วันเวลาปัจจุบัน 29 มี.ค. 2024, 03:28  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 355 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 6, 7, 8, 9, 10, 11, 12 ... 24  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 05 ก.ย. 2018, 11:16 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7503

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ตอนนี้พูดได้เต็มปากว่า คุณโรสศิษย์บ้านธัมมะโดยแม่สุจิน ไม่ถึงกับบ้านะ แต่ออกเพี้ยนๆทางความคิด อ้าวจริงๆ คิดไปได้

tongue
อย่าคิดเองบอกแล้วว่าคิดเองมันผิดทางปรโตโฆษะอ่านตรงๆนะ
คำสอนแทนศาสดาไม่ใช่ตัวบุคคลต้องอาศัยฟังคนอื่นบอก
แล้วคิดตามตรงทางที่จิตตนรู้เช่นรู้เรื่องจิตเห็นฟังว่า
จิตเห็นรูปสีสันวรรณะแต่ตนกำลังเห็นอะไรคะ
มันเลยเห็นเป็นจิตคิดนึกแล้วพอกะพริบตา
ยังไม่ไปไหนเลยนะกิเลสเพิ่มแล้วค่ะ
ทำอะไรได้ไหมเพราะไม่ได้กำลัง
คิดตามเสียงตรงความจริงที่
ตนกำลังมีตรงขณะไงคะ
เลยมีแต่จำปัญญาของ
ตถาคตคือสัญญาตน
ไม่ใช่ปัญญาที่ตน
รู้จริงตรงสัจจะ
ที่กายตนมี
ไงล่ะคะ
:b13:
:b32: :b32:



คุณโรสต้องภาวนามยปัญญา อย่าไปจิตเกิดดับทีละ 1 ขณะเอง เชื่อไอ้เรืองนะ ถ้าเชื่อแล้วคุณจะหายจากความฟุ้งซ่าน
แต่ถ้ายังมโนจิตเกิดดับ ไม่ใช่คนสัตว์ อะไรต่ออะไรไป หลงไม่ได้ยินเสียงกู่นะขอรับ

:b12:
ฟังหน่อยน่าว่าสาวๆนักศึกษาเขาฟังอะไรอยากร่วมสมัยไหมคะคริคริคริ
https://youtu.be/qP1Q8FI8spw
:b4: :b20:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 05 ก.ย. 2018, 11:21 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ตอนนี้พูดได้เต็มปากว่า คุณโรสศิษย์บ้านธัมมะโดยแม่สุจิน ไม่ถึงกับบ้านะ แต่ออกเพี้ยนๆทางความคิด อ้าวจริงๆ คิดไปได้

tongue
อย่าคิดเองบอกแล้วว่าคิดเองมันผิดทางปรโตโฆษะอ่านตรงๆนะ
คำสอนแทนศาสดาไม่ใช่ตัวบุคคลต้องอาศัยฟังคนอื่นบอก
แล้วคิดตามตรงทางที่จิตตนรู้เช่นรู้เรื่องจิตเห็นฟังว่า
จิตเห็นรูปสีสันวรรณะแต่ตนกำลังเห็นอะไรคะ
มันเลยเห็นเป็นจิตคิดนึกแล้วพอกะพริบตา
ยังไม่ไปไหนเลยนะกิเลสเพิ่มแล้วค่ะ
ทำอะไรได้ไหมเพราะไม่ได้กำลัง
คิดตามเสียงตรงความจริงที่
ตนกำลังมีตรงขณะไงคะ
เลยมีแต่จำปัญญาของ
ตถาคตคือสัญญาตน
ไม่ใช่ปัญญาที่ตน
รู้จริงตรงสัจจะ
ที่กายตนมี
ไงล่ะคะ
:b13:
:b32: :b32:



คุณโรสต้องภาวนามยปัญญา อย่าไปจิตเกิดดับทีละ 1 ขณะเอง เชื่อไอ้เรืองนะ ถ้าเชื่อแล้วคุณจะหายจากความฟุ้งซ่าน
แต่ถ้ายังมโนจิตเกิดดับ ไม่ใช่คนสัตว์ อะไรต่ออะไรไป หลงไม่ได้ยินเสียงกู่นะขอรับ

:b12:
ฟังหน่อยน่าว่าสาวๆนักศึกษาเขาฟังอะไรอยากร่วมสมัยไหมคะคริคริคริ
https://youtu.be/qP1Q8FI8spw
:b4: :b20:


ตอนนี้มาร่วมสมัย ก่อนย้อนไปครั้งเมื่อ 2600 กว่าปี

เคยพูดไปแล้วนะว่าแม่สุจิน นิ่ง เสียงเพราะ ลีลาการพูดน่าเชื่อถือ นี่ยอมรับ แต่อย่างอื่นๆ คิกๆๆ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ก.ย. 2018, 16:15 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เห็นแล้วนึกถึงคุณโรส ที่ว่าว่าวัดไม่ใช่ที่นอนของฆราวาส ซึ่งพูดไว้หลาย คคห. แต่ค้นหาไม่พบ เอาไว้ คคห.นี้แล้วกันนะ :b16:

คุณโรสขอรับ คิกๆๆ ช่วยเตือนเขาทีสิ

อ้างคำพูด:
อั้ม เปิดประสบการณ์นอนวัดครั้งแรก อิ่มบุญอิ่มใจ พร้อมตั้งมั่นรอบหน้ามาอีก


https://s359.kapook.com/pagebuilder/73a ... 61530e.jpg

https://women.kapook.com/view199158.html

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ก.ย. 2018, 16:23 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


หัตถบาส บ่วงมือ คือที่ใกล้ตัวชั่วคนหนึ่ง (นั่งตัวตรง) เหยียดแขนออกไปจับตัวอีกคนหนึ่งได้ อรรถกถา (เช่น วินย.อ. 2/404) อธิบายว่า เท่ากับช่วงสองศอกคืบ (๒ ศอก ๑ คืบ หรือ ๒ ศอกครึ่ง) วัดจากส่วนสุดด้านหลังของผู้เหยียดมือออกไป (เช่น ถ้ายืน วัดจากส้นเท้า, ถ้านั่ง วัดจากสุดหลังอวัยวะที่นั่ง, ถ้านอน วัดจากสุดข้างด้านที่นอน) ถึงส่วนสุดด้านใกล้แห่งกายของอีกคนหนึ่งนั้น (ไม่นับมือที่เหยียดออกมา) โดยนัยนี้ ตามพระมติที่ทรงไว้ในวินัยมุข เล่ม ๑ และ ๒ สรุปได้ว่า ให้ห่างกันไม่เกิน ๑ ศอก คือมีช่องว่างระหว่างกันไม่เกิน ๑ ศอก

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ก.ย. 2018, 17:55 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:



มีวิริยะมีขันติมีสมาธิที่จะมั่นคงต่อความรู้ตรงจริงที่กายใจตนกำลังมีไหมคะรู้กำลังปัญญาตนจากฟังไงคะ


ฟังใคร

cool
คนที่กล่าวความจริงให้รู้สึกตัวว่าไม่รู้ไง
ไม่ใช่เดินเจี๋ยมเจี้ยมแบบเดินบิณฑบาตแต่ในใจ
ชอบใจในเงินในบัญชีมีกิจดูตัวเลขในบัญชีที่เพิ่มขึ้นหรือ
เพื่อเอาไปจับจ่ายใข้สอยซื้อหาเองได้หรือคะพฤติกรรมอย่างนั้น
เป็นพฤติกรรมปกติของชาวบ้านที่ทำสัมมาอาชีพได้เงินค่าจ้างแล้วเอาเงินมาใช้
บรรพชิตมีเงินเดือนค่ะวันละ1บาตรไม่ขาดไม่เกินฉันได้ไม่เกินเที่ยงรู้ประเมินความโลภไหมคะ
สละอาคารบ้านเรือนญาติพี่น้องเพื่อมาเลี้ยงดูตนเองด้วยปลีแข้งไม่โลภตามที่ฉันได้ไม่เกินเที่ยงและ
มีหน้าที่แค่ศึกษาพระธรรม คือ คันถธุระ และทำความจริงให้ปรากฏ คือ วิปัสสนาธุระ ไม่คลุกคลีหมู่คณะ
มักน้อยสันโดษ ฉันพอยังอัตภาพ เพราะตนขอมาเป็นผู้ขอชาวบ้านตามคำสอนของพระพุทธเจ้าอายไหมคะ



คิกๆๆ ถามว่า ฟังจากใคร ?


คันถธุระ ธุระฝ่ายคัมภีร์, ธุระคือการเรียนพระคัมภีร์, การศึกษาปริยัติธรรม, เป็นคำที่ใช้ในชั้นอรรถกถาลงมา (ไม่มีในพระไตรปิฎก)

คัมภีร์ 1. ลึกซึ้ง 2. ตำราที่นับถือว่าสำคัญหรือเป็นของสูง, หนังสือสำคัญที่ถือเป็นหลักเป็นแบบแผน เช่น คัมภีร์ศาสนา คัมภีร์โหราศาสตร์

วิปัสสนาธุระ ธุระฝ่ายวิปัสสนา, ธุระด้านการเจริญวิปัสสนา, กิจพระศาสนาในด้านการสอนการฝึกเจริญกรรมฐาน ซึ่งจบครบที่วิปัสสนา, เป็นคำที่ใช้ในชั้นอรรถกถาลงมา

วิปัสสนาปัญญา ปัญญาที่ถึงขั้นเป็นวิปัสสนา, ปัญญาที่ใช้ในการเจริญวิปัสสนา คือ ปัญญาที่พิจารณาเข้าใจสังขารตามความเป็นจริง

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 ก.ย. 2018, 16:11 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


สามัคคี ความพร้อมเพรียง, ความกลมเกลียว, ความมีจุดรวมตัวเข้าด้วยกันหรือมุ่งไปด้วยกัน (โดยมีวิเคราะห์ว่า อคฺเคน สิขเรน สงฺคตํ สมคฺคํ สมคฺคภาโว สามคฺคี)

คำเสริมที่มักมาด้วยกับสามัคคี คือ สังคหะ (ความยึดเหนี่ยวใจให้รวมกัน) อวิวาท (ความไม่วิวาทถือต่าง) และ เอกีภาพ (ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน)

เมื่อบุคคลที่เกี่ยวข้องมาร่วมประชุมพรักพร้อมกัน เรียกว่า กายสามัคคี (สามัคคีด้วยกาย)

เมื่อบุคคลเหล่านั้น มีความชื่นชมยินดีเห็นชอบร่วมกัน พอใจรวมเป็นอย่างเดียวกัน หรืออย่างภิกษุ แม้มิได้ไปร่วมประชุมทำสังฆกรรม แต่มอบให้ฉันทะ เรียก จิตสามัคคี (สามัคคีด้วยใจ)


ความพร้อมเพรียงแห่งสงฆ์ คือสังฆสามัคคีเป็นหลักการสำคัญยิ่งในพระวินัย ที่จะดำรงพระพุทธศาสนา จึงมีพุทธบัญญัติหลายอย่างเพื่อให้สงฆ์มีวิธีปฏิบัติในการรักษาสังฆสามัคคี


ส่วนการทำให้สงฆ์แตกแยก ก็คือการทำลายสงฆ์ เรียกว่า สังฆเภท ถือว่าเป็นกรรมชั่วร้ายแรง ถึงขั้นเป็นอนันตริยกรรม

(ถ้ามีการทะเลาะวิวาทบาดหมาง กีดกั้นกัน ไม่เอื้อเฟื้อกัน ไม่ร่วมมือกัน ไม่ปฏิบัติข้อวัตรต่อกัน ยังไม่ถือว่าสงฆ์แตกกัน แต่เป็นความร้าวรานแห่งสงฆ์ เรียกว่า สังฆราชี แต่เมื่อใดภิกษุทั้งหลาย แตกแยกกันถึงขั้นคุมกันเป็นคณะ แยกทำอุโบสถ แยกทำปวารณา แยกทำสังฆกรรม แยกทำกรรมใหญ่น้อย ภายในสีมา เมื่อนั้นเป็นสังฆเภท)


หลักธรรมสำคัญที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้เพื่อให้สงฆ์มีสามัคคีเป็นแบบอย่าง ได้แก่ สาราณียธรรม ๖
ส่วนหลักธรรมสำคัญสำหรับเสริมสร้างสามัคคีในสังคมทั่วไป ได้แก่ สังคหวัตถุ ๔


สามัคคีปวารณา กรณีอย่างสามัคคีอุโบสถนั่นเอง เมื่อทำปวารณา เรียกว่า สามัคคีปวารณา และวันที่ทำนั้นก็เรียก วันสามัคคี


สามัคคีอุโบสถ อุโบสถที่ทำขึ้นเป็นกรณีพิเศษ เมื่อสงฆ์สองฝ่ายซึ่งแตกกันกลับมาปรองดองสมานกันเข้าได้ สามัคคีอุโบสถไม่กำหนดด้วยวันที่ตายตัว สงฆ์พร้อมเพรียงกันเมื่อใด ก็ทำเมื่อนั้น เรียกวันนั้นว่า วันสามัคคี

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 ก.ย. 2018, 20:33 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เถรวาทที่แอฟริกา

รูปภาพ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ก.ย. 2018, 21:57 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อปันนเสนธรรม ธรรมที่เป็นที่พึงที่พำนัก ดุจพนักพิง มี ๔ คือ

๑. ของอย่างหนึ่ง พิจารณาแล้ว เสพ เช่น ปัจจัยสี่
๒. ของอย่างหนึ่ง พิจารณาแล้ว อดกลั้น ได้แก่ อนิฏฐารมณ์ต่างๆ
๓. ของอย่างหนึ่ง พิจารณาแล้ว เว้นเสีย เช่น สุราเมรัย การพนัน คนพาล
๔. ของอย่างหนึ่ง พิจารณาแล้ว บรรเทาเสีย เช่น อกุศลวิตกต่างๆ

อนุปุพพิกถา เทศนาที่แสดงไปโดยลำดับ เพื่อฟอกอัธยาศัยของสัตว์ให้หมดจดเป็นชั้นๆ จากง่ายไปหายาก เพื่อเตรียมจิตของผู้ฟังให้พร้อมที่จะรับฟังอริยสัจจ์ มี ๕ คือ

๑. ทานกถา พรรณนาน
๒. สีลกถา พรรณนาศีล
๓. สัคคกถา พรรณนาสวรรค์ คือ ความสุขที่พรั่งพร้อมด้วยกาม
๔. กามาทีนวกถา พรรณนาโทษของกาม
๕. เนกขัมมานิสังสกถา พรรณนาอานิสงส์แห่งการออกจากกาม
อนุปุพพีกถา ก็มีใช้

อภิญญาเทสิตธรรม ธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงด้วยพระปัญญาอันยิ่ง หมายถึง โพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการ มีสติปัฏฐาน ๔ เป็นต้น

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ก.ย. 2018, 23:56 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7503

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Kiss
ต้องซื่อตรงไม่คดโกงจึงจะตรงต่อสัจจะ
เลือกให้ถูกว่าตนมีอุปนิสัยแบบใดต้องถูกตรงตามคำสอน
1ประกอบอาชีพใช้เงินทองครองเรือนมีบริวารญาติมิตรจะปรุงอาหารเลิศรสหรือทำสังคมสงเคราะห์ได้หมด
2สละบ้านเรือนไม่ประกอบอาชีพบรรพชาอยู่จำวัดใช้แค่ปัจจัย4บวชหุงหาอาหารเองต้มชงก่อไฟเองบ่ได้เน้อ
ง่ายๆแค่นี้แหละเลือกให้ถูกย้ำว่าประเภทที่2สละหมดแล้วไม่รับสะสมวัตถุ
โดยเฉพาะอะกัปปิยะวัตถุแทนเงินรับไม่ได้ถ้ารับคือโลภมากต้องอยู่ข้อ1บวชไม่ได้นะบาป
สละแล้วซึ่งโลกธรรม8ยังกลับไปรับอีกวัดกลายเป็นที่กำบังของโจรปล้นคำตถาคตไปทำเพื่อลาภไม่ขัดกิเลส
อยากบวชโดยไม่รู้ไม่ใช่คำตถาคตแถมรับเงินนี่ต้องลาสิกขาออกมาทำงานประกอบอาชีพอย่าเป็นโจรห่มจีวร
เข้าใจไหมไม่มีใครรู้ความจริงนอกจากฟังให้เข้าใจว่าตถาคตกล่าวว่าอะไรถูกผิดดีชั่วเมื่อฟังเข้าใจจึงเห็นโทษ
https://youtu.be/mmgFeIWsc9A
:b12:
:b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ก.ย. 2018, 09:26 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
Kiss
ต้องซื่อตรงไม่คดโกงจึงจะตรงต่อสัจจะ
เลือกให้ถูกว่าตนมีอุปนิสัยแบบใดต้องถูกตรงตามคำสอน
1ประกอบอาชีพใช้เงินทองครองเรือนมีบริวารญาติมิตรจะปรุงอาหารเลิศรสหรือทำสังคมสงเคราะห์ได้หมด
2สละบ้านเรือนไม่ประกอบอาชีพบรรพชาอยู่จำวัดใช้แค่ปัจจัย4 บวช หุงหาอาหารเอง ต้มชง ก่อไฟเอง บ่ได้เน้อ
ง่ายๆแค่นี้แหละเลือกให้ถูกย้ำว่าประเภทที่2สละหมดแล้วไม่รับสะสมวัตถุ

โดยเฉพาะอะกัปปิยะวัตถุแทนเงินรับไม่ได้ถ้ารับคือโลภมากต้องอยู่ข้อ1บวชไม่ได้นะบาป
สละแล้วซึ่งโลกธรรม8ยังกลับไปรับอีกวัดกลายเป็นที่กำบังของโจรปล้นคำตถาคตไปทำเพื่อลาภไม่ขัดกิเลส
อยากบวชโดยไม่รู้ไม่ใช่คำตถาคตแถมรับเงินนี่ต้องลาสิกขาออกมาทำงานประกอบอาชีพอย่าเป็นโจรห่มจีวร
เข้าใจไหมไม่มีใครรู้ความจริงนอกจากฟังให้เข้าใจว่าตถาคตกล่าวว่าอะไรถูกผิดดีชั่วเมื่อฟังเข้าใจจึงเห็นโทษ
https://youtu.be/mmgFeIWsc9A


ความคิดสุดโต่ง อ่าทีนี้ฝนตกฟ้าร้องบิณฑบาตไม่ได้ จะให้ทำยังไง กินลมหรอ คนนะไม่ใช่อนุมาน

ถ้าเขาบวช 7 วัน 15 วัน จะให้เขาสละทรัพย์สมบัติหมดสิ้น พ้นจากนั้น เขาสึกออกมา จะให้เขาไปอยู่ไหน บ้านก็สละให้เขาไปแล้ว ทรัพย์สินที่มีก็สละให้เขาไปหมดแล้ว :b32: ขอทานก็ไม่ได้แล้ว ผิด พรบ.ขอทาน คิกๆๆ จะบ้าตาย

โต้ ชีริก ก็บวช

https://www.posttoday.com/ent/news/565614

นี่ด้วย

https://www.khaosod.co.th/entertainment/news_1604414

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ก.ย. 2018, 10:52 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5013


 ข้อมูลส่วนตัว


:b14: :b14: :b14:

เออ... :b10:

ถ้าาาาา...บรรดาศิษย์สาวกที่ติดตามคำสอนของ รวมถึง อ.ผู้สอนถึงแก่กรรม

คงไม่เอาไปทำพิธีกรรมอะไรกันในวัดใช่มั๊ยคะ

แล้วเขาจะทำกันด้วยวิธีอะไรค่ะ

มีวิธีที่ถูกหลักทำกันเองใช่มั๊ยคะ

มีตัวอย่างใครในกลุ่มศิษย์ที่ทำกันมาแล้วบ้างคะ


:b10: :b10:


แก้ไขล่าสุดโดย eragon_joe เมื่อ 30 ก.ย. 2018, 14:07, แก้ไขแล้ว 2 ครั้ง.

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ก.ย. 2018, 11:02 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5013


 ข้อมูลส่วนตัว


พระเอาอะไรมาสร้างเมรุคะ
ศาลาสวดอภิธรรมโน่นนี่นั่น...

ผู้ที่มีทัศนะที่ขัดแย้งระหว่างพระ-วัด-เงิน

ที่สุดแล้วเคยไปงานศพกันมั๊ยคะ

ตั้งข้อแม้ต่าง ๆ นานาเกี่ยวกับ พระ-วัด-เงิน
แต่แล้วมีใครที่ไม่ย่างเหยียบเข้าไปมีส่วนในงานศพกันได้มั๊ยคะ

:b1:


แก้ไขล่าสุดโดย eragon_joe เมื่อ 30 ก.ย. 2018, 14:09, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ก.ย. 2018, 11:08 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5013


 ข้อมูลส่วนตัว


พระสวดอภิธรรมให้เรา ไม่ต้องใส่ซองให้ท่าน

ทำพิธีที่วัด ไม่ต้องใส่ซองทำบุญ

พระไม่มีห้องน้ำใช้ ก็ช่างพระใช่มั๊ยคะ

:b32: :b32: :b32:

คงจะได้เห็นพระออกมาอาบน้ำกลางแจ้งสักวัน :b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ก.ย. 2018, 14:35 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5013


 ข้อมูลส่วนตัว




1408457384-1056307969-o 2.jpg
1408457384-1056307969-o 2.jpg [ 80.2 KiB | เปิดดู 2098 ครั้ง ]
:b14: :b14: :b14:

มีใครในกลุ่มศิษย์ทำเป็นตัวอย่างรึยังคะ
แบบว่า พระสวดอภิธรรม(งานศพ)เสร็จ
เจ้าภาพกำลังจะถวายซอง แล้วคุณรสลุกขึ้นยืนประกาศกลางศาลา
"ไม่ได้ค่ะ พระห้ามรับเงิน รับไม่ได้ โน่น นี่ นั่น............."

:b14: :b14: :b14:

ถ้ายังไม่เคยมีใครในกลุ่มลุกขึ้นมากระทำอย่างนั้น

ก็ขอให้เข้าใจว่า

ความจริงภาคพื้นดิน กับ ความจริงบนเวทีบรรยายธรรมมันสวนทางกัน

วาทะคำคมต่าง ๆ มันเป็นความจริงเฉพาะเมื่อใช้เสวนาบนเวที

แต่เมื่อลงจากเวที ความจริงโดยทางครอบครัว สังคม ชุมชน ประเพณี วัฒนธรรม
มันเป็นอีกอย่าง

ครอบครัว ญาติพี่น้อง ชุมชน สังคมของเราพร้อมแล้วหรือคะกับการทำพิธีกรรมกับศพคนตายแบบธิเบต

:b1:
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ก.ย. 2018, 15:23 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


eragon_joe เขียน:
พระสวดอภิธรรมให้เรา ไม่ต้องใส่ซองให้ท่าน

ทำพิธีที่วัด ไม่ต้องใส่ซองทำบุญ

พระไม่มีห้องน้ำใช้ ก็ช่างพระใช่มั๊ยคะ


คงจะได้เห็นพระออกมาอาบน้ำกลางแจ้งสักวัน


อ้างคำพูด:
คงจะได้เห็นพระออกมาอาบน้ำกลางแจ้งสักวัน


เรื่องเคยมีมาแล้วเมื่อครั้งพุทธกาล คือ พระแก้ผ้าอาบน้ำฝน เผอิญวันนั้น นางวิสาขามหาอุบาสิกามาวัดเห็นเข้า ก็นำเหตุนั้นไปถามพระพุทธเจ้า ก็จึงรู้ว่า พระไม่มีผ้าผลัดอาบน้ำ (ปัจจุบันเรียกว่า "ผ้าอาบน้ำฝน" ที่ชาวพุทธนำมาถวายพระวันเข้าพรรษานั่นแหละ) มีแต่ผ้านุ่ง (สบง) ตัวเดียว ก็จึงขอพุทธานุญาตให้ภิกษุใช้ผ้าอาบน้ำได้ ธรรมเนียมถวายผ้าอาบน้ำฝน จึงเกิดมีมาแต่ครั้งนั้น

พระพุทธเจ้าบัญญัติวินัยตามสังคมในสมัยโน้น นึกดีๆ ครั้งนั้น มีเจ้าลัทธิที่เคร่งครัดมากมาย (ครูทั้ง ๖) ลัทธินิครนถ์ก็รวมอยู่ด้วย ทีนี้ ผู้คนในสมัยโน้นเขาเห็นสาวกลัทธิศาสนานั้นทำยังงี้ไม่ได้ ตัวอย่าง เช่น เขาไม่พรากของเขียว เพราะเขาถือว่าของเขียวมีชีวิต พอมีพระในพุทธศาสนาไปทำเข้า สังคมก็ตำหนิ (โลกวัชชะ) ว๊ายตายแล้วศิษย์สมณโคดมทำยังงี้ได้หรอ มันมีชีวิตนะ ศาสนาอื่นเขาไม่ทำกันรู้ป่าว เรื่องถึงพระพุทธเจ้า พระพุทธองค์ก็จึงบัญญัติสิกขาบทห้ามภิกษุพรากของเขียว ตัดต้นไม้ใบหญ้าก็ตัดไม่ได้ เพราะเป็นของเขียว ภิกษุใดทำเป็นอาบัติ
เทียบปัจจุบัน ถ้าพระวัดนั้นๆ ปล่อยให้หญ้าขึ้นเต็มวัด ไม่ตัดไม่แต่ง ชาวบ้านด่าส่งเลย อัลไลเว้ยเฮ้ย พระวัดนี้ขี้เกียจฉิบHาย อิอิ กินแล้วก็นอน ดูสิน่าหญ้าขึ้นรกเต็มใต้ถุนศาลาเลย พระตัดหญ้าผิดวินัยเป็นอาบัติตามวินัยบัญญัติ ถ้าไม่ทำไม่ตัดชาวโลกด่า ดังนั้น การบัญญัติสิกขาบทคล้อยตามสังคมมนุษย์ นี้เป็นตัวอย่างสำหรับเทียบ

เอาอีกสักตัวอย่าง พระกินเหล้าผิดวินัยไม่แรง คือ ไม่ต้องถึงกับสึก แต่ปัจจุบันพระวัดไหนชาวรู้ว่ากินเหล้าฟ้องเจ้าอาวาสๆให้สึกเลย ไม่อย่างนั้นชาวบ้านไม่ยอม ประท้วงเลย ออกไปๆๆ อิอิ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 355 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 6, 7, 8, 9, 10, 11, 12 ... 24  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 42 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร