วันเวลาปัจจุบัน 24 เม.ย. 2024, 22:00  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 356 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 11, 12, 13, 14, 15, 16, 17 ... 24  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 ธ.ค. 2018, 23:33 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 7
สมาชิก ระดับ 7
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ต.ค. 2018, 00:52
โพสต์: 512

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


พอดีเจอคำสอนครูบาอาจารย์ เห็นควรว่าผมเหลาะแหละมานานแระ s002 s002 s002

คงต้องเร่งเพียรแว้วววว onion onion onion s007 s007 s007

.....................................................
(จิตรู้สมมติ เป็นสมุทัย)
(ผลอันเกิดจากจิตรู้สมมติ เป็นทุกข์)
(จิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นมรรค)
(ผลอันเกิดจากจิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นนิโรธ)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 ธ.ค. 2018, 00:11 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5013


 ข้อมูลส่วนตัว


แค่อากาศ เขียน:
พอดีเจอคำสอนครูบาอาจารย์ เห็นควรว่าผมเหลาะแหละมานานแระ s002 s002 s002

คงต้องเร่งเพียรแว้วววว onion onion onion s007 s007 s007


เอามาฝากบ้าง...^^

ช่วงนี้เอกอนชีพจรลงเท้า :b32:
เดินทางติดต่อกันมาหลายวันแล้ว

ยังไม่สะดวกคีย์อะไรยาวๆ

:b32:

อ่านบนมือถือตาลายจริงๆ :b23:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 ธ.ค. 2018, 03:13 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


eragon_joe เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
พอดีเจอคำสอนครูบาอาจารย์ เห็นควรว่าผมเหลาะแหละมานานแระ s002 s002 s002

คงต้องเร่งเพียรแว้วววว onion onion onion s007 s007 s007


เอามาฝากบ้าง...^^

ช่วงนี้เอกอนชีพจรลงเท้า :b32:
เดินทางติดต่อกันมาหลายวันแล้ว

ยังไม่สะดวกคีย์อะไรยาวๆ

:b32:

อ่านบนมือถือตาลายจริงๆ :b23:


มีลบไปอีกหนึ่งละ...กับคำถาม..ข้อที่..9??..ช่องว่าง..ช่องว่าง..มีเข้ามีออก..

ใครลบออกหน่า? :b32: :b32: :b32:

เอกอนดูทันเปล่า? :b13:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 ธ.ค. 2018, 05:14 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5013


 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
eragon_joe เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
พอดีเจอคำสอนครูบาอาจารย์ เห็นควรว่าผมเหลาะแหละมานานแระ s002 s002 s002

คงต้องเร่งเพียรแว้วววว onion onion onion s007 s007 s007


เอามาฝากบ้าง...^^

ช่วงนี้เอกอนชีพจรลงเท้า :b32:
เดินทางติดต่อกันมาหลายวันแล้ว

ยังไม่สะดวกคีย์อะไรยาวๆ

:b32:

อ่านบนมือถือตาลายจริงๆ :b23:


มีลบไปอีกหนึ่งละ...กับคำถาม..ข้อที่..9??..ช่องว่าง..ช่องว่าง..มีเข้ามีออก..

ใครลบออกหน่า? :b32: :b32: :b32:

เอกอนดูทันเปล่า? :b13:

cry ไม่ทันง่ะ

ผักกาดดดด cry


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 ธ.ค. 2018, 16:08 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5013


 ข้อมูลส่วนตัว


:b20: ผักกาด

ให้เอกอนได้มีโอกาสได้อ่านอีกรอบน๊าาาาา

:b20:

เอกอนยังไม่ได้อ่านเยยยยย

Kiss Kiss Kiss


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 ธ.ค. 2018, 19:36 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 7
สมาชิก ระดับ 7
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ต.ค. 2018, 00:52
โพสต์: 512

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


eragon_joe เขียน:
:b20: ผักกาด

ให้เอกอนได้มีโอกาสได้อ่านอีกรอบน๊าาาาา

:b20:

เอกอนยังไม่ได้อ่านเยยยยย

Kiss Kiss Kiss



ขอบคุณครับ ท่านเอกอน ท่านกบ ที่เมตตากรุณาอ่านเรียงความผม อิอิ ไว้มีเรื่องคุยจะแวบมาคุยด้วยครับ ไปคิดหาเรื่องคุยก่อน ตอนนี้ก็งานยุ่งยังไม่ได้ปฏิบัติเป็นชิ้นเป็นอันตามครูสอนเลยครับ 555

.....................................................
(จิตรู้สมมติ เป็นสมุทัย)
(ผลอันเกิดจากจิตรู้สมมติ เป็นทุกข์)
(จิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นมรรค)
(ผลอันเกิดจากจิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นนิโรธ)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 ธ.ค. 2018, 19:54 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
eragon_joe เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
พอดีเจอคำสอนครูบาอาจารย์ เห็นควรว่าผมเหลาะแหละมานานแระ s002 s002 s002

คงต้องเร่งเพียรแว้วววว onion onion onion s007 s007 s007


เอามาฝากบ้าง...^^

ช่วงนี้เอกอนชีพจรลงเท้า :b32:
เดินทางติดต่อกันมาหลายวันแล้ว

ยังไม่สะดวกคีย์อะไรยาวๆ

:b32:

อ่านบนมือถือตาลายจริงๆ :b23:


มีลบไปอีกหนึ่งละ...กับคำถาม..ข้อที่..9??..ช่องว่าง..ช่องว่าง..มีเข้ามีออก..

ใครลบออกหน่า? :b32: :b32: :b32:

เอกอนดูทันเปล่า? :b13:

:b8:

โห่มีเรื่องแบบนี้เกิดขึ้นที่นี้ด้วยเหรอครับ หรือคุณกบพลาดมือลบเองหรือป่าวครับ s006

:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 ธ.ค. 2018, 10:10 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 7
สมาชิก ระดับ 7
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ต.ค. 2018, 00:52
โพสต์: 512

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


มนสิการอุเบกขา และ ศีล

(จำเป็นต้องกล่าวก่อนคำถามที่ ๘ อิอิ ไม่งั้นจะขาดตอนไม่ลำดับกัน)

.....................................................
(จิตรู้สมมติ เป็นสมุทัย)
(ผลอันเกิดจากจิตรู้สมมติ เป็นทุกข์)
(จิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นมรรค)
(ผลอันเกิดจากจิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นนิโรธ)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ธ.ค. 2018, 15:31 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 7
สมาชิก ระดับ 7
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ต.ค. 2018, 00:52
โพสต์: 512

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


แค่อากาศ เขียน:
eragon_joe เขียน:
:b20: ผักกาด

ให้เอกอนได้มีโอกาสได้อ่านอีกรอบน๊าาาาา

:b20:

เอกอนยังไม่ได้อ่านเยยยยย

Kiss Kiss Kiss



ขอบคุณครับ ท่านเอกอน ท่านกบ ที่เมตตากรุณาอ่านเรียงความผม อิอิ ไว้มีเรื่องคุยจะแวบมาคุยด้วยครับ ไปคิดหาเรื่องคุยก่อน ตอนนี้ก็งานยุ่งยังไม่ได้ปฏิบัติเป็นชิ้นเป็นอันตามครูสอนเลยครับ 555




คำถามที่ ๓.๔. อุเบกขา ท่านเอกอนมนสิการไปยังไงเมื่อเจอสิ่งที่ชัง

- เวลาที่เราเจอสิ่งที่ชัง มันจะร้อน ใช่มะ เกิดความโกรธ ขัดใจ ข้องใจ คิดร้าย เพ่งโทษใช่มะ


- อุเบกขาสำหรับคนที่ฝึกไหม่ หรือเคยเข้าได้ไม่บ่อยไม่เห็นคลองเก่าตน มักจะหมายเอาแต่ว่าไม่ยินดียินร้าย ว่างๆ เฉยๆ แล้วก็แผ่อุเบกขา สัพเพ สัตตา กัมมัสสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนิ กัมมะพันธุ กัมมะปะฏิสะระณา ยัง กัมมัง กะริสสันติ , กัล๎ยาณัง วา ปาปะกัง วา , ตัสสะ ทายาทา ภาวิสสันติ บ้าง คิดแต่ว่าตสัตว์ทั้งปวงเป็นไปตามกรรม เพราะล่วงกรรม จึงเกิดผลสืบต่อ ขอเธออย่าได้ทำกรรมเบียดเบียนฉันเลย ทำให้บีบกดดันใจตนให้แตกปะทุ.. แท้จริงแล้วทุกอย่างมีคลองทำไว้ในใจ การไท่ล่วงกรรมนี้นั้น เป็นผลสืบต่อ ไม่ใช่การทำไว้ในใจ


- มนสิการอุเบกขา คือ ความไม่ติดใจข้องแวะ (สั้นๆแค่นี้แหละ) ไม่สนใจแค่นั้นเอง จะว่าง่ายก็ไม่ง่าย จะยากก็ไม่ยาก แค่ทำไว้ในใจเป็น เช่นว่า.. เมื่อเราเจอสิ่งที่ชัง แรกสุดเลยเราจะคิดร้าย ไม่พอใจ คิดข้องใจ เมื่อตั้งมั่นฝึกทำอุเบกขา ให้ทำไว้ในใจดังนี้..

____ก. การทำไว้ในใจ ให้พึงมีสติเป็นเบื้องหน้าทำความสงบไว้ภายในใจ..ทำความไม่ติดใจข้องแวะ มีอาการที่ไม่สนใจ ไม่ยึด ไม่มี ไม่เอา ด้วยน้อมใจไปว่าเราจักเป็นผู้ไม่ล่วงการกระทำบาปอกุศลทั้งปวง เป็นผู้ละเว้นแล้ว คือ ไม่กระทำการใดๆแม้กายก็ดี วาจาก็ดี แม้ใจก็ดี เราจักเป็นผู้ดำรงอยู่ด้วยความไม่กา้วล่วงกระทำกรรมบาปอกุศลเหล่าใดทั้งปวง ปิดการกระทำและรับรู้ทางกาย วาจา ใจ ด้วยความไม่ติดใจข้องแวะสิ่งใดในโลก เพื่อมีใจไม่ยินดียินร้ายกระทำล่วงกรรมอันเป็นบาปอกุศลต่อเขา น้อมไปในการสละ
.. หากยังนึกถึงอาการของความไม่ติดใจข้องแวะไม่ออกก็ให้อุปมากำหนดนิมิตจิตเราเป็นดั่งอากาศธาตุ หรือ อากาศในโลกนี้ มันว่างโล่งกว้างไม่มีสิ่งใดเคลือบแคลงปะปน ไม่ว่าใครจะด่าฟ้า มีขี้ ปฏิกูล ใครทำอะไรต่ออากาศ อากาศมันก็ยังนิ่งเฉย มันยังว่างโล่งมีเกื้อกูลต่อสิ่งทั้งปวง อากาศมันยังทำเพียงแค่รู้ ก็สักแต่ว่ารู้ ไม่กระทำตอบโต้ ไม่ก้าวล่วงกรรม ไม่ยินดียินร้ายต่อใครหรือสิ่งใดๆทั้งสิ้น นิ่งเฉย มันโล่งว่าง ยังคงความเป็นที่ว่างเป็นอากาศที่คงความว่างบริสุทธิ์โล่งไปไม่มีสิ่งเคลือบแคลงภายใน ไม่กระทำสิ่งใดโต้ต้อบ นี่อากาศตบะแก่กล้ามากเลยนะไม่กระทำไรๆตอบโต้สิ่งใดเลย อิอิ มีแต่ความว่างโล่งไม่มีสิ่งเคลือบแคลงอันใดติดข้อง รัก ชังต่อ คน สัตว์ สิ่งของใด รูป เสียง กลิ่น รส สิ่งที่สัมผัสอากาศใดๆ จิตเราเป็นดั่งอากาศนั้นแผ่กว้างขยายความว่าง ความไม่กระทำ ความไม่ยึด ความไม่มี ความโล่งไม่มีสิ่งเคลือบแคลงปะปนภายในกว้างออกไปไม่สิ้นสุด แล้วพึงทำใจให้เปิดโล่งไม่กว้างว่างไปไม่สิ้นสุด จะมีอยู่ที่ใจก็แค่เพียงรู้แล้วก็ปล่อยผ่านไปไม่ยึดไม่กระทำสิ่งไรๆโต้ตอบต่อโลก จิตน้อมไปในอุเบกขา
____ข. พิจารณาทำความเข้าใจ ดูสภาวะธรรมของเขาที่เกิดมีขึ้น ที่เขาทำไปอย่างนั้นด้วยเหตุใด เพราะเขาติดใจข้องแวะโลกใช่ไหมด้วย อภิชชา โทมนัส ตระหนี่ อิจฉา ริษยา ฉันทะ ปฏิฆะ หากเมื่อเห็นว่าเพราะอกุศลรัดตรึงเขาไว้ให้พึงเห็นเขาเป็นผู้มีทุกข์ถูกไฟครอกอยู่ มันน่าสงสารนะ เวลาที่ใจเราไม่ติดใคร่ ข้องแวะในสิ่งใด มันอัดอั้น ร่อมรุ่มไฟสุมใจทรมานมากนะ ได้เห็น ได้ยิน ได้กลิ่น ได้ลิ้มรส ได้สัมผัสกายอะไรยังไงมันก็ร้อนชิงชังมีไฟสุมใจไปหมด
.. ทำให้เห็นได้ว่า.. เมื่อติดใจข้องแวะสิ่งใด ก็ทุกข์เพราะสิ่งนั้น ไม่ว่าสิ่งนั้นจะสุขหรือทุกข์ พอสุขก็ติดใจอยากได้อีก พอทุกข์ก็ออยากจะผลักหนีให้ไกลตนอีก
.. ซึ่งโดยทั้งที่จริงแล้วการดำรงชีพอยู่บนโลกนี้ด้วยความเป็นโลก มันต้องพบเจอทั้งสิ่งที่รักที่ชัง ผลการกระทำไรๆที่เราจะกระทำตอบโต้เมื่อรับรู้สิ่งเหล่านี้ล้วนมีผลสืบต่อเป็นให้เกิดมีทั้งที่รักที่ชังทั้งสิ้น ผลแห่งที่รักที่ชังนี้นั้นล้วนให้ผลสืบต่อเป็นทุกข์ติดตามมาทั้งหมดดังที่กล่าวว่า..ทุุกข์เพราะรัก ติดใคร่โหยหาให้ได้เสพย์ ทุกข์เพราะชัง เกลียด กลัว ไม่อยากเจอ ไม่อยากมี ไม่อยากเป็น อยากผลักไสให้ไกลตน ไม่กระทำสิ่งใดก็ไม่มีที่รักที่ชังสนองตอบสิ่งใดทั้งเขาและเรา
.. โลกมันเป็นของมันอย่างนี้มานานแล้ว เราเองนั้นแหละที่ไปติดใจข้องแวะมันเอง
.. ด้วยเหตุดังนี้พึงเห็นได้ว่า.. ติดใจข้องแวะมาก-ก็ทุกข์มาก, ติดใจข้องแวะน้อย-ก็ทุกข์น้อย, ติดใจข้องแวะร้อย-ก็ทุกร้อย, ไม่ติดใจข้องแวะเลย-ก็ไม่ทุกข์เลย (ลองนึกถึงเวลาที่เราไม่ติดใจข้องแวะใครสิ่งใดในโลกดูสิ ไม่มีอะไรที่จะมาดึงมารั้ง หน่วงเนี่ยวตรึงจิตให้ทุกข์ได้เลยใช่ไหม)
.. ดังนี้ควรแล้วที่เราจะเกื้อกูลเขา ไม่ควรกระทำกรรมตอบโต้เขา ไม่เป็นเวรภัยแก่เขา ไม่สุมไฟเพิ่มแก่เขา ทำใจประดุจเหมือนดังอากาศที่ไม่ยินดียินร้ายต่อสิ่งใดๆ เป็นความว่าง ไม่มีตัวตน สิ่งใดเข้ามาก็ผ่านลอดไม่หมดไม่กักเก็บเอาไว้ มีความโล่งใจไม่มีความเคลือบแคลงแก่สัตว์ผู้ทุกข์ทั้งปวง ด้วยพึงทำไว้ในใจว่า..
.. แล้วใจเราจะเป็นแค่ตัวรู้ที่สักแต่ว่ารู้ ไม่ใช่ตัวกระทำกรรมใด แม้เจตนา แม้วาจา แม้ด้วยกาย จิตน้อมไปในความปล่อย ละ วาง ไม่มีสิ่งหนักหน่วง ตรึง ดึง ขึงจิตไว้อีก จิตไม่กระทำเจตนาต่อสิ่งใด จิตเบาสบาย จิตมันว่างโล่งไปไม่มีสิ่งเคลือบแคลง
แผ่ขยายแทรกซึมไปประดุจดั่งอากาศที่มีอยู่ในทุกๆอณูธาตุไปสู่เขา จิตเดินเข้าสู่อุเบกขา

ประมาณนี้แหละ


ตอบตามสัจจะที่ว่าไว้แล้วนะครับ อิอิอิ

.....................................................
(จิตรู้สมมติ เป็นสมุทัย)
(ผลอันเกิดจากจิตรู้สมมติ เป็นทุกข์)
(จิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นมรรค)
(ผลอันเกิดจากจิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นนิโรธ)


แก้ไขล่าสุดโดย แค่อากาศ เมื่อ 19 ธ.ค. 2018, 16:06, แก้ไขแล้ว 14 ครั้ง.

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ธ.ค. 2018, 15:34 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 7
สมาชิก ระดับ 7
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ต.ค. 2018, 00:52
โพสต์: 512

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ธรรมแก้
ความใจแคบ ผูกเวร พยาบาท โทสะ มีเมตตาเป็นธรรมแก้
ความแล้งน้ำใจ ตระหนี่ หวงแหน มีกรุณาเป็นธรรมแก้
ความอิจฉา(ไม่ใช่อิจสา) และริษยา มีมุทิตาเป็นธรรมแก้
จิตอ่อนไหวไม่มีกำลัง ความไม่รู้จริง ราคะ มีอุเบกขาเป็นธรรมแก้

มนสิการเมตตา คือ มีใจกว้าง
มนสิการกรุณา คือ มีน้ำใจ
มนสิการมุทิตา คือ อิ่มใจ
มนสิการอุเบกขา คือ ไม่ติดใจข้องแวะ

พรหมวิหาร ๔ กับ ศีล
ความใจกว้าง ไม่มุ่งร้าย มีใจสงเคราะห์ ยินดีที่คงความสุขของผู้อื่นไว้ได้ ไม่ก้าวล่วกรรม เจตนาละเว้น มีศีลเป็นอานิสงส์ ซึ่งแต่ละอย่างจะมีระดับของศีลต่างๆกันไป จากศีลที่เป็นกายและวาจา ศีลเพื่อเกื้อกูลกัน ศีลลงใจ สุดท้ายคืออินทรีย์สังวรมีเจตนาเป็นศีล

กรรมฐาน
กรรมฐานที่มีต่อเมตตาพรหมวิหารธรรม คือ สีลานุสสติ(ผลสืบเนื่องจากอนุสสติ ๓)
กรรมฐานที่มีต่อกรุณาพรหมวิหารธรรม คือ จาคานุสสติ(ผลสืบเนื่องจากสีลานุสสติ)
กรรมฐานที่มีต่อมุทิตาพรหมวิหารธรรม คือ เทวตานุสสติ(ผลสืบเนื่องจากจาคานุสสติ)
กรรมฐานที่มีต่ออุเบกขาพรหมวิหารธรรม คือ อุปปสมานุสสติ(ผลสืบเนื่องจากเทวตานุสสติ)

มนสิการฌาณ
เมตตา คือ นิมิต
กรุณา คือ ว่าง
มุทิตา คือ รู้
อุเบกขา คือ ไม่มี

ไว้ขยันแล้วจะพิมพ์คุยกับท่านๆในภายหลังครับ พอดีเพิ่งได้กรรมฐานกับครูมาต้องทำก่อนครับ เพราะครูท่านก็มีอายุมากแล้วและเจ็บป่วยอยู่ อยากแสดงผลให้ท่านเห็นโดยไวเพื่อท่านสังฆบูชาแก่ท่าน ให้ท่านเห็นว่าไม่ได้สอนธรรมพ้นทุกข์แก่โมฆะบุรุษน่ะครับ

ส่วนธรรมผมนี้เพราะเป็นการปฏิบัติตามธรรมของพระพุทธเจ้า อันมีพระอรหันตสาวก พระอริยะสาวกท่านผู้ปฏิบัติตรงแล้วได้กรุณาสอนผมมาให้เจริญปฏิบัติแล้วเห็นผลได้เฉพาะตนของปุถุชนทั่วไปอย่างผมเท่านั้น ดังนั้นด้วยความเป็นปุถุชนของผมนี้จึงให้ท่านทั้งหลายพึงรู้ไว้ก่อนว่า ของปลอมมันมีเยอะ ท่านต้องเข้าเห็นต้องพิจารณาแล้วปฏิบัติแยกแยะเอาครับ บางทีมันไม่ได้มีค่ามากมายหรือไม่มีค่าเลย แต่สิ่งที่ผมโพสท์ทั้งหมดในหัวข้อเดียวนั้นสามารถปฏิบัติแล้วเดินได้ทั้งขั้นต้น ท่ามกลาง และที่สุดตามลำดับ (ถ้าผมไม่มั่วเอานะครับ 555)

:b16: :b16: :b16: :b8: :b8: :b8:

.....................................................
(จิตรู้สมมติ เป็นสมุทัย)
(ผลอันเกิดจากจิตรู้สมมติ เป็นทุกข์)
(จิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นมรรค)
(ผลอันเกิดจากจิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นนิโรธ)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ธ.ค. 2018, 20:19 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5013


 ข้อมูลส่วนตัว


แค่อากาศ เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
eragon_joe เขียน:
:b20: ผักกาด

ให้เอกอนได้มีโอกาสได้อ่านอีกรอบน๊าาาาา

:b20:

เอกอนยังไม่ได้อ่านเยยยยย

Kiss Kiss Kiss



ขอบคุณครับ ท่านเอกอน ท่านกบ ที่เมตตากรุณาอ่านเรียงความผม อิอิ ไว้มีเรื่องคุยจะแวบมาคุยด้วยครับ ไปคิดหาเรื่องคุยก่อน ตอนนี้ก็งานยุ่งยังไม่ได้ปฏิบัติเป็นชิ้นเป็นอันตามครูสอนเลยครับ 555




คำถามที่ ๓.๔. อุเบกขา ท่านเอกอนมนสิการไปยังไงเมื่อเจอสิ่งที่ชัง

- เวลาที่เราเจอสิ่งที่ชัง มันจะร้อน ใช่มะ เกิดความโกรธ ขัดใจ ข้องใจ คิดร้าย เพ่งโทษใช่มะ


- อุเบกขาสำหรับคนที่ฝึกไหม่ หรือเคยเข้าได้ไม่บ่อยไม่เห็นคลองเก่าตน มักจะหมายเอาแต่ว่าไม่ยินดียินร้าย ว่างๆ เฉยๆ แล้วก็แผ่อุเบกขา สัพเพ สัตตา กัมมัสสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนิ กัมมะพันธุ กัมมะปะฏิสะระณา ยัง กัมมัง กะริสสันติ , กัล๎ยาณัง วา ปาปะกัง วา , ตัสสะ ทายาทา ภาวิสสันติ บ้าง คิดแต่ว่าตสัตว์ทั้งปวงเป็นไปตามกรรม เพราะล่วงกรรม จึงเกิดผลสืบต่อ ขอเธออย่าได้ทำกรรมเบียดเบียนฉันเลย ทำให้บีบกดดันใจตนให้แตกปะทุ.. แท้จริงแล้วทุกอย่างมีคลองทำไว้ในใจ การไท่ล่วงกรรมนี้นั้น เป็นผลสืบต่อ ไม่ใช่การทำไว้ในใจ


- มนสิการอุเบกขา คือ ความไม่ติดใจข้องแวะ (สั้นๆแค่นี้แหละ) ไม่สนใจแค่นั้นเอง จะว่าง่ายก็ไม่ง่าย จะยากก็ไม่ยาก แค่ทำไว้ในใจเป็น เช่นว่า.. เมื่อเราเจอสิ่งที่ชัง แรกสุดเลยเราจะคิดร้าย ไม่พอใจ คิดข้องใจ เมื่อตั้งมั่นฝึกทำอุเบกขา ให้ทำไว้ในใจดังนี้..

____ก. การทำไว้ในใจ ให้พึงมีสติเป็นเบื้องหน้าทำความสงบไว้ภายในใจ..ทำความไม่ติดใจข้องแวะ มีอาการที่ไม่สนใจ ไม่ยึด ไม่มี ไม่เอา ด้วยน้อมใจไปว่าเราจักเป็นผู้ไม่ล่วงการกระทำบาปอกุศลทั้งปวง เป็นผู้ละเว้นแล้ว คือ ไม่กระทำการใดๆแม้กายก็ดี วาจาก็ดี แม้ใจก็ดี เราจักเป็นผู้ดำรงอยู่ด้วยความไม่กา้วล่วงกระทำกรรมบาปอกุศลเหล่าใดทั้งปวง ปิดการกระทำและรับรู้ทางกาย วาจา ใจ ด้วยความไม่ติดใจข้องแวะสิ่งใดในโลก เพื่อมีใจไม่ยินดียินร้ายกระทำล่วงกรรมอันเป็นบาปอกุศลต่อเขา น้อมไปในการสละ
.. หากยังนึกถึงอาการของความไม่ติดใจข้องแวะไม่ออกก็ให้อุปมากำหนดนิมิตจิตเราเป็นดั่งอากาศธาตุ หรือ อากาศในโลกนี้ มันว่างโล่งกว้างไม่มีสิ่งใดเคลือบแคลงปะปน ไม่ว่าใครจะด่าฟ้า มีขี้ ปฏิกูล ใครทำอะไรต่ออากาศ อากาศมันก็ยังนิ่งเฉย มันยังว่างโล่งมีเกื้อกูลต่อสิ่งทั้งปวง อากาศมันยังทำเพียงแค่รู้ ก็สักแต่ว่ารู้ ไม่กระทำตอบโต้ ไม่ก้าวล่วงกรรม ไม่ยินดียินร้ายต่อใครหรือสิ่งใดๆทั้งสิ้น นิ่งเฉย มันโล่งว่าง ยังคงความเป็นที่ว่างเป็นอากาศที่คงความว่างบริสุทธิ์โล่งไปไม่มีสิ่งเคลือบแคลงภายใน ไม่กระทำสิ่งใดโต้ต้อบ นี่อากาศตบะแก่กล้ามากเลยนะไม่กระทำไรๆตอบโต้สิ่งใดเลย อิอิ มีแต่ความว่างโล่งไม่มีสิ่งเคลือบแคลงอันใดติดข้อง รัก ชังต่อ คน สัตว์ สิ่งของใด รูป เสียง กลิ่น รส สิ่งที่สัมผัสอากาศใดๆ จิตเราเป็นดั่งอากาศนั้นแผ่กว้างขยายความว่าง ความไม่กระทำ ความไม่ยึด ความไม่มี ความโล่งไม่มีสิ่งเคลือบแคลงปะปนภายในกว้างออกไปไม่สิ้นสุด แล้วพึงทำใจให้เปิดโล่งไม่กว้างว่างไปไม่สิ้นสุด จะมีอยู่ที่ใจก็แค่เพียงรู้แล้วก็ปล่อยผ่านไปไม่ยึดไม่กระทำสิ่งไรๆโต้ตอบต่อโลก จิตน้อมไปในอุเบกขา
____ข. พิจารณาทำความเข้าใจ ดูสภาวะธรรมของเขาที่เกิดมีขึ้น ที่เขาทำไปอย่างนั้นด้วยเหตุใด เพราะเขาติดใจข้องแวะโลกใช่ไหมด้วย อภิชชา โทมนัส ตระหนี่ อิจฉา ริษยา ฉันทะ ปฏิฆะ หากเมื่อเห็นว่าเพราะอกุศลรัดตรึงเขาไว้ให้พึงเห็นเขาเป็นผู้มีทุกข์ถูกไฟครอกอยู่ มันน่าสงสารนะ เวลาที่ใจเราไม่ติดใคร่ ข้องแวะในสิ่งใด มันอัดอั้น ร่อมรุ่มไฟสุมใจทรมานมากนะ ได้เห็น ได้ยิน ได้กลิ่น ได้ลิ้มรส ได้สัมผัสกายอะไรยังไงมันก็ร้อนชิงชังมีไฟสุมใจไปหมด
.. ทำให้เห็นได้ว่า.. เมื่อติดใจข้องแวะสิ่งใด ก็ทุกข์เพราะสิ่งนั้น ไม่ว่าสิ่งนั้นจะสุขหรือทุกข์ พอสุขก็ติดใจอยากได้อีก พอทุกข์ก็ออยากจะผลักหนีให้ไกลตนอีก
.. ซึ่งโดยทั้งที่จริงแล้วการดำรงชีพอยู่บนโลกนี้ด้วยความเป็นโลก มันต้องพบเจอทั้งสิ่งที่รักที่ชัง ผลการกระทำไรๆที่เราจะกระทำตอบโต้เมื่อรับรู้สิ่งเหล่านี้ล้วนมีผลสืบต่อเป็นให้เกิดมีทั้งที่รักที่ชังทั้งสิ้น ผลแห่งที่รักที่ชังนี้นั้นล้วนให้ผลสืบต่อเป็นทุกข์ติดตามมาทั้งหมดดังที่กล่าวว่า..ทุุกข์เพราะรัก ติดใคร่โหยหาให้ได้เสพย์ ทุกข์เพราะชัง เกลียด กลัว ไม่อยากเจอ ไม่อยากมี ไม่อยากเป็น อยากผลักไสให้ไกลตน ไม่กระทำสิ่งใดก็ไม่มีที่รักที่ชังสนองตอบสิ่งใดทั้งเขาและเรา
.. โลกมันเป็นของมันอย่างนี้มานานแล้ว เราเองนั้นแหละที่ไปติดใจข้องแวะมันเอง
.. ด้วยเหตุดังนี้พึงเห็นได้ว่า.. ติดใจข้องแวะมาก-ก็ทุกข์มาก, ติดใจข้องแวะน้อย-ก็ทุกข์น้อย, ติดใจข้องแวะร้อย-ก็ทุกร้อย, ไม่ติดใจข้องแวะเลย-ก็ไม่ทุกข์เลย (ลองนึกถึงเวลาที่เราไม่ติดใจข้องแวะใครสิ่งใดในโลกดูสิ ไม่มีอะไรที่จะมาดึงมารั้ง หน่วงเนี่ยวตรึงจิตให้ทุกข์ได้เลยใช่ไหม)
.. ดังนี้ควรแล้วที่เราจะเกื้อกูลเขา ไม่ควรกระทำกรรมตอบโต้เขา ไม่เป็นเวรภัยแก่เขา ไม่สุมไฟเพิ่มแก่เขา ทำใจประดุจเหมือนดังอากาศที่ไม่ยินดียินร้ายต่อสิ่งใดๆ เป็นความว่าง ไม่มีตัวตน สิ่งใดเข้ามาก็ผ่านลอดไม่หมดไม่กักเก็บเอาไว้ มีความโล่งใจไม่มีความเคลือบแคลงแก่สัตว์ผู้ทุกข์ทั้งปวง ด้วยพึงทำไว้ในใจว่า..
.. แล้วใจเราจะเป็นแค่ตัวรู้ที่สักแต่ว่ารู้ ไม่ใช่ตัวกระทำกรรมใด แม้เจตนา แม้วาจา แม้ด้วยกาย จิตน้อมไปในความปล่อย ละ วาง ไม่มีสิ่งหนักหน่วง ตรึง ดึง ขึงจิตไว้อีก จิตไม่กระทำเจตนาต่อสิ่งใด จิตเบาสบาย จิตมันว่างโล่งไปไม่มีสิ่งเคลือบแคลง
แผ่ขยายแทรกซึมไปประดุจดั่งอากาศที่มีอยู่ในทุกๆอณูธาตุไปสู่เขา จิตเดินเข้าสู่อุเบกขา

ประมาณนี้แหละ


ตอบตามสัจจะที่ว่าไว้แล้วนะครับ อิอิอิ


:b12: :b12: :b12:

เห็นมั๊ย เอกอนกลัวจะมีคนแอบมาลบมากเลยนะนี่

:b13: :b13: :b13:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ธ.ค. 2018, 20:23 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5013


 ข้อมูลส่วนตัว


แค่อากาศ เขียน:
ธรรมแก้
ความใจแคบ ผูกเวร พยาบาท โทสะ มีเมตตาเป็นธรรมแก้
ความแล้งน้ำใจ ตระหนี่ หวงแหน มีกรุณาเป็นธรรมแก้
ความอิจฉา(ไม่ใช่อิจสา) และริษยา มีมุทิตาเป็นธรรมแก้
จิตอ่อนไหวไม่มีกำลัง ความไม่รู้จริง ราคะ มีอุเบกขาเป็นธรรมแก้

มนสิการเมตตา คือ มีใจกว้าง
มนสิการกรุณา คือ มีน้ำใจ
มนสิการมุทิตา คือ อิ่มใจ
มนสิการอุเบกขา คือ ไม่ติดใจข้องแวะ

พรหมวิหาร ๔ กับ ศีล
ความใจกว้าง ไม่มุ่งร้าย มีใจสงเคราะห์ ยินดีที่คงความสุขของผู้อื่นไว้ได้ ไม่ก้าวล่วกรรม เจตนาละเว้น มีศีลเป็นอานิสงส์ ซึ่งแต่ละอย่างจะมีระดับของศีลต่างๆกันไป จากศีลที่เป็นกายและวาจา ศีลเพื่อเกื้อกูลกัน ศีลลงใจ สุดท้ายคืออินทรีย์สังวรมีเจตนาเป็นศีล

กรรมฐาน
กรรมฐานที่มีต่อเมตตาพรหมวิหารธรรม คือ สีลานุสสติ(ผลสืบเนื่องจากอนุสสติ ๓)
กรรมฐานที่มีต่อกรุณาพรหมวิหารธรรม คือ จาคานุสสติ(ผลสืบเนื่องจากสีลานุสสติ)
กรรมฐานที่มีต่อมุทิตาพรหมวิหารธรรม คือ เทวตานุสสติ(ผลสืบเนื่องจากจาคานุสสติ)
กรรมฐานที่มีต่ออุเบกขาพรหมวิหารธรรม คือ อุปปสมานุสสติ(ผลสืบเนื่องจากเทวตานุสสติ)

มนสิการฌาณ
เมตตา คือ นิมิต
กรุณา คือ ว่าง
มุทิตา คือ รู้
อุเบกขา คือ ไม่มี

ไว้ขยันแล้วจะพิมพ์คุยกับท่านๆในภายหลังครับ พอดีเพิ่งได้กรรมฐานกับครูมาต้องทำก่อนครับ เพราะครูท่านก็มีอายุมากแล้วและเจ็บป่วยอยู่ อยากแสดงผลให้ท่านเห็นโดยไวเพื่อท่านสังฆบูชาแก่ท่าน ให้ท่านเห็นว่าไม่ได้สอนธรรมพ้นทุกข์แก่โมฆะบุรุษน่ะครับ

ส่วนธรรมผมนี้เพราะเป็นการปฏิบัติตามธรรมของพระพุทธเจ้า อันมีพระอรหันตสาวก พระอริยะสาวกท่านผู้ปฏิบัติตรงแล้วได้กรุณาสอนผมมาให้เจริญปฏิบัติแล้วเห็นผลได้เฉพาะตนของปุถุชนทั่วไปอย่างผมเท่านั้น ดังนั้นด้วยความเป็นปุถุชนของผมนี้จึงให้ท่านทั้งหลายพึงรู้ไว้ก่อนว่า ของปลอมมันมีเยอะ ท่านต้องเข้าเห็นต้องพิจารณาแล้วปฏิบัติแยกแยะเอาครับ บางทีมันไม่ได้มีค่ามากมายหรือไม่มีค่าเลย แต่สิ่งที่ผมโพสท์ทั้งหมดในหัวข้อเดียวนั้นสามารถปฏิบัติแล้วเดินได้ทั้งขั้นต้น ท่ามกลาง และที่สุดตามลำดับ (ถ้าผมไม่มั่วเอานะครับ 555)

:b16: :b16: :b16: :b8: :b8: :b8:


อ่านแล้วก็พลอยรู้สึกดีแช่มชื่นไปกับ ผักกาด ด้วย :b1:

แค่อากาศ เขียน:
ไว้ขยันแล้วจะพิมพ์คุยกับท่านๆในภายหลังครับ พอดีเพิ่งได้กรรมฐานกับครูมาต้องทำก่อนครับ เพราะครูท่านก็มีอายุมากแล้วและเจ็บป่วยอยู่ อยากแสดงผลให้ท่านเห็นโดยไวเพื่อท่านสังฆบูชาแก่ท่าน ให้ท่านเห็นว่าไม่ได้สอนธรรมพ้นทุกข์แก่โมฆะบุรุษน่ะครับ

:b8: :b8: :b8:

ขอให้สำเร็จสมดังที่ตั้งใจไว้นะ เอกอนคงได้แต่ให้กำลังใจอย่างเต็มที่

:b1:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ธ.ค. 2018, 11:43 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 7
สมาชิก ระดับ 7
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ต.ค. 2018, 00:52
โพสต์: 512

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


eragon_joe เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
ธรรมแก้
ความใจแคบ ผูกเวร พยาบาท โทสะ มีเมตตาเป็นธรรมแก้
ความแล้งน้ำใจ ตระหนี่ หวงแหน มีกรุณาเป็นธรรมแก้
ความอิจฉา(ไม่ใช่อิจสา) และริษยา มีมุทิตาเป็นธรรมแก้
จิตอ่อนไหวไม่มีกำลัง ความไม่รู้จริง ราคะ มีอุเบกขาเป็นธรรมแก้

มนสิการเมตตา คือ มีใจกว้าง
มนสิการกรุณา คือ มีน้ำใจ
มนสิการมุทิตา คือ อิ่มใจ
มนสิการอุเบกขา คือ ไม่ติดใจข้องแวะ

พรหมวิหาร ๔ กับ ศีล
ความใจกว้าง ไม่มุ่งร้าย มีใจสงเคราะห์ ยินดีที่คงความสุขของผู้อื่นไว้ได้ ไม่ก้าวล่วกรรม เจตนาละเว้น มีศีลเป็นอานิสงส์ ซึ่งแต่ละอย่างจะมีระดับของศีลต่างๆกันไป จากศีลที่เป็นกายและวาจา ศีลเพื่อเกื้อกูลกัน ศีลลงใจ สุดท้ายคืออินทรีย์สังวรมีเจตนาเป็นศีล

กรรมฐาน
กรรมฐานที่มีต่อเมตตาพรหมวิหารธรรม คือ สีลานุสสติ(ผลสืบเนื่องจากอนุสสติ ๓)
กรรมฐานที่มีต่อกรุณาพรหมวิหารธรรม คือ จาคานุสสติ(ผลสืบเนื่องจากสีลานุสสติ)
กรรมฐานที่มีต่อมุทิตาพรหมวิหารธรรม คือ เทวตานุสสติ(ผลสืบเนื่องจากจาคานุสสติ)
กรรมฐานที่มีต่ออุเบกขาพรหมวิหารธรรม คือ อุปปสมานุสสติ(ผลสืบเนื่องจากเทวตานุสสติ)

มนสิการฌาณ
เมตตา คือ นิมิต
กรุณา คือ ว่าง
มุทิตา คือ รู้
อุเบกขา คือ ไม่มี

ไว้ขยันแล้วจะพิมพ์คุยกับท่านๆในภายหลังครับ พอดีเพิ่งได้กรรมฐานกับครูมาต้องทำก่อนครับ เพราะครูท่านก็มีอายุมากแล้วและเจ็บป่วยอยู่ อยากแสดงผลให้ท่านเห็นโดยไวเพื่อท่านสังฆบูชาแก่ท่าน ให้ท่านเห็นว่าไม่ได้สอนธรรมพ้นทุกข์แก่โมฆะบุรุษน่ะครับ

ส่วนธรรมผมนี้เพราะเป็นการปฏิบัติตามธรรมของพระพุทธเจ้า อันมีพระอรหันตสาวก พระอริยะสาวกท่านผู้ปฏิบัติตรงแล้วได้กรุณาสอนผมมาให้เจริญปฏิบัติแล้วเห็นผลได้เฉพาะตนของปุถุชนทั่วไปอย่างผมเท่านั้น ดังนั้นด้วยความเป็นปุถุชนของผมนี้จึงให้ท่านทั้งหลายพึงรู้ไว้ก่อนว่า ของปลอมมันมีเยอะ ท่านต้องเข้าเห็นต้องพิจารณาแล้วปฏิบัติแยกแยะเอาครับ บางทีมันไม่ได้มีค่ามากมายหรือไม่มีค่าเลย แต่สิ่งที่ผมโพสท์ทั้งหมดในหัวข้อเดียวนั้นสามารถปฏิบัติแล้วเดินได้ทั้งขั้นต้น ท่ามกลาง และที่สุดตามลำดับ (ถ้าผมไม่มั่วเอานะครับ 555)

:b16: :b16: :b16: :b8: :b8: :b8:


อ่านแล้วก็พลอยรู้สึกดีแช่มชื่นไปกับ ผักกาด ด้วย :b1:

แค่อากาศ เขียน:
ไว้ขยันแล้วจะพิมพ์คุยกับท่านๆในภายหลังครับ พอดีเพิ่งได้กรรมฐานกับครูมาต้องทำก่อนครับ เพราะครูท่านก็มีอายุมากแล้วและเจ็บป่วยอยู่ อยากแสดงผลให้ท่านเห็นโดยไวเพื่อท่านสังฆบูชาแก่ท่าน ให้ท่านเห็นว่าไม่ได้สอนธรรมพ้นทุกข์แก่โมฆะบุรุษน่ะครับ

:b8: :b8: :b8:

ขอให้สำเร็จสมดังที่ตั้งใจไว้นะ เอกอนคงได้แต่ให้กำลังใจอย่างเต็มที่

:b1:


ขอยพระคุณครับท่านเอกอน ท่านอ๊บ ที่เมตตาครับ ได้มากผมก็จะถือว่าได้ทำสะสมมาดีแล้ว ได้น้อยไม่ถึงเป้าหมายหรือไม่ได้อะไรเลยผมก็จะคิดว่าได้ทำสะสมเหตุหยอดบารมีธรรมทำอิทธิบาท ๔ แล้วครับ อิอิ

.....................................................
(จิตรู้สมมติ เป็นสมุทัย)
(ผลอันเกิดจากจิตรู้สมมติ เป็นทุกข์)
(จิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นมรรค)
(ผลอันเกิดจากจิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นนิโรธ)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ธ.ค. 2018, 13:32 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 7
สมาชิก ระดับ 7
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ต.ค. 2018, 00:52
โพสต์: 512

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


๖. ศีลในพระพุทธศาสนา คือ ผลของพรหมวิหาร ๔ ใช่หรือไม่ เพราะเหตุใด

พรหมวิหาร ๔ ไปสู่ศีลของพระพุทธเจ้า

ขั้นที่ ๑ เมตตาตนเองได้ ใจก็เกิดน้อมใน ศีล


อ้างคำพูด:

เมตตา คือ ใจกว้าง
กรุณา คือ น้ำใจ
มุทิตา คือ อิ่มใจ
อุเบกขา คือ ไม่ติดใจข้องแวะ



**หมายเหตุ ผมใช้คำสั่ง TD ไม่ได้เพื่อทำตาราง จึงใช้ Quote แทน มันจึงขึ้นว่าอ้างอิงคำพูด**


ศีล คือ ความปรกติ ไม่ใช่ว่าร่างกายปรกติสมบูรณ์ ไม่ใช่ไม่กระทำทางกายและวาจาในความเบียดเบียนนั้นแปลว่าปรกติ แต่ศีล คือ ใจเรานี้แหละปรกติ เย็นใจเป็นที่สบาย ไม่เร่าร้อน ไม่ติดใจข้องแวะเบียดเบียน คือ ไม่มีกิเลสนั่นเอง ศีงจึงเป็นธรรมเครื่องกุศลหลุดพ้นทุกข์ ไม่มีศีลจะพ้นทุกข์ไม่ได้เลย แม้จะทรงฌาณอย่างไรก็ตาม ตามพระพุทธศาสดาตรัสสอนไว้ใน สัลเลขสูตร

ดังนี้..การเจริญศีล ให้บริบูรณ์จากพรหมวิหาร ๔ นี้ ต้องรู้จักเมตตาตนเองก่อน เพื่อน้อมให้ศีลลงใจ ศีลจะไม่ร้อนในตน และจะบริบูรณ์งดงามได้ เพราะความปรกติ มีที่ใจตนแล้ว ดังนี้เมื่อพระศาสดาเสด็จไปที่ใดจึงตรัสสอนให้เห็นโทษและทุกข์อันเป็นวิบากกรรมของการไม่มีศีลก่อน เพราะให้ผู้สดับฟังธรรมเห็นโทษและทุกข์ของการไม่มีศีล เกิดความละอายเกรงกลัวต่อบาปอกุศล น้อมใจเข้าหลุดพ้นจากโทษและทุกข์นั้นเพื่อประโยชน์และความสุขของตน นี่เรียกว่าแสดงธรรมแท้เพื่อให้เขาเกรงกลัวและละอายต่อบาป อยากหลีกหนีบาปอกุศล มีใจเมตตาสงสารตนเองน้อมลงในศีลแน่วแน่นั่นเอง เพราะการให้ความเมตตา, กรุณา, มุทิตา, อุเบกขาต่อผู้อื่นนี้..มันยากกว่าการให้ความเมตตา, กรุณา, มุทิตา, อุเบกขาต่อตนเอง ก็เมื่อพรหมวิหาร ๔ นี้เกิดมีแก่ตนได้ เราจึงสามารถมีต่อผู้อื่นได้นั่นเอง เมื่อจิตตนเองเป็นศีลแล้ว ความตั้งมั่นในศีลมีแล้ว เราก็จึงจะสามารถแผ่ศีลไปสู่ผู้อื่นได้โดยปราศจากความเร่าร้อน (โดยมากผู้อ่านพะไตรจะเข้าเสพย์เรื่องราวในพระไตรจนลืมดูพุทธลีลา พุทธวิธีที่แสดงธรรมลงใจแก่สัตว์ แต่หากรู้สาเหตุว่าทำไมพระพุทธเจ้า พระบรมศาสดาโลกจึงแสดงธรรมอย่างนั้น เราจะเห็นวิธีทำไว้ในใจทันที ผมจึงอธิบายสัทธรรมโดยย่อไว้ดังนี้)


อ้างคำพูด:

มีพรหมวิหาร ๔ แก่ตนเอง ใจก็น้อมไปในศีลโดยไม่ร้อนเองอัตโนมัติ

ก. เมตตาตนเอง คือ มีใจกว้างเปิดออก ปล่อยให้ความเร่าร้อนเป็นไฟสุมใจตนเองอยู่นั้น อันได้แก่ ราคัคคิ..ไฟ คือราคะ, โทสัคคิ..ไฟ คือโทสะ, โมหัคคิ..ไฟ คือโมหะ..ให้มันลอยผ่านพ้นไป. ไม่กักขัง-ยึดเหนี่ยว-เกี่ยวยึดมันเอามากอดไว้เป็นเครื่องอยู่ของจิต อันเป็นสมมติความรู้สึกของปลอม ที่กิเลสมันวางไว้เป็นเหยื่อล่อใจเราทางสฬายตนะ ให้เราคิด เรากระทำในสิ่งที่จะส่งผลร้ายแก่ทั้งตนเองและผู้อื่นตามมา
__ดังนี้..หากเราเมตตาปารถนาดีแก่ตนเอง เราก็ปล่อยให้ความรู้สึกนึกคิดสมมติกิเลสของปลอมนี้ผ่านพ้นไป..เพื่อให้ตนเป็นสุขพ้นจากทุกข์อันเร่าร้อนแผดเผากายใจตนนั่นเอง

---------------------------------------------------

ข. กรุณาตนเอง คือ มีน้ำใจให้ตนเอง เห็นใจสงสารตนเอง เห็นว่าตนกำลังเร่าร้อนกระวนกระวายกายใจ ระส่ำระสาย มีกายใจอยู่โดยไม่เป็นปรกติด้วยไฟกิเลสแผดเผา สงสารตนเองที่กอดยึดไฟกิเลสไว้
__ดังนี้..หากเราเห็นใจสงสารตนเอง เราก็สงเคราะห์เกื้อกูลแบ่งปันสุขให้ตนเองด้วยการสละคืนไฟกิเลสทั้งปวงทิ้งไป เพื่อเป็นการสงเคราะห์ให้ตนหลุดพ้นทุกข์ที่เร่าร้อน เอาน้ำกรุณารดใจตนเองให้ชุ่มฉ่ำเป็นสุข ว่างพ้นไปจากทุกข์

---------------------------------------------------

ค. มุทิตาตนเอง คือ อิ่มใจในตนเอง เมื่อตนเองประสบสุขสำเร็จละเสียได้ซึ่งสมมติความรู้สึกนึกคิดกิเลสอันเร่าร้อนเป็นไฟสุมไม้กายใจตน ดำรงชีพอยู่โดยปราศจากความเร่าร้อนแผดเผากายใจตนให้เป็นทุกข์ สุขที่ตนสามารถคงไว้ซึ่งความปรกติแห่งกายใจอยู่ได้ ยินดีที่ตนเองเป็นสุขรอดพ้นจากกิเลสทุกข์เครื่องร้อยรัดอันเร่าร้อนทั้งปวง
__ดังนี้..หากเราอิ่มใจในตนเอง เราก็รู้สึกได้ถึงความสุขที่เรามีปรกติไม่เร่าร้อน ไปอยู่ที่ใดเย็นใจ เบาสบายสุข ไม่เร่าร้อนเพราะความกระสันอยากได้ใคร่เสพย์หิวกระหาย ไม่มีวิตก ไม่มีกังวง ไม่โกรธแค้น ไม่ชิงชัง ไม่มีสิ่งใดมาทำให้ใจมัวหมองได้ คงความเป็นสุขสบายกายใจตนโดยโดยปราศจากกิเลสความเร่าร้อน

---------------------------------------------------

ง. อุเบกขาตนเอง คือ ไม่ติดใจข้องแวะสมมติกิเลสเครื่องเร่าร้อนทั้งปวงที่เกิดมีขึ้นแก่กายใจตน แค่รู้แล้วก็ปล่อยมันผ่านไป ไม่ติดข้องต่อสมมติความรู้สึกคิดที่เกิดขึ้นมีแก่กายใจตนให้เร่าร้อนนั้น เพราะทุกอย่างมันล้วนเป็นสมมติทั้งหมด ที่กิเลสสร้างขึ้นมาหลอกให้จิตหลงตามทางสฬายตนะ

__อุเบกขาแก่ตนเอง ประการที่ ๑..หากเราไม่ติดใจข้องแวะความรู้สึกคิดสมมติกิเลสของปลอมที่เกิดขึ้นภายในกายใจตนแล้ว เราก็ปล่อย ละ สละ วาง เลือกธัมมารมณ์ความรู้สึกนึกคิดที่ควรเสพย์
- สิ่งใดเสพย์แล้วเร่าร้อน ทั้งความสุขที่ทำให้ติดหลงเคลิ้มไหลให้ไม่รู้ตัว ทั้งความทุกข์ระทมให้ขุ่นข้องหมองใจ ขัดใจ โกรธแค้นไม่รู้ตัว นี้เป็นความวางเฉยต่อสติความรู้ตัว ความว่างจากสติสัมปะชัญญะ สิ่งนี้เป็นธัมมารมณ์ที่ไม่ควรเสพย์ ให้สละคืนทิ้งไปมันเป็นเพียงสมมติไม่ใช่ของจริง
- สิ่งใดที่เสพย์แล้วจิตมีความรู้ตัวทั่วพร้อมดำรงตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอ่อนแอไปกับสมมติความรู้สึกคิดอันยังความเร่าร้อนแผดเผากายใจให้เกิดมีแก่ตน มีใจวางไว้กลางๆวางเฉยนิ่งอยู่ยังกายใจให้ว่างพ้นจากความรู้สึกนึกคิดอันเร่าร้อน สิ่งนั้นควรเสพย์
__ดังนี้..ธัมมารมณ์ที่ควรเสพย์ คือ ความรู้ตัวทั่วพร้อมในปัจจุบัน ปักหลักใจไว้ให้หนักแน่นแน่วแน่ วางเฉยนิ่งอยู่ไม่จับ ไม่เสพย์ ไม่กระทำใดๆตอบโต้ต่อความรู้สึกนึกคิดไรๆทั้งปวง
- ทั้งที่เป็นความสุขที่ทำให้เคลิ้มหลงติดตามไม่รู้ตัว(สุขจากคำสรรเสริญเยินยอ หรือได้เสพย์สมใจกระหายให้หลงไปไม่รู้ตัวเป็นต้น)
- ทั้งที่เป็นความทุกข์ที่ทำให้กระวนกระวาย ขุ่นข้องขัดเคืองใจ คับแค้น อัดอั้นกายใจให้ทนอยู่ได้ยาก จนแตกปะทุไม่รู้ตัว(ความโกรธ เกลียด ชัง ประสบกับสิ่งอันไม่เป็นที่รักที่เจริญใจ ส่วนความพรัดพรากนี้มีรู้ได้ชัดเจนในเรื่องกรรมและไตรลักษณ์ฺจะเด่นชัดสิ่งนี้มาก)

__อุเบกขาแก่ตนเอง ประการที่ ๒..เพราะจิตรู้แต่สมมติความรู้สึกนึกคิดกิเลสของปลอมจึงเร่าร้อนตามทั้งสุขและทุกข์ การรู้ของจริงจึงไม่มีทุกข์
__ดังนี้..รู้ของจริงมี "ลมหายใจ" เป็นต้นนี้คือของจริง เป็นวาโยธาตุ เป็นกายสังขารที่กอปรรวมขึ้น และคงความเป็นร่างกายของเราไว้อยู่ได้ สิ่งนี้เป็นของจริง (คนที่จิตไม่ตั้งมั่นไม่มีกำลังมากพอ ไม่เคยอบรมจิต จะตามรู้มันได้จนสมมติความรู้สึกนึกคิดนั้นจนดับไป ให้เกิดรู้สัมผัสรับรู้ได้ถึงในปิติสุขที่ขึ้นกายใจเมื่อปราศจากกิเลสได้ ก็ต้องละสมมติจับรู้ของจริงในปัจจุบันอาศัยลมหายใจดังนี้เป็นต้น)

---------------------------------------------------


**หมายเหตุ ผมใช้คำสั่ง TD ไม่ได้เพื่อทำตาราง จึงใช้ Quote แทน มันจึงขึ้นว่าอ้างอิงคำพูด**


ในที่นี้ เรื่องกรรมอื่นใดข้ามภพข้ามชาติเป็นเรื่องอจินไตยพิสูจน์ได้ยาก ผมไม่อาจจะแสดงได้ตรงหรือดีพอให้คนเห็นตามได้เพราะผมยังไม่ถึง คงมีแต่พระศาสดาและพระอริยะสงฆ์เท่านั้นที่จะกล่าวให้เห็นตามจริงได้ ผมจึงจักกล่าวเอากรรมที่เป็นปัจจุบันและผลสืบต่อให้ได้รับผลในปัจจุบันหรือเวลาอันใกล้นี้เท่านั้น

คนที่จะเจริญศีลของพระพุทธเจ้าได้บริบูรณ์นั้น จุดเริ่มต้นในศีลนั้นเราจะต้องเมตตาสงสารตนเองก่อนอย่างไร ให้เราพึงระลึกถึงอยู่เนืองๆดังนี้ว่า..

1. ขณะที่เรามีความอยากได้ต้องการต่อบุคลคลใด สัตว์ใด สิ่งใด หรือ..มีความโกรธ เกลียด ชิงชัง เจ็บแค้นอาฆาตต่อบุคลคลใด สัตว์ใด สิ่งใด ขณะนั้นใจเราไม่เป็นปรกติ มันร้อนรุ่มร้อนรนในกายและใจตนอยู่โดยไม่เป็นสุข ไฟมันสุมในใจพลุ่งพล่านร้อนปะทุขึ้นในใจ ไม่ว่าจะเป็นความโหยหิวกระหายอยากได้ หรือขุ่นข้อง แค้นเคือง อัดอั้น คับแค้นกายใจ อยากให้มันฉิบหายไปให้พ้นๆ ทุกอย่างก็ล้วนเป็นไฟสุมใจตนทั้งนั้น ..เราสงสารตนเองไหม ความเร่าร้อนนั้นมันเป็นสุขหรือทุกข์เล่า
- หากคิดว่ามันเป็นสุข แล้วความเร่าร้อนกระวนกระวายเร่าๆอยู่นั้น มันทำให้กายใจเรามันเป็นปรกติหรือไม่ ต่างกับคนอื่นที่เขาสนุกสนานเฮฮาเป็นสุขไม่เร่าร้อนไหม หรือ..อาการความรู้สึกนึกคิดนั้นมีแต่ความไม่รู้ตัว ไหลพล่านไปเรื่อยในภายนอกที่ทำให้ใจเราระส่ำ ไม่รู้ตัว ไม่รู้ปัจจุบัน จิตถูกตรึงไว้กับอารมณ์ความรู้สึกที่มากระทบให้กระเส่าเร่าร้อน ทนอยู่ได้ยาก เหมือนอกจะแตกตายนั้นเล่า ..ก็ถ้าหากเราไม่เร่าร้อนกระวนกระวายกายใจ มันไม่มีความอกสั่นขวัญแขวน จะอยู่ที่ใดก็รู้ตัว ทำกิจการงานต่างๆได้ดี ไม่ต้องรู้รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสกายใดด้วยความเร่าร้อน กระหาย หวาดกลัว ระแวง หลีกเร้น อัดอั้นคับแค้นกายใจ โศกเศร้า ร่ำไร รำพัน ไม่สบายกายใจทั้งหลาย ดังนี้ความเร่าร้อนกับความไม่เร่าร้อนสิ่งใดมันเป็นสุขกว่ากันเล่า ..นี่แสดงว่าความเร่าร้อนเป็นทุกข์ใช่ไหม่
- ก็เมื่อรู้ว่ามันเป็นทุกข์แล้ว เราจะยึดกอดมันเอาไว้เป็นเครื่องอยู่ เป็นที่ตั้งแห่งจิตให้เผากายใจเราจนหมองไหม้อยู่อีกหรือ เรามันดูอนาถาต่ำต้อยน่าสงสารแค่ไหนที่ต้องหมองไหม้ด้วยไฟกิเลส ราคัคคิ โทสัคคิ โมหัคคิ ดังนี้แล้วเราควรจะทำในสิ่งที่ไม่ทำให้กายใจเร่าเร่าร้อนใช่หรือไม่

2. ถ้าเราสงสารตนเอง ก็พึงละเสียซี่งความอยากได้จากคนอื่น หรือความผลักไสนั้น การกระทำของใจเหล่าใดที่เอาความสุขสำเร็จของตนไปผูกขึ้นไปกับคนอื่น สัตว์อื่น สิ่งอื่นมันล้วนเป็นทุกข์ทั้งสิ้น ผลจากการกรทำนั้นของใจมันนำความเร่าร้อนเป็นทุกข์มาให้ มันเกิดไฟสุมใจไม่สิ้นสุดร้อนยิ่งกระวนกระวายดั่งไฟนรกสุมใจ แต่หากเมื่อเราไม่ผูกเอาความสุขสำเร็จของตนขึ้นไว้กับผู้อื่น สัตว์อื่น สิ่งอื่นใด ความเร่าร้อนเป็นไฟนรกสุมใจไม่เป็นทุกข์นั้น ก็ย่อมไม่เกิดมีแก่กายใจเรา ไม่ว่าใครจะทำอะไร เราจะเห็นสิ่งใด เราก็ไม่มีไฟสุมใจร้อนรนตาม มันเย็นกายสบายใจดีนัก

3. หากเราเมตตาและสงสารตนเอง..ก็อย่าเอาความสุขสำเร็จของตนไปผูกขึ้นไว้กับผู้อื่นหรือสิ่งใดทั้งปวง โดยสำเนียกในใจเสมอๆอย่างนี้ว่า..

.๓.๑ ..เราไม่ควรสำคัญมั่นหมายไว้ในใจด้วยเห็นว่าหากได้พบเจอรับรู้ในสิ่งนี้ๆ(สิ่งที่เจริญใจ สิ่งที่ตนสำราญใจ รักใคร่ สำเร็จ ได้สมปารถนา ต้องการ ถวิลหา โหยหา กระหาย ใคร่เสพย์)
..หรือ..ได้รับรู้-ได้กระทำในสิ่งใดที่สมใจตนแต่เป็นสิ่งที่เบียดเบียน ทำร้าย ฉกชิง ช่วงชิง หมายพราก ยังความเสื่อมสูญ สูญเสียฉิบหายให้แก่ผู้อื่น..ซึ่ง ชีวิต, บุคคล, สิ่งของอันเป็นที่รัก ที่มีค่า ที่หวงแหนยิ่งของใครได้ อย่างนี้จึงเป็นสุขของตน
..ให้พึงสำเนียกไว้ในใจว่า.. การเอาความสุขสำเร็จของตนไปผูกขึ้นไว้กับการได้รับรู้สัมผัสรับฟังซึ่งสิ่งที่เจริญใจนั้น..มันทำให้เราหลงลืมตัว ตั้งอยู่ในความประมาทไม่สอดส่องดูข้อบกพร่องตน ไม่รู้ความผิดพลาดตน ทำให้เกิดความละเลย เหลาะแหละ หย่อนยานในตน ความเคลิ้มไปมีแต่โทษ และทุกข์ ..และ.. ความสุขสำเร็จเหล่าใดของตนที่เอาใจไปผูกขึ้นไว้กับการได้เอาชนะผู้อื่น เบียดเบียน ทำร้าย ช่วงชิง พรากเอา ซึ่ง.ชีวิต บุคคล สิ่งของอันเป็นที่รัก ที่หวงแหน มีค่าของผู้อื่น มันไม่ใช่สุขโดยแท้จริง ย่อมประกอบไปด้วยทุกข์ในภายหลัง จากการปกปิด หลบหนี หวาดกลัวถูกจับได้ หรือเขามาเอาคืน ต้องอยู่อย่างพะวงหน้าพะวงหลังอยู่ตลอดเวลา หาสุขใดๆไม่ได้เลย จะนอนก็กลัว จะตื่นก็กลัว แม้ไม่ต้องเกรงกลัวความผิดใดแต่มันอิ่มไม่เป็น พอไม่เป็นก็ยังเร่าร้อนด้วยการแสวงหาให้ได้มากอีกไม่สิ้นสุด
..ดังนี้การไม่เอาความสุขสำเร็จสำเร็จของตนไปผูกขึ้นไว้กับผู้อื่นนั้นเป็นสุขอย่างแท้จริง

.๓.๒ ..เราไม่ควรสำคัญมั่นหมายไว้ในใจด้วยเห็นว่าหากได้พบเจอรับรู้ในสิ่งนี้ๆ(สิ่งไม่เจริญใจทั้งปวง สิ่งที่ตนไม่ชอบ ไม่สมปารถนา เกลียด กลัว ชัง ไม่สำเร็จ ผิดพลาด เสื่อมเสีย เสื่อมสูญ สูญเสีย พรัดพราก)
..หรือ..ได้รับรู้-ได้กระทำในสิ่งใดที่ไม่อาจจะมี ไม่อาจจะได้ ไม่อาจจะเป็น ไม่อาจจะทำร้ายเบียดเบียน ไม่อาจจะเอาคืน ไม่อาจจะช่วงชิง-ฉุดคร่า-พรากเอา-ได้ครอบครอง ยังความสูญเพียงฉิบหายให้แก่ผู้อื่น..ซึ่ง ชีวิต, บุคคล, สิ่งของอันเป็นที่รัก ที่มีค่า ที่หวงแหนยิ่งของใครได้ดั่งใจต้องการ อย่างนี้จึงเป็นทุกข์ของตน
..ให้พึงสำเนียกไว้ในใจว่า.. การเอาความไม่ประสบสุขสำเร็จของตนไปผูกขึ้นไว้กับการได้รับรู้สัมผัสรับฟังซึ่งสิ่งที่ไม่เจริญใจนั้น..มันทำให้เราคลายความเพียร ตั้งอยู่ในความท้อแท้ เหนื่อยหน่าย สิ้นหวัง เกลียดชัง ล้มเหลว ล้มเลิก หลีกหนี ความผลักไสมีแต่โทษ และทุกข์ ..และ.. ความไม่ประสบสุขสำเร็จเหล่าใดของตนที่เอาใจไปผูกขึ้นไว้กับการได้พ่ายแพ้ผู้อื่น ทำให้รู้สึกเหมือนว่าตนเองถูกเบียดเบียน ถูกทำร้าย ถูกช่วงชิง ถูกพรากเอา หรืออีกประการ คือ ตนเองไมอาจจะทำร้าย เบียดเบียน ต่อสู้ ช่วงชืง พรากเอาซึ่ง.ชีวิต บุคคล สิ่งของอันเป็นที่รัก ที่หวงแหน มีค่าของผู้อื่นมาครอบครองได้ ย่องยังความโศรกเศร้า ร่ำไร รำพัน อัดอั้น คับแค้นกายใจให้เกิดมีขึ้นแก่เรา ก่อเกิดความผูกโกรธ ผูกพยายาบาท ทำความเร่าร้อนเผาไหม้กายใจตนไม่สิ้นสุด
..ดังนี้การไม่เอาความสุขสำเร็จสำเร็จของตนไปผูกขึ้นไว้กับผู้อื่นนั้นเป็นสุขอย่างแท้จริง

- เมื่อเราไม่สำคัญมั่นหมายไว้ในใจทั้ง ๒ ส่วนนี้ ความเร่าร้อนเพราะรักก็ดี เพราะชังก็ดี จะไม่มีแก่เราได้ ก็การละซึ่ง ๒ ส่วนนั้น มีแต่ศีลของพระพุทธเจ้าที่ทรงตรัสสอนไว้ดีแล้วนี้เท่านั้น อันเป็นเครื่องละเว้นสิ่งที่ทำให้เกิดทุกข์, โทษ, ภัยในปัจจุบันและภายหลังให้แก่เรา ที่ยังกายใจเราให้เข้าถึงความสุขกายสบายใจ เย็นใจ มีปรกติไม่เร่าร้อน ไม่มีทุกข์นั้น ศ๊ลของพระพุทธเจ้ามีคุณมากเป็นไปเพื่อความพ้นทุกข์ ดังนี้หากเราเมตตาสงสารตนเอง อยากให้ตนเองเป็นสุข ยินดีที่ตนเองเป็นสุข ก็ควรแล้วที่จะน้อมเอาศีลของพระพุทธเจ้า พระบรมศาสดามาเจริญสู่กาย วาจา และใจของตนดังนี้

.....................................................
(จิตรู้สมมติ เป็นสมุทัย)
(ผลอันเกิดจากจิตรู้สมมติ เป็นทุกข์)
(จิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นมรรค)
(ผลอันเกิดจากจิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นนิโรธ)


แก้ไขล่าสุดโดย แค่อากาศ เมื่อ 26 ธ.ค. 2018, 14:37, แก้ไขแล้ว 3 ครั้ง.

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ธ.ค. 2018, 13:43 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 7
สมาชิก ระดับ 7
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ต.ค. 2018, 00:52
โพสต์: 512

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


มากระทู้นี้ดีกว่าครับท่านเอกอน ท่านกบ ท่าน sssboun มีความสุขกว่าเยอะ
คนที่ยึดมันจะรู้ว่าตนเองยึดได้ที่ไหน ตราบใดที่จิตยังไม่คลายอุปาทานนั้น :b32: :b32: :b32: เพราะเห็นจริงจึงจะคลายได้ แต่ถ้าเห็นด้วยความอนุมานเอา ศรัทธามีมาก มันก็หลงไปนั่นแหละ พระพุทธเจ้าจึงสอนศรัทธาด้วยปัญญา กาลามสูตรพระพุทธเจ้าตรัสสอนตรงนี้ ไม่ใช่เพ้อแบบโน้น ชื่อว่าสัมมาทิฏฐิ ความรู้ความเจข้าใจถูกต้องตามจริง :b32: :b32: :b32: พูดไป 2 ไพรเบี้ย นิ่งเสียมาเล่นกระทู้เราดีกว่าครับสนุกกว่าเยอะ อุตส่าห์มาโพสท์ต่อเรื่องศีล ตอนที่ 1 การน้อมไปในศีล แล้วนะ ตอนที่ 2 จะเป็นศีลในตน ตอนที่ 3 ศีลต่อผู้อื่น แต่ตอนที่ 2 กับ 3 อาจรวบรวมกันเพราะมันอาศัยกันเกิดขึ้น

.....................................................
(จิตรู้สมมติ เป็นสมุทัย)
(ผลอันเกิดจากจิตรู้สมมติ เป็นทุกข์)
(จิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นมรรค)
(ผลอันเกิดจากจิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นนิโรธ)


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 356 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 11, 12, 13, 14, 15, 16, 17 ... 24  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 70 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร