วันเวลาปัจจุบัน 29 มี.ค. 2024, 08:15  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 127 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5 ... 9  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 มิ.ย. 2018, 11:20 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
ให้ว่าใคร..หรือ?


เวรกรรม...

ตัวเองพูดเองแท้ๆ..นี้คือรถ..แต่ชี้ตรงไหนเป็นรถไม่มี

อ้างคำพูด:
ราเอานิ้วจิ้มลงไปตรงไหนก็ไม่ถูกรถ ถูกแต่ส่วนประกอบต่างๆของมัน ซึ่งก็มีชื่อเรียกอยู่แล้ว

ดังนั้น รถมีอยู่ แต่รถหามีไม่


พอเราไม่เห็นจะต้องว่าใคร..ไม่มีใครจะต้องให้ว่า...ดัน

อ้างคำพูด:
เวนกำ ก็บอกอยู่โต้งๆ


นี้เรียกว่า..เขียนเอง...แต่ไม่รู้สิ่งที่ตัวเองเขียน..
เวรกรรม..
:b32: :b32: :b32:


เข้าใจอะไรยากจิน ๆ ก็ว่าว่าให้โต้แย้งมา เถียงมา

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 มิ.ย. 2018, 12:16 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ยังยังยังขายหน้าไม่พอ เช่นนั้น ยังสำแดงความไม่รู้อีกว่าที่เดินเดินนั่นน่า เดินหารูป หานาม :b32:


อ้างคำพูด:
ที่มาเดินมาพิจารณา เพียงพิจารณา อาการเดิน หารูป หานาม เพื่อเรียนรู้อนัตตสภาวะ สุญญตสภาวะ ลดละอุปาทาน เท่านั้นเอง



ดูหลักซึ่งก็พูดกันปร๋อ รูปนาม รูปธรรม นามธรรม ขันธ์ ๕ ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น ที่พูดเนี่ยพูดถูก เพราะจำได้ แต่เข้าใจมันผิด :b32:

เบื้องต้นพระท่านก็บอกอยู่แล้วว่า ตา+รูป คือตาซึ่ง (ตาไม่บอดนะ) แลเห็นนั่นๆนี่่ๆ ทางศาสนาเรียกว่า "รูป" ความรู้เรียกว่านาม (รูปนาม) ที่ชาวโลกเรียกว่าคน (หมดทั้งเนื้อตัว) นั่นน่า พุทธธรรมเรียกว่า รูปนาม เรียกว่า สภาวะ เรียกว่า สภาวธรรม ไม่เรียกว่าคน คนนี่ในสังคมนั้นๆสมมุติเรียกกันเองเพื่อไว้สื่อสารพูดจากัน

แล้วท่านก็จำแนกเป็นขันธ์ เป็นกอง ได้ ๕ ขันธ์ ๕ กอง ที่นักธรรมประเทศไทยพูดกันปร๋อไม่ติดขัดว่า ขันธ์ ๕ นั่นเอง นี่ภาษาทางธรรม ขันธ์ นี่ภาษาทางธรรม

เข้าใจไหมเช่นนั้น กบนอกกะลา ลุงหมานผู้รักษาลาน ไม่เห็นด้วยแย้งมา ช่วยกันเอ้า คิกๆๆ

สรุปไว้ทีก่อนว่า พวกเราเอาภาษาธรรมมามโนเอาเอง เลยเข้ารกเข้าพงลึกเข้าไปทุกทีๆ ฉิบหายนะ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 มิ.ย. 2018, 22:06 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เงียบเป็นเป่านกหวีดเอ้ยไม่ใช่ เป็นเป่าสากทั้ง3คน

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 มิ.ย. 2018, 16:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
กรัชกาย ปรารถนาจะแสดงภูมิความรู้
ก็
ไปแสดงที่กระทู้เดียวกัน
เข้าใจนะ


เช่นนั้นมาคนเดียว เอาคนเดียวไปก่อน ดูสิอีกสองคนจะกล้ามาไหม :b32:

ดูที่เช่นนั้น เขาว่า สิ่งไม่มีชีวิตเคลื่อนที่ได้

อ้างคำพูด:
สิ่งไม่มีชีวิต เรียกว่า เคลื่อนที่ได้


นี่เขาเรียกว่าก้อนหิน

รูปภาพ


ถามเช่นนั้นที่เขาเรียกกันว่า ก้อนหิน มีวิญญาณครองหรือไม่มีวิญญาณครอง ก้อนหินมีชีวิตไหม ? ตอบ



โหลๆๆ ตื๊ดๆๆๆ ไม่มีเสียงตอบรับจากหมายเลขที่ท่านเรียก เป็นสะงั้น :b13:

โทรหากบนอกกะลาดิ โหลๆๆ กรุณาฝากข้อความหลังจากได้ยินสัญญาณนี้ อ้าว ปิดเครื่องหนี :b32:

โทรหาผู้รักษาลานหน่อยดี อย่าดีกว่า เดี๋ยวหัวร้อน :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 มิ.ย. 2018, 16:22 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
นี่บ้านเราเรียกว่า คน แต่ชาติอื่นภาษาอื่นก็เรียกเป็นอื่นไป แต่บ้านเราเรียกว่าคน

รูปภาพ


ถ้ามีใครถามว่า ตรงไหนเรียกคน ชี้ชัดๆสิ เราก็ชี้ไม่ได้ ชี้ไปตรงไหนก็มีชื่ออยู่แล้ว แต่บอกได้ว่า องค์ประกอบทั้งหมดนั่นแหละเขาเรียกกันว่า "คน" ฯลฯ

คนมีอยู่ แต่คนหามีไม่



คนมีอยู่ แต่คนหามีไม่ มีแต่รูปกับนาม พูดให้ลึกลงไปอีก รูปนามก็ไม่มี มีแต่สภาวะ (สภาวธรรม) คือว่าสภาวะอย่างนี้ๆบัญญัติเรียกว่า รูป สภาวะอย่างนี้ๆบัญญัติเรียกว่า นาม

รูปนามมีสภาวะรองรับ ส่วนคนบัญญัติลอยๆ ไม่มีสภาวะรองรับ เป็นสมมุติล้วนๆ

นักธรรมบ้านเราจะหนีสมมติไม่เอาสมมติ แต่ก็ไม่รู้ว่าอะไรเขาสมมติเรียก ที่ถูกเรียกนั่นอะไร เลยคิดสับสน

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 มิ.ย. 2018, 18:19 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ถ้าคุณโรสดูนี่เข้าใจก็เข้าใจพุทธธรรม

รูปภาพ

พุทธธรรมมองเห็นสิ่งทั้งหลายเป็นธาตุ เป็นธรรม เป็นสภาวะ* (นิยมเรียกยาวเป็น "สภาวธรรม" ตามคำบาลีว่า "สภาวธมฺม" ซึ่งมาจาก ส+ภาว+ธมฺม แปลตรงตัวว่า สิ่งที่มีภาวะของมันเอง) อันมีอยู่เป็นอยู่ตามภาวะของมัน ที่เป็นของมันอย่างนั้น เช่นนั้น ตามธรรมดาของมัน
มิใช่มีเป็นสัตว์ บุคคล อัตตา ตัวตน เราเขา ที่จะยึดถือเอาเป็นเจ้าของ ครอบครอง บังคับบัญชาให้เป็นไปตามปรารถนาอย่างไรๆได้

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 มิ.ย. 2018, 18:21 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ต่อกัน

บรรดาสิ่งทั้งหลายที่รู้จักเข้าใจกันอยู่โดยทั่วไปนั้น มีอยู่เป็นอยู่เป็นไปในรูปของส่วนประกอบต่างๆ ที่มาประชุมกัน ตัวตนแท้ๆ ของสิ่งทั้งหลายไม่มี เมื่อแยกส่วนต่างๆ ที่มาประกอบกันเข้านั้นออกไป ให้หมด ก็จะไม่พบตัวตนของสิ่งนั้นเหลืออยู่
ตัวอย่างง่ายๆ ที่ยกขึ้นอ้างกันบ่อยๆ คือ "รถ" เมื่อนำส่วนประกอบต่างๆมาประกอบเข้าด้วยกันตามแบบที่กำหนด ก็บัญญัติเรียกกันว่า "รถ"

แต่ถ้าแยกส่วนประกอบทั้งหมดออกจากกัน ก็จะหาตัวตนของรถไม่ได้ มีแต่ส่วนประกอบทั้งหลาย ซึ่งมีชื่อเรียกต่างๆกัน จำเพาะแต่ละอย่างอยู่แล้ว คือตัวตนของรถมิได้มีอยู่ต่างหากจากส่วนประกอบเหล่านั้น มีแต่เพียงคำบัญญัติว่า "รถ"
สำหรับสภาพที่มารวมตัวกันเข้าของส่วนประกอบเหล่านั้น แม้ส่วนประกอบแต่ละอย่างๆนั้นเอง ก็ปรากฏขึ้นโดยการรวมกันเข้าของส่วนประกอบย่อยๆ ต่อๆไปอีก และหาตัวตนที่แท้ไม่พบเช่นเดียวกัน เมื่อจะพูดว่าสิ่งทั้งหลายมีอยู่ ก็ต้องเข้าใจในความหมายว่า มีอยู่ในฐานะมีส่วนประกอบต่างๆ มาประชุมเข้าด้วยกัน

เมื่อมองเห็นสภาพของสิ่งทั้งหลายในรูปของการประชุมส่วนประกอบเช่นนี้ พุทธธรรมจึงต้องแสดงต่อไปว่า ส่วนประกอบต่างๆ เหล่านั้นเป็นอย่างไร มีอะไรบ้าง อย่างน้อยก็พอเป็นตัวอย่าง และโดยที่พุทธธรรมมีความเกี่ยวข้องเป็นพิเศษกับเรื่องชีวิต โดยเฉพาะด้านจิตใจ การแสดงส่วนประกอบต่างๆ จึงต้องครอบคลุมทั้งวัตถุและจิตใจ หรือทั้งรูปธรรมและนามธรรม และมักแยกเป็นพิเศษในด้านจิตใจ

การแสดงส่วนประกอบต่างๆนั้น ย่อมทำได้หลายแบบ สุดแต่วัตถุประสงค์จำเพาะของการแสดงแบบนั้นๆ * (แบ่งอย่างกว้างๆ ว่านาม และ รูป หรือนามธรรม กับ รูปธรรม...แต่ตามแนวอภิธรรมนิยมแบ่งเป็น ๓ คือ จิต เจตสิก และรูป ถ้าเทียบกับขันธ์ ๕ ดังแสดงแล้ว จิต = วิญญาณขันธ์ เจตสิก = เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ และสังขารขันธ์ รูป = รูปขันธ์) แต่ในที่นี้ แสดงแบบขันธ์ ๕ ซึ่งเป็นแบบที่นิยมในพระสูตร

โดยวิธีแบ่งแบบขันธ์ ๕ พุทธธรรมแยกแยะชีวิตพร้อมทั้งองคาพยพทั้งหมดที่บัญญัติเรียกว่า "สัตว์" "บุคคล" ฯลฯ ออกเป็นส่วนประกอบต่างๆ ๕ ประเภท หรือ ๕ หมวด เรียกทางธรรมว่า เบญจขันธ์

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 06 ก.ค. 2018, 10:04 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ดูกันว่า บ้านเราหยิบเอาตรงไหนมาพูดกันคล่องปร๋อ ขันธ์ ๕ ขันธ์ ๕ ขันธ์ ๕ ที่ไหนๆก็ว่า ขันธ์ ๕


ปัญจขันธ์ ขันธ์ ๕ คือ รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์

เบญจขันธ์ ขันธ์ ๕, กองหรือหมวดทั้ง ๕ แห่ง รูปธรรมและนามธรรม ที่ประกอบเข้าเป็นชีวิต ได้แก่ ๑. รูปขันธ์ -กองรูป ๒. เวทนาขันธ์ - กองเวทนา ๓. สัญญาขันธ์ - กองสัญญา ๔. สังขารขันธ์ กองสังขาร ๕. วิญญาณขันธ์ - กองวิญญาณ


อายุ สภาวธรรมที่ทำให้ชีวิตดำรงอยู่หรือเป็นไป, พลังที่หล่อเลี้ยงดำรงรักษาชีวิต, พลังชีวิต, ความสามารถของชีวิตที่จะดำรงอยู่และดำเนินต่อไป, ตามปกติท่านอธิบายว่า อายุ ก็คือ ชีวิตินทรีย์ นั่นเอง, ช่วงเวลาที่ชีวิตจะเป็นอยู่ได้ หรือได้เป็นอยู่, ในภาษาไทย อายุ มีความหมายเพี้ยนไปในทางที่ไม่น่าพอใจ เช่น กลายเป็นความผ่านล่วงไปหรือความลดถอยของชีวิต


ชีวิตินทรีย์ อินทรีย์คือชีวิต, สภาวะที่เป็นใหญ่ในการตามรักษาสหชาตธรรม (ธรรมที่เกิดร่วมด้วย) ดุจน้ำหล่อเลี้ยงดอกบัว เป็นต้น มี ๒ ฝ่ายคือ

๑. ชีวิตินทรีย์ที่เป็นชีวิตรูป เป็นอุปาทายรูปอย่างหนึ่ง เป็นเจ้าการในการรักษาหล่อเลี้ยงเหล่ากรรมชรูป (รูปที่เกิดแต่กรรม) บางทีเรียกว่า รูปชีวิตินทรีย์

๒. ชีวิตินทรีย์เป็นเจตสิกเป็นสัพพจิตตสาธารณเจตสิก อย่างหนึ่ง เป็นเจ้าการในการรักษาหล่อเลี้ยงนามธรรมคือจิตและเจตสิกทั้งหลาย บางทีเรียกอรูปชีวิตินทรีย์ หรือนามชีวิตินทรีย์

ชีพ ชีวิต, ความเป็นอยู่

ชีวิต ความเป็นอยู่

(ตกว่า เราเอาคำแปล ปัญจขันธ์, เบญจขันธ์ ซึ่งเขาแปลว่า ขันธ์ ๕ มาพูดกัน แต่สับสนในคำที่พูด)

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 06 ก.ค. 2018, 10:15 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ตัวอย่าง ปัญหาที่่ตั้งขึ้นบนความสับสน คำถามที่ตั้งขึ้นแบบนี้ พระพุทธเจ้าบอกว่า "ตั้งปัญหาไม่ถูก"

อ้างคำพูด:
ขันธ์ 5 เป็นทุกข์...แล้วร่างกายของเราในทุก ๆ วันเป็นทุกข์ตามขันธ์ 5 มั้ย?

ขันธ์ 5 เป็นทุกข์...แล้วร่างกายของเราในทุกๆวันเป็นทุกข์ตามขันธ์ 5 มั้ย ?...วอนถามผู้รู้ทีครับ

จากพันทิพ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 06 ก.ค. 2018, 10:21 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


คำถามข้างบนนั้น ถ้าตั้งคำถามกลับให้คิดใหม่ว่า ร่างกาย เวทนา จิต ธัมม์ พอมองออกไหม คือ เปลี่ยนจากรูป เป็นกาย,ร่างกายสะ

ขออาสาสมัคร คือ คุณโรส หรือ กบนอกกะลา หรือ เช่นนั้น หรือ ลุงหมาน ใครก็ได้มาถกเถียงหาทางออกจากถ้ำนี่เสียที หรือมาทั้ง ๔ ท่านเลยก็ดี

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 06 ก.ค. 2018, 10:25 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ปัญญาขันธ์ กองปัญญา, หมวดธรรมว่าด้วยปัญญา เช่น ธรรมวิจยะ การเลือกเฟ้นธรรม กัมมัสสกตาญาณ ความรู้ว่า สัตว์มีกรรมเป็นของตัว เป็นต้น (ข้อ ๓ ในธรรมขันธ์ ๕)


ธรรมขันธ์ กองธรรม, หมวดธรรม, ประมวลธรรมเข้าเป็นหมวดใหญ่ มี ๕ คือ สีลขันธ์ สมาธิขันธ์ ปัญญาขันธ์ วิมิตติขันธ์ วิมุตติญาณทัสสนขันธ์; กำหนดหมวดธรรมในพระไตรปิฎกว่ามี ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ แบ่งเป็นวินัยปิฎก ๒๑,๐๐๐ สุตตันตปิฎก ๒๑,๐๐๐ และอภิธรรมปิฎก ๒๑,๐๐๐ พระธรรมขันธ์


ธรรมชาติ ของที่เกิดเองตามวิสัยของโลก เช่น คน สัตว์ ต้นไม้ เป็นต้น


ธรรมฐิติ ความดำรงคงตัวแห่งธรรม, ความตั้งอยู่แน่นอนแห่งกฎธรรมดา


ธรรมดา อาการหรือความเป็นไปแห่งธรรมชาติ; สามัญ, ปกติ, พื้นๆ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 06 ก.ค. 2018, 12:02 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7503

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ปัญญาขันธ์ กองปัญญา, หมวดธรรมว่าด้วยปัญญา เช่น ธรรมวิจยะ การเลือกเฟ้นธรรม กัมมัสสกตาญาณ ความรู้ว่า สัตว์มีกรรมเป็นของตัว เป็นต้น (ข้อ ๓ ในธรรมขันธ์ ๕)


ธรรมขันธ์ กองธรรม, หมวดธรรม, ประมวลธรรมเข้าเป็นหมวดใหญ่ มี ๕ คือ สีลขันธ์ สมาธิขันธ์ ปัญญาขันธ์ วิมิตติขันธ์ วิมุตติญาณทัสสนขันธ์; กำหนดหมวดธรรมในพระไตรปิฎกว่ามี ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ แบ่งเป็นวินัยปิฎก ๒๑,๐๐๐ สุตตันตปิฎก ๒๑,๐๐๐ และอภิธรรมปิฎก ๒๑,๐๐๐ พระธรรมขันธ์


ธรรมชาติ ของที่เกิดเองตามวิสัยของโลก เช่น คน สัตว์ ต้นไม้ เป็นต้น


ธรรมฐิติ ความดำรงคงตัวแห่งธรรม, ความตั้งอยู่แน่นอนแห่งกฎธรรมดา


ธรรมดา อาการหรือความเป็นไปแห่งธรรมชาติ; สามัญ, ปกติ, พื้นๆ

:b32:
ปัญญาขันธ์มีที่ไหน555
ปัญญาเจตสิกเป็นโสภณเจตสิก
เป็นสังขารขันธ์1ใน50ประเภทนะคะนะ
:b12:
:b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 06 ก.ค. 2018, 15:14 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ปัญญาขันธ์ กองปัญญา, หมวดธรรมว่าด้วยปัญญา เช่น ธรรมวิจยะ การเลือกเฟ้นธรรม กัมมัสสกตาญาณ ความรู้ว่า สัตว์มีกรรมเป็นของตัว เป็นต้น (ข้อ ๓ ในธรรมขันธ์ ๕)


ธรรมขันธ์ กองธรรม, หมวดธรรม, ประมวลธรรมเข้าเป็นหมวดใหญ่ มี ๕ คือ สีลขันธ์ สมาธิขันธ์ ปัญญาขันธ์ วิมิตติขันธ์ วิมุตติญาณทัสสนขันธ์; กำหนดหมวดธรรมในพระไตรปิฎกว่ามี ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ แบ่งเป็นวินัยปิฎก ๒๑,๐๐๐ สุตตันตปิฎก ๒๑,๐๐๐ และอภิธรรมปิฎก ๒๑,๐๐๐ พระธรรมขันธ์


ธรรมชาติ ของที่เกิดเองตามวิสัยของโลก เช่น คน สัตว์ ต้นไม้ เป็นต้น


ธรรมฐิติ ความดำรงคงตัวแห่งธรรม, ความตั้งอยู่แน่นอนแห่งกฎธรรมดา


ธรรมดา อาการหรือความเป็นไปแห่งธรรมชาติ; สามัญ, ปกติ, พื้นๆ

:b32:
ปัญญาขันธ์มีที่ไหน555
ปัญญาเจตสิกเป็นโสภณเจตสิก
เป็นสังขารขันธ์1ใน50ประเภทนะคะนะ
:b12:
:b32: :b32:



ขันธ์ หมายถึงอะไร ?

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 06 ก.ค. 2018, 17:13 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7503

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ปัญญาขันธ์ กองปัญญา, หมวดธรรมว่าด้วยปัญญา เช่น ธรรมวิจยะ การเลือกเฟ้นธรรม กัมมัสสกตาญาณ ความรู้ว่า สัตว์มีกรรมเป็นของตัว เป็นต้น (ข้อ ๓ ในธรรมขันธ์ ๕)


ธรรมขันธ์ กองธรรม, หมวดธรรม, ประมวลธรรมเข้าเป็นหมวดใหญ่ มี ๕ คือ สีลขันธ์ สมาธิขันธ์ ปัญญาขันธ์ วิมิตติขันธ์ วิมุตติญาณทัสสนขันธ์; กำหนดหมวดธรรมในพระไตรปิฎกว่ามี ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ แบ่งเป็นวินัยปิฎก ๒๑,๐๐๐ สุตตันตปิฎก ๒๑,๐๐๐ และอภิธรรมปิฎก ๒๑,๐๐๐ พระธรรมขันธ์


ธรรมชาติ ของที่เกิดเองตามวิสัยของโลก เช่น คน สัตว์ ต้นไม้ เป็นต้น


ธรรมฐิติ ความดำรงคงตัวแห่งธรรม, ความตั้งอยู่แน่นอนแห่งกฎธรรมดา


ธรรมดา อาการหรือความเป็นไปแห่งธรรมชาติ; สามัญ, ปกติ, พื้นๆ

:b32:
ปัญญาขันธ์มีที่ไหน555
ปัญญาเจตสิกเป็นโสภณเจตสิก
เป็นสังขารขันธ์1ใน50ประเภทนะคะนะ
:b12:
:b32: :b32:



ขันธ์ หมายถึงอะไร ?

:b12:
ขันธ์แปลว่าเกิด-ดับ
โลกแปลว่าสิ่งที่เกิดดับ
อุปาทานขันธ์ยึดมั่นถือมั่นว่าขันธ์เป็นตัวตน
ทุกอย่างคือยึดมั่นสิ่งที่เกิดดับไม่มีตัวตนอยู่จริง
:b39: :b39:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 06 ก.ค. 2018, 21:07 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ปัญญาขันธ์ กองปัญญา, หมวดธรรมว่าด้วยปัญญา เช่น ธรรมวิจยะ การเลือกเฟ้นธรรม กัมมัสสกตาญาณ ความรู้ว่า สัตว์มีกรรมเป็นของตัว เป็นต้น (ข้อ ๓ ในธรรมขันธ์ ๕)


ธรรมขันธ์ กองธรรม, หมวดธรรม, ประมวลธรรมเข้าเป็นหมวดใหญ่ มี ๕ คือ สีลขันธ์ สมาธิขันธ์ ปัญญาขันธ์ วิมิตติขันธ์ วิมุตติญาณทัสสนขันธ์; กำหนดหมวดธรรมในพระไตรปิฎกว่ามี ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ แบ่งเป็นวินัยปิฎก ๒๑,๐๐๐ สุตตันตปิฎก ๒๑,๐๐๐ และอภิธรรมปิฎก ๒๑,๐๐๐ พระธรรมขันธ์


ธรรมชาติ ของที่เกิดเองตามวิสัยของโลก เช่น คน สัตว์ ต้นไม้ เป็นต้น


ธรรมฐิติ ความดำรงคงตัวแห่งธรรม, ความตั้งอยู่แน่นอนแห่งกฎธรรมดา


ธรรมดา อาการหรือความเป็นไปแห่งธรรมชาติ; สามัญ, ปกติ, พื้นๆ

:b32:
ปัญญาขันธ์มีที่ไหน555
ปัญญาเจตสิกเป็นโสภณเจตสิก
เป็นสังขารขันธ์1ใน50ประเภทนะคะนะ
:b12:
:b32: :b32:



ขันธ์ หมายถึงอะไร ?

:b12:
ขันธ์แปลว่าเกิด-ดับ
โลกแปลว่าสิ่งที่เกิดดับ
อุปาทานขันธ์ยึดมั่นถือมั่นว่าขันธ์เป็นตัวตน
ทุกอย่างคือยึดมั่นสิ่งที่เกิดดับไม่มีตัวตนอยู่จริง
:b39: :b39:


อ้างคำพูด:
ขันธ์ แปลว่าเกิด-ดับ


เห็นคุณโรสคุยที่ คคห.ไหนจำไม่ได้ ว่าที่นั่นได้คนแปลซึ่งจบประโยค ๙ :b11: ถ้าเล่นว่า ขันธ์ แปลว่า เกิด-ดับ กรัชกายก็ไม่รู้จะร้องเพลงอะไรแล้วละขอรับ ขันธ์ แปลว่า เกิด-ดับ :b1: ถ้าแบบนี้นะ ท่องไวยากรณ์ยังไม่จบ :b32: ยังไม่ได้แปลเลย

เจอะแล้วนี่

อ้างคำพูด:
มูลนิธิศึกษาและเผยแพร่พระพุทธศาสนาหรือบ้านธัมมะเนี่ย
เขาสนทนาข้อความในพระไตรปิฎกโดยแปลบาลีตรงภาษา
และแปลให้เข้าใจในภาษาไทย โดยมี อ.คำปั่น ที่ชำนาญแปลบาลี
อ.คำปั่น เคยบวชเป็นสามเณร และจบ ป.9 ประโยคตั้งแต่เป็นสามเณร
ศรัทธาในคำสอนของพระพุทธเจ้า ก็ฝึกหัดดัดตนจากฟังพระพุทธพจน์นะคะ

viewtopic.php?f=1&t=56133&start=75



ตามหา คคห.ของกบนอกกะลา ที่ถามตอบเรื่องสมาธิตอนหลับ ยังหาไม่เห็น

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 127 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5 ... 9  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 39 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร