง ความเมตตาและกรุณา
สัตว์โลกทุกผู้ทุกนามไม่สามารถหลีกเลี่ยงความรักได้ นั้นเป็นเพราะความรักเป็นธรรมชาติที่อยู่คู่โลก

ความรักเป็นสิ่งดี แต่ความรักเป็นสังโยชน์อย่างหนึ่งที่เหนียวรั้งให้บุคคลต้องเวียนว่ายในวัฏสงสาร
ความรักย่อมนำมาซึ่งความทุกข์ ทุกข์ในที่นี้ก็คือ ทุกข์อันเกิดจากความห่วงหาอาทร

กับตัว จขกท นั้นไม่ใช่ความรัก แต่เป็นกามฉันทะหรือความหลงในรูป
ซึ่งก็เป็นสังโยชน์เช่นกัน......แต่กามฉันทะสามารถปล่อยวางได้ง่ายกว่าความรัก


พันกันจนสับสนไปหมด

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 มิ.ย. 2016, 11:02 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


นิวรณ์ (ศัตรูของสมาธิ) มี ๕ อย่าง ให้ดูข้อที่อ้างถึง

๑. กามฉันท์ ความอยากได้ อยากเอา (แปลตามศัพท์ว่า ความพอใจในกาม) หรืออภิชฌา ความเพ่งเล็งอยากได้ หรือจ้องจะเอา หมายถึง ความอยากได้กามคุณทั้ง ๕ คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ เป็นกิเลสพวกโลภะ จิตที่ถูกล่อด้วยอารมณ์ต่างๆ คิดอยากได้โน่นอยากได้นี่ ติดใจโน่นติดใจนี่ คอยเขวออกไปหาอารมณ์อื่น ครุ่นข้องอยู่ ย่อมไม่ตั้งมั่น ไม่เดินเรียบไป ไม่อาจเป็นสมาธิได้


ที่เหลือดูที่นี่

viewtopic.php?f=1&t=52507

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 มิ.ย. 2016, 11:46 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
วางหลักให้สังเกต

สังโยชน์ (สัญโญชน์) กิเลสที่ผู้มัดใจสัตว์, ธรรมที่มัดสัตว์ไว้กับทุกข์ มี ๑๐ อย่าง คือ ก. โอรัมภาคิยสังโยชน์ สังโยชน์เบื้องต่ำ ๕ ได้แก่ สักกายทิฏฐิ -ความเห็นว่าเป็นตัวของตน ๒. วิจิกิจฉา - ความลังเลสงสัย ๓. สีลัพพตปรามาส -ความถือมั่นศีลพรต ๔. กามราคะ - ความติดใจในกามคุณ ๕ ปฏิฆะ - ความกระทบกระทั่งในใจ

ข. อุทธัมภาคิยสังโยชน์ สังโยชน์เบื้องสูง ๕ ได้แก่ ๖. รูปราคะ - ความติดใจในรูปธรรมอันประณีต ๗. อรูปราคะ - ความติดใจในอรูปธรรม ๘. มานะ - ความถือว่าตัวเป็นนั่นเป็นนี่ ๙. อุทธัจจะ - ความฟุ้งซ่าน ๑๐ อวิชชา - ความไม่รู้จริง


อ้างคำพูด:
โฮฮับ

สอนได้เลอะเทอะมาก! พูดมาได้ความรักเป็นร้าย ความรักมันเป็นบ่อเกิดแห่ง ความเมตตาและกรุณา
สัตว์โลกทุกผู้ทุกนามไม่สามารถหลีกเลี่ยงความรักได้ นั้นเป็นเพราะความรักเป็นธรรมชาติที่อยู่คู่โลก

ความรักเป็นสิ่งดี แต่ความรักเป็นสังโยชน์อย่างหนึ่งที่เหนียวรั้งให้บุคคลต้องเวียนว่ายในวัฏสงสาร
ความรักย่อมนำมาซึ่งความทุกข์ ทุกข์ในที่นี้ก็คือ ทุกข์อันเกิดจากความห่วงหาอาทร

กับตัว จขกท นั้นไม่ใช่ความรัก แต่เป็นกามฉันทะหรือความหลงในรูป
ซึ่งก็เป็นสังโยชน์เช่นกัน......แต่กามฉันทะสามารถปล่อยวางได้ง่ายกว่าความรัก


พันกันจนสับสนไปหมด

:b1:
ความสัมพันธ์ทางเพศอาจไม่มีความรักมาเกี่ยวข้องก็ได้จริงไหมคะ
สงสัยคุณโฮฮับตีความว่ากามราคะเป็นการติดใจในเพศสัมพันธ์ไหม
:b17: :b17:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 มิ.ย. 2016, 12:24 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
Kiss
อ้างคำพูด:
ความรักเป็นสังโยชน์

คุณโฮฮับบอกว่าความรักเป็นสังโยชน์ :b10:
จริงหรอขอคำอธิบายโดยละเอียดด้วยค่ะ
:b39: :b39:


คำว่า "รัก"คำนี้มันเป็นโวหาร เป็นภาษาที่ใช้สื่อสารกันไม่เกี่ยวกับธรรม
แต่ถ้าเป็นเรื่องของธรรม จะใช้โวหารไม่ได้ เราจะต้องชี้ชัดลงไปให้รู้ลักษณะของธรรม
ด้วยเหตุนี้จึงต้องเอาโวหารนั้นไปเทียบเคียงธรรมหรือชี้ชัดให้ตรงกับพุทธพจน์

โดยสภาของธรรมแล้ว รัก ก็คือ......รูปราคะ เป็นหนึ่งในสังโยชน์ทั้งหลาย


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 มิ.ย. 2016, 12:29 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
วางหลักให้สังเกต

สังโยชน์ (สัญโญชน์) กิเลสที่ผู้มัดใจสัตว์, ธรรมที่มัดสัตว์ไว้กับทุกข์ มี ๑๐ อย่าง คือ ก. โอรัมภาคิยสังโยชน์ สังโยชน์เบื้องต่ำ ๕ ได้แก่ สักกายทิฏฐิ -ความเห็นว่าเป็นตัวของตน ๒. วิจิกิจฉา - ความลังเลสงสัย ๓. สีลัพพตปรามาส -ความถือมั่นศีลพรต ๔. กามราคะ - ความติดใจในกามคุณ ๕ ปฏิฆะ - ความกระทบกระทั่งในใจ

ข. อุทธัมภาคิยสังโยชน์ สังโยชน์เบื้องสูง ๕ ได้แก่ ๖. รูปราคะ - ความติดใจในรูปธรรมอันประณีต ๗. อรูปราคะ - ความติดใจในอรูปธรรม ๘. มานะ - ความถือว่าตัวเป็นนั่นเป็นนี่ ๙. อุทธัจจะ - ความฟุ้งซ่าน ๑๐ อวิชชา - ความไม่รู้จริง


อ้างคำพูด:
โฮฮับ

สอนได้เลอะเทอะมาก! พูดมาได้ความรักเป็นร้าย ความรักมันเป็นบ่อเกิดแห่ง ความเมตตาและกรุณา
สัตว์โลกทุกผู้ทุกนามไม่สามารถหลีกเลี่ยงความรักได้ นั้นเป็นเพราะความรักเป็นธรรมชาติที่อยู่คู่โลก

ความรักเป็นสิ่งดี แต่ความรักเป็นสังโยชน์อย่างหนึ่งที่เหนียวรั้งให้บุคคลต้องเวียนว่ายในวัฏสงสาร
ความรักย่อมนำมาซึ่งความทุกข์ ทุกข์ในที่นี้ก็คือ ทุกข์อันเกิดจากความห่วงหาอาทร

กับตัว จขกท นั้นไม่ใช่ความรัก แต่เป็นกามฉันทะหรือความหลงในรูป
ซึ่งก็เป็นสังโยชน์เช่นกัน......แต่กามฉันทะสามารถปล่อยวางได้ง่ายกว่าความรัก


พันกันจนสับสนไปหมด

:b1:
ความสัมพันธ์ทางเพศอาจไม่มีความรักมาเกี่ยวข้องก็ได้จริงไหมคะ
สงสัยคุณโฮฮับตีความว่ากามราคะเป็นการติดใจในเพศสัมพันธ์ไหม
:b17: :b17:


เลอะเทอะ! กามราคะเรียกอีกอย่างว่า กามฉันทะ
กามราคะหรือกามราคะ ไม่ได้เกี่ยวกับเรื่องเพศสัมพันธ์

กามราคะเป็นเรื่องของความอยากหรือไม่อยากในวัตถุธรรมทั้ง๕ ได้แก่ รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 มิ.ย. 2016, 14:13 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
เอาเนื้อๆก่อน

เมตตา หมายถึง ไมตรี ความรัก ความปรารถนาดี อยากให้เขามีความสุข ความเห็นอกเห็นใจ ความเข้าใจดีต่อกัน ความใฝ่ใจหรือต้องการสร้างเสริมประโยชน์สุขให้แก่เพื่อนมนุษย์และสัตว์ทั้ง หลาย


เมตตาเป็นธรรมกลางๆ กลางทั้งในแง่ผู้ควรมีเมตตา และในแง่ผู้ควรได้รับเมตตา จึงควรมีทั้งผู้น้อยต่อผู้ใหญ่ และผู้ใหญ่ต่อผู้น้อย คนจนต่อคนมี และคนมีต่อคนจน ยาจกต่อเศรษฐี และเศรษฐีต่อยาจก คนฐานะต่ำต่อคนฐานะสูง และคนฐานะสูงต่อคนฐานะต่ำ คฤหัสถ์ต่อพระสงฆ์ และพระสงฆ์ต่อคฤหัสถ์ เป็นธรรมพื้นฐานของใจขั้นแรก ในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ซึ่งทำให้มองกันในแง่ดี หวังดีต่อกัน พร้อมที่จะรับฟังและเจรจาเหตุผลของกันและกัน ไม่ยึดเอาความเห็นแก่ตัว หรือความเกลียดชังเป็นที่ตั้ง


ข้อสังเกตสำคัญอีกอย่างหนึ่งของเมตตา ก็คือ สมบัติ และวิบัติของเมตตา

สมบัติ ได้แก่ ความสมบูรณ์ หรือผลสำเร็จที่ต้องการของเมตตา

วิบัติ ได้แก่ ความล้มเหลว ความไม่สำเร็จ การปฏิบัติที่คลาดเคลื่อนผิดพลาด

เมื่อว่าตามหลัก สมบัติของเมตตา คือ ระงับพยาบาทได้ (พยาปาทุปสโม เอติสฺสา สมฺปตฺติ)

วิบัติของเมตตา คือ การเกิดสิเนหะ (สิเนหสมฺภโว วิปตฺติ)

ในแง่สมบัติ ไม่มีข้อสังเกตพิเศษ

แต่ในแง่วิบัติ มีเรื่องที่ต้องสังเกตอย่างสำคัญ สิเนหะ หมายถึง เสน่หา ความรักใคร่เยื่อใยเฉพาะบุคคล ความพอใจ โปรดปรานส่วนตัว เช่น ปุตตสิเหนะ ความรักอย่างบุตร ภริยา สิเนหะ ความรักใคร่ฐานภรรยา เป็นต้น

สิเนหะ คือ เสน่หา เป็นเหตุให้เกิดความลำเอียง ทำให้ช่วยเหลือกันในทางที่ผิดได้ อย่างที่เรียกว่า เกิดฉันทาคติ (ลำเอียงเพราะรักใคร่) ที่ได้ยินพูดกันว่า “ท่านเมตตาฉันเป็นพิเศษ” “นายเมตตาเขามาก” เป็นต้น นั้น เป็นเรื่องของสิเนหะ ซึ่งเป็นความวิบัติของเมตตามากกว่า หาใช่เมตตาไม่


ส่วนเมตตาที่แท้จริงนั้น เป็นธรรมที่เอื้อต่อการรักษาความเที่ยงธรรม เพราะเป็นธรรมกลางๆ ทำให้มีภาวะจิตที่ปราศจากความเห็นแก่ตัว ที่จะเอนเอียงเข้าหา ปราศจากความเกลียดชังคิดร้าย มีไมตรี ปรารถนาดีต่อคนทุกคนสม่ำเสมอกัน จึงช่วยให้พิจารณาตัดสินและกระทำการต่างๆ ไปตามเหตุผล โดยมุ่งประโยชน์สุขที่แท้จริงแก่คนทั้งหลาย มิใช่มุ่งสิ่งที่เขาหรือคนชอบหรืออยากได้อยากเอา

เมตตาที่จริง จะเป็นไปในแบบที่ว่า

“พระผู้มีพระภาคนั้น มีใจเสมอกัน ทั้งต่อนายขมังธนู (ที่รับจ้างมาลอบสังหารพระองค์) ต่อพระเทวทัต ต่อโจรองคุลิมาล ต่อช้างธนบาล (ที่พระเทวทัตปล่อยมาเพื่อฆ่าพระองค์) และต่อพระราหุล ทั่วทุกคน”
(ขุ.อป.32/868)



วันก่อน
โต้วาทีเรื่องวิบัติทางline

เราบอกวิบัติของเมตตาคือความลำเอียง

คนนั้นบอกผิด
เลยไขว้เขว

ไม่แน่ใจที่ตนเองพูดออกไป

อนุโมทนาครับ

เอาความรู้มาให้อ่านกกระจ่างขึ้น

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 มิ.ย. 2016, 14:37 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
Rosarin เขียน:
Kiss
อ้างคำพูด:
ความรักเป็นสังโยชน์

คุณโฮฮับบอกว่าความรักเป็นสังโยชน์ :b10:
จริงหรอขอคำอธิบายโดยละเอียดด้วยค่ะ
:b39: :b39:


คำว่า "รัก"คำนี้มันเป็นโวหาร เป็นภาษาที่ใช้สื่อสารกันไม่เกี่ยวกับธรรม
แต่ถ้าเป็นเรื่องของธรรม จะใช้โวหารไม่ได้ เราจะต้องชี้ชัดลงไปให้รู้ลักษณะของธรรม
ด้วยเหตุนี้จึงต้องเอาโวหารนั้นไปเทียบเคียงธรรมหรือชี้ชัดให้ตรงกับพุทธพจน์

โดยสภาของธรรมแล้ว รัก ก็คือ......รูปราคะ เป็นหนึ่งในสังโยชน์ทั้งหลาย





โฮฮับพูดยังไง กลับไปกลับมา ก่อนหน้าบอก นี่

อ้างคำพูด:
ความรักมันเป็นบ่อเกิดแห่ง ความเมตตาและกรุณา


ผ่านไปไม่กี่ชั่วโมง ว่านี้

อ้างคำพูด:
รักคำนี้มันเป็นโวหาร เป็นภาษาที่ใช้สื่อสารกันไม่เกี่ยวกับธรรม


คำว่า ธรรม เป็นคำกลาง ทุกสรรพสิ่งเรียกธรรมได้ทั้งหมด ถ้าต้องการแยกย่อยให้ชัดก็แจกเป็นรูปธรรม นามธรรม โลกียธรรม โลกุตรธรรม กุศลธรรม อกุศลธรรม สังขตธรรม อสังขตธรรม


รูปราคะ อรูปราคะ คำพวกนี้หมายถึงรูปฌาน อรูปฌานจ้า

ไม่ไหวมิจฉาทิฏฐิแรงมาก จองนรกไว้เลย คิกๆๆ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 มิ.ย. 2016, 17:44 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
โฮฮับ เขียน:
Rosarin เขียน:
Kiss
อ้างคำพูด:
ความรักเป็นสังโยชน์

คุณโฮฮับบอกว่าความรักเป็นสังโยชน์ :b10:
จริงหรอขอคำอธิบายโดยละเอียดด้วยค่ะ
:b39: :b39:


คำว่า "รัก"คำนี้มันเป็นโวหาร เป็นภาษาที่ใช้สื่อสารกันไม่เกี่ยวกับธรรม
แต่ถ้าเป็นเรื่องของธรรม จะใช้โวหารไม่ได้ เราจะต้องชี้ชัดลงไปให้รู้ลักษณะของธรรม
ด้วยเหตุนี้จึงต้องเอาโวหารนั้นไปเทียบเคียงธรรมหรือชี้ชัดให้ตรงกับพุทธพจน์

โดยสภาของธรรมแล้ว รัก ก็คือ......รูปราคะ เป็นหนึ่งในสังโยชน์ทั้งหลาย





โฮฮับพูดยังไง กลับไปกลับมา ก่อนหน้าบอก นี่

อ้างคำพูด:
ความรักมันเป็นบ่อเกิดแห่ง ความเมตตาและกรุณา


ผ่านไปไม่กี่ชั่วโมง ว่านี้

อ้างคำพูด:
รักคำนี้มันเป็นโวหาร เป็นภาษาที่ใช้สื่อสารกันไม่เกี่ยวกับธรรม


คำว่า ธรรม เป็นคำกลาง ทุกสรรพสิ่งเรียกธรรมได้ทั้งหมด ถ้าต้องการแยกย่อยให้ชัดก็แจกเป็นรูปธรรม นามธรรม โลกียธรรม โลกุตรธรรม กุศลธรรม อกุศลธรรม สังขตธรรม อสังขตธรรม


รูปราคะ อรูปราคะ คำพวกนี้หมายถึงรูปฌาน อรูปฌานจ้า

ไม่ไหวมิจฉาทิฏฐิแรงมาก จองนรกไว้เลย คิกๆๆ


ถามจริงเคยใช้สมองคิดบ้างมั้ย บอกว่า ความรักเป็นบ่อเกิดแห่งเมตตาและกรุณา

และอธิบายว่า ความรัก ก็คือรูปราคะ ...นี่แสดงว่ามันตัวเดียวกัน

ฉะนั้นรูปราคะก็เป็นบ่อเกิดแห่งความเมตตาและกรุณา

หัดใช้สมองบ้างนะ เดี๋ยวมันก็ฝ่อหมดหรอก

เรื่องรูปฌาน อรูปฌาน เป็นเรื่องของโยคี ถ้าจะคุยเรื่องนี้แนะนำให้ไปคุยกับแขกขายโรตี :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 มิ.ย. 2016, 07:23 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โฮฮับ เขียน:
Rosarin เขียน:
Kiss
อ้างคำพูด:
ความรักเป็นสังโยชน์

คุณโฮฮับบอกว่าความรักเป็นสังโยชน์ :b10:
จริงหรอขอคำอธิบายโดยละเอียดด้วยค่ะ
:b39: :b39:


คำว่า "รัก"คำนี้มันเป็นโวหาร เป็นภาษาที่ใช้สื่อสารกันไม่เกี่ยวกับธรรม
แต่ถ้าเป็นเรื่องของธรรม จะใช้โวหารไม่ได้ เราจะต้องชี้ชัดลงไปให้รู้ลักษณะของธรรม
ด้วยเหตุนี้จึงต้องเอาโวหารนั้นไปเทียบเคียงธรรมหรือชี้ชัดให้ตรงกับพุทธพจน์

โดยสภาของธรรมแล้ว รัก ก็คือ......รูปราคะ เป็นหนึ่งในสังโยชน์ทั้งหลาย





โฮฮับพูดยังไง กลับไปกลับมา ก่อนหน้าบอก นี่

อ้างคำพูด:
ความรักมันเป็นบ่อเกิดแห่ง ความเมตตาและกรุณา


ผ่านไปไม่กี่ชั่วโมง ว่านี้

อ้างคำพูด:
รักคำนี้มันเป็นโวหาร เป็นภาษาที่ใช้สื่อสารกันไม่เกี่ยวกับธรรม


คำว่า ธรรม เป็นคำกลาง ทุกสรรพสิ่งเรียกธรรมได้ทั้งหมด ถ้าต้องการแยกย่อยให้ชัดก็แจกเป็นรูปธรรม นามธรรม โลกียธรรม โลกุตรธรรม กุศลธรรม อกุศลธรรม สังขตธรรม อสังขตธรรม


รูปราคะ อรูปราคะ คำพวกนี้หมายถึงรูปฌาน อรูปฌานจ้า

ไม่ไหวมิจฉาทิฏฐิแรงมาก จองนรกไว้เลย คิกๆๆ


ถามจริงเคยใช้สมองคิดบ้างมั้ย บอกว่า ความรักเป็นบ่อเกิดแห่งเมตตาและกรุณา

และอธิบายว่า ความรัก ก็คือรูปราคะ ...นี่แสดงว่ามันตัวเดียวกัน

ฉะนั้นรูปราคะก็เป็นบ่อเกิดแห่งความเมตตาและกรุณา

หัดใช้สมองบ้างนะ เดี๋ยวมันก็ฝ่อหมดหรอก

เรื่องรูปฌาน อรูปฌาน เป็นเรื่องของโยคี ถ้าจะคุยเรื่องนี้แนะนำให้ไปคุยกับแขกขายโรตี :b32:



แนะๆมีเถียงอีก รูปราคะ ไม่ใช่มาจากแขกหรอ

เอาชัดๆเลย พระพุทธเจ้าสอนแขก หรือสอนคนไทย มีช้อยให้เลือก

1. สอนคนไทย

2. สอนแขก

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 มิ.ย. 2016, 08:12 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เจอะคำถามนั่นเข้าไป โฮฮับเพ่นไปเหลียวหลังอีก :b32: ตายเกิดๆอีกร้อยชาติก็ไม่เข้าใจพุทธธรรม ก็บอกแล้วว่าจับศัพท์นั่นโยงศัพท์นี่โยงกันไปไขว่กันมาโดยผสมกับมโนภาพของตนเอง :b13:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 มิ.ย. 2016, 08:23 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
โฮฮับ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โฮฮับ เขียน:
Rosarin เขียน:
Kiss
อ้างคำพูด:
ความรักเป็นสังโยชน์

คุณโฮฮับบอกว่าความรักเป็นสังโยชน์ :b10:
จริงหรอขอคำอธิบายโดยละเอียดด้วยค่ะ
:b39: :b39:


คำว่า "รัก"คำนี้มันเป็นโวหาร เป็นภาษาที่ใช้สื่อสารกันไม่เกี่ยวกับธรรม
แต่ถ้าเป็นเรื่องของธรรม จะใช้โวหารไม่ได้ เราจะต้องชี้ชัดลงไปให้รู้ลักษณะของธรรม
ด้วยเหตุนี้จึงต้องเอาโวหารนั้นไปเทียบเคียงธรรมหรือชี้ชัดให้ตรงกับพุทธพจน์

โดยสภาของธรรมแล้ว รัก ก็คือ......รูปราคะ เป็นหนึ่งในสังโยชน์ทั้งหลาย



โฮฮับพูดยังไง กลับไปกลับมา ก่อนหน้าบอก นี่

อ้างคำพูด:
ความรักมันเป็นบ่อเกิดแห่ง ความเมตตาและกรุณา


ผ่านไปไม่กี่ชั่วโมง ว่านี้

อ้างคำพูด:
รักคำนี้มันเป็นโวหาร เป็นภาษาที่ใช้สื่อสารกันไม่เกี่ยวกับธรรม


คำว่า ธรรม เป็นคำกลาง ทุกสรรพสิ่งเรียกธรรมได้ทั้งหมด ถ้าต้องการแยกย่อยให้ชัดก็แจกเป็นรูปธรรม นามธรรม โลกียธรรม โลกุตรธรรม กุศลธรรม อกุศลธรรม สังขตธรรม อสังขตธรรม


รูปราคะ อรูปราคะ คำพวกนี้หมายถึงรูปฌาน อรูปฌานจ้า

ไม่ไหวมิจฉาทิฏฐิแรงมาก จองนรกไว้เลย คิกๆๆ


ถามจริงเคยใช้สมองคิดบ้างมั้ย บอกว่า ความรักเป็นบ่อเกิดแห่งเมตตาและกรุณา

และอธิบายว่า ความรัก ก็คือรูปราคะ ...นี่แสดงว่ามันตัวเดียวกัน

ฉะนั้นรูปราคะก็เป็นบ่อเกิดแห่งความเมตตาและกรุณา

หัดใช้สมองบ้างนะ เดี๋ยวมันก็ฝ่อหมดหรอก

เรื่องรูปฌาน อรูปฌาน เป็นเรื่องของโยคี ถ้าจะคุยเรื่องนี้แนะนำให้ไปคุยกับแขกขายโรตี :b32:



แนะๆมีเถียงอีก รูปราคะ ไม่ใช่มาจากแขกหรอ

เอาชัดๆเลย พระพุทธเจ้าสอนแขก หรือสอนคนไทย มีช้อยให้เลือก

1. สอนคนไทย

2. สอนแขก


ที่ไม่อยากต่อล้อต่อเถียงเพราะรำคาญ มันก็ไม่รู้สึกรู้สา...เฮ้อ!!

ในสมัยพุทธกาลมันไม่มีแขก คนในสมัยนั้นส่วนใหญ่มีเชื้อสายมาจาก..อารยัน
อารยันมีลักษณะที่แตกต่างจากแขก(อินเดีย)ในสมัยนี้


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 18 โพสต์ ]  ไปที่หน้า 1, 2  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 65 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร