วันเวลาปัจจุบัน 19 เม.ย. 2024, 23:21  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 17 โพสต์ ]  ไปที่หน้า 1, 2  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 มิ.ย. 2019, 05:59 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
Rosarin
พระพุทธศาสนาคือคำสอนของพระพุทธเจ้า
เสื่อมเพราะคนที่คิดว่าตนเองเป็นชาวพุทธ
ไม่รู้ว่าพระพุทธเจ้าสอนอะไรเข้าใจไหม
ว่าพระพุทธเจ้าไม่ยกให้ใครแทนตัวตน
ตถาคตทรงยกคำสอนขึ้นแทนตัวศาสดา
คำสอนคือศาสนา/เจ้าของคำสอนคือศาสดา
ประมาทคำสอนโดยไม่สะสมจากการฟังได้อย่างไร
จิตกำลังเกิดดับนับแสนโกฏิขณะมีแล้วไม่ได้ทำมีแต่กิเลสตนทำร้ายจิต

http://www.dhammahome.com


นี่คือความคิดของพุทธศาสนิกชนในไทย แต่ไม่แน่ใจนักว่าแม่สุจินเป็นพุทธ เพราะอะไร ? เพราะดูประวัติตั้งแต่เด็กแต่เล็กจนโตแล้วคลุกคลีอยู่กับลัทธิศาสนาอื่นมาโดยตลอด หรือจะเป็นดังศังกราจารย์ :b10:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 มิ.ย. 2019, 08:43 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อ่านหลายๆรอบ อ่านจนกว่าจะแยกประเด็นได้ว่าอะไรเป็นอะไร :b16:

..................

ไม่มีใครทำลายพระพุทธศาสนาได้

-------------------------------

เมื่อมีการกล่าวถึงการกระทำที่บ่งบอกว่าเป็นการรุกราน เบียดเบียน ทำลายพระพุทธศาสนา ก็จะต้องมีท่านจำพวกหนึ่งเอ่ยขึ้นว่า

“ไม่มีใครทำลายพระพุทธศาสนาได้ นอกจากชาวพุทธด้วยกันเอง”

เมื่อพูดดังนี้แล้ว ก็ดูประหนึ่งว่าท่านผู้พูดได้แสดงหลักความจริงอันประเสริฐที่เพิ่งถูกค้นพบ-ในขณะที่คนอื่นๆ ล้วนแต่ยังโง่ๆ เซ่อๆ อยู่ทั้งนั้น

ความจริง คำพูดนั้น-ไม่มีใครทำลายพระพุทธศาสนาได้ นอกจากชาวพุทธด้วยกันเอง-เป็นคำที่ยังพูดไม่หมดเปลือก

ถ้าไม่คิดให้ดี ก็เป็นคำพูดที่ก่อให้เกิดความประมาทได้

ผมขออนุญาตช่วยคิดนะครับ

.....................

แนวคิดเบื้องหลังคำพูดนี้เข้าใจว่าเกิดมาจากการอ่านสัทธรรมปฏิรูปกสูตร

สัทธรรมปฏิรูปกสูตร อยู่ในคัมภีร์สังยุตตนิกาย นิทานวรรค พระไตรปิฎกเล่ม ๑๖ ข้อ ๕๓๑-๕๓๕

อรรถกถาที่อธิบายพระสูตรนี้คือ สารัตถปกาสินี ภาค ๒ หน้า ๓๑๘-๓๒๔

ถ้าอ่านในพระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ชุด ๙๑ เล่ม ก็อยู่เล่ม ๒๖ หน้า ๖๓๐-๖๓๘

ผมไม่ยกตัวพระสูตรมา แต่ปักป้ายบอกทางไว้ให้

ขอให้มีอุตสาหะตามไปศึกษากันหน่อยนะครับ อย่าเอาแต่นั่งแสดงโวหารคมคายอย่างเดียว

.....................

ไม่มีใครทำลายหลักสัจธรรมอันเป็นคำสอนในพระพุทธศาสนาได้ เพราะสัจธรรมเป็นของประจำโลก

พระพุทธเจ้าไม่ได้บัญญัติแต่งตั้งขึ้นมาใหม่ เพียงแต่พระองค์ทรงค้นพบแล้วนำมาตรัสบอกชาวโลก

ค้นพบสิ่งที่มีอยู่แล้ว เหมือนนักวิทยาศาสตร์ค้นพบกฎต่างๆ ทางวิทยาศาสตร์

เมื่อสิ่งนั้นเป็นสัจธรรมประจำโลก ก็เป็นธรรมดาที่มันจะต้องคงอยู่ประจำโลก ไม่มีใครไปทำลายมันได้ ตราบเท่าที่โลกยังคงมีอยู่

พระพุทธศาสนามีหลักคำสอนที่เป็นสัจธรรมประจำโลก

สัจธรรมประจำโลกที่มีอยู่ในพระพุทธศาสนาจึงไม่มีใครไปทำลายได้ ตราบเท่าที่ยังมีผู้ศึกษา เรียนรู้ และปฏิบัติตามอย่างถูกต้อง

ผู้ศึกษา เรียนรู้ และปฏิบัติตามหลักคำสอนในพระพุทธศาสนา ได้ชื่อว่า “ชาวพุทธ”

ถ้าผู้ที่ได้ชื่อว่าชาวพุทธ ไม่ศึกษา ไม่เรียนรู้ และไม่ปฏิบัติตามหลักคำสอนให้ถูกต้อง หลักคำสอนที่ถูกต้องก็ไม่ปรากฏ

อย่างนี้แหละที่เรียกว่าชาวพุทธทำลายพระพุทธศาสนา คือทำให้หลักคำสอนที่ถูกต้องไม่ปรากฏ


ที่ว่ามานี้เป็นส่วนที่เป็นหลักคำสอนที่เป็นสัจธรรมประจำโลก

แต่ในพระพุทธศาสนาไม่ได้มีแต่หลักคำสอนอย่างเดียว

ยังมีตัวบุคคล
สถานที่
วัตถุ
ประเพณีพิธีการต่างๆ
อันเป็นองค์ประกอบ รวมเรียกว่า “พระพุทธศาสนา”


ที่เอามาพูดกันว่า “ไม่มีใครทำลายพระพุทธศาสนาได้ นอกจากชาวพุทธด้วยกันเอง” นั้น หมายเฉพาะส่วนที่เป็นหลักคำสอนอันเป็นสัจธรรมประจำโลกเท่านั้น

แต่องค์ประกอบอื่นๆ ของพระพุทธศาสนา คนอื่นสามารถทำลายได้ทั้งสิ้น

ทำลายวัด ทำลายพระสงฆ์ ทำลายเจดีย์วิหาร
และทำลายกิจกรรม เช่นการแสดงธรรม การปฏิบัติศาสนพิธี การบวช การตั้งโรงเรียน การสอนพระพุทธศาสนา ฯลฯ


สิ่งเหล่านี้ ใครไม่ชอบ ใครไม่ต้องการให้มี เขาสามารถทำลายได้ทั้งสิ้น และเคยมีการทำลายมาแล้วด้วย

เพราะฉะนั้น ต้องแยกให้ถูกว่าส่วนไหนทำลายได้ ส่วนไหนทำลายไม่ได้

อย่าหลับตาพูดคลุมไปว่า-ไม่มีใครสามารถทำลายพระพุทธศาสนาได้

ไม่มีองค์กร และกิจกรรมดังกล่าวนั้น
หลักสัจธรรมจะไปแสดงตัวที่ไหน


มองไปที่ผู้คนที่เดินไปมาขวักไขว่เต็มบ้านเต็มเมือง จะรู้หรือไม่ว่า-นี่ไงพระพุทธศาสนา

พระพุทธศาสนาอยู่ในใจในวิถีชีวิตของคน
แต่คนต้องอยู่ในบ้านเมือง

และพระพุทธศาสนา-เฉพาะส่วนที่ตัวหลักธรรมคำสอน-นั้น ไม่ได้เข้าไปอยู่ในใจคนได้โดยอัตโนมัติ

แต่ต้องมีการบอกกล่าว เรียนรู้ สั่งสอน อบรม
การบอกกล่าว เรียนรู้ สั่งสอน อบรม เป็นกระบวนการทางสังคม
ไม่ใช่นั่งๆ นอนๆ อยู่เฉยๆ ในบ้านใครบ้านมัน ก็เกิดขึ้นได้เอง
สังคมเอื้ออำนวย จึงทำได้
ถ้าสังคมไม่เอื้ออำนวย ก็ทำไม่ได้

ทำไมในอเมริกาจึงมีวัดพระพุทธศาสนาเกิดขึ้นได้เป็นอันมาก
แต่ทำไมในซาอุดิอาระเบียจึงไม่มีใครไปสร้างวัดพระพุทธศาสนา

ถ้าอยู่มาวันหนึ่ง ผู้ได้อำนาจรัฐในเมืองไทย ใช้นโยบายเหมือนผู้ได้อำนาจรัฐในซาอุดิอาระเบีย พระพุทธศาสนาจะอยู่ในเมืองไทยได้หรือไม่

เป็นความจริง-ที่ชาวพุทธจะต้องประพฤติดีปฏิบัติชอบถูกต้องตามพระธรรมวินัย เราจึงจะรักษาพระพุทธศาสนาไว้ได้

แต่ถ้าผู้ได้อำนาจรัฐเป็นมิจฉาทิฐิ ต่อให้ชาวพุทธเคร่งครัดในพระธรรมวินัยขนาดไหน ก็อยู่ไม่ได้

จะฝันหวานขอเพียงให้พระพุทธศาสนาอยู่ในใจคนก็พอแล้ว ผู้บริหารบ้านเมืองจะทำอะไรกับบ้านเมือง เชิญตามสบายเถิด -ไม่มีใครทำลายพระพุทธศาสนาได้ นอกจากชาวพุทธด้วยกันเอง- ก็ขอให้ลองศึกษาบ้านเมืองที่เคยมีพระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองดูเถิด

...................

พระพุทธศาสนานั้นไม่มีกองกำลังติดอาวุธไว้ป้องกันตนเอง ไม่ต้องกล่าวไปถึงว่าจะมีไว้ทำร้ายใคร

พระพุทธศาสนาไปอยู่ที่ไหน ก็อาศัยผู้บริหารปกครองบ้านเมืองนั้นทำหน้าที่ “อารักขา”

ถ้าผู้บริหารบ้านเมืองเป็นสัมมาทิฐิ พระพุทธศาสนาก็อยู่ได้

ถ้าผู้บริหารบ้านเมืองไม่เอาใจใส่ ไม่เห็นความสำคัญ หรือถ้าถึงขั้นเป็นมิจฉาทิฐิ คอยขัดขวาง กีดกัน กลั่นแกล้ง พระพุทธศาสนาก็อยู่ไม่ได้ ไปไม่รอด

...................

เวลาพูดเรื่องใครจะทำลายพระพุทธศาสนา จึงต้องแยกส่วนให้ถูก อย่าสักแต่ว่าหลับตาพูดตามกันไป

นาวาเอก ทองย้อย แสงสินชัย
๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๒
๑๐:๓๔

https://www.facebook.com/tsangsinchai/p ... 2464634478

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 มิ.ย. 2019, 09:32 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:
Rosarin
พระพุทธศาสนาคือคำสอนของพระพุทธเจ้า
เสื่อมเพราะคนที่คิดว่าตนเองเป็นชาวพุทธ
ไม่รู้ว่าพระพุทธเจ้าสอนอะไรเข้าใจไหม
ว่าพระพุทธเจ้าไม่ยกให้ใครแทนตัวตน
ตถาคตทรงยกคำสอนขึ้นแทนตัวศาสดา
คำสอนคือศาสนา/เจ้าของคำสอนคือศาสดา
ประมาทคำสอนโดยไม่สะสมจากการฟังได้อย่างไร
จิตกำลังเกิดดับนับแสนโกฏิขณะมีแล้วไม่ได้ทำมีแต่กิเลสตนทำร้ายจิต

http://www.dhammahome.com


นี่คือความคิดของพุทธศาสนิกชนในไทย แต่ไม่แน่ใจนักว่าแม่สุจินเป็นพุทธ เพราะอะไร ? เพราะดูประวัติตั้งแต่เด็กแต่เล็กจนโตแล้วคลุกคลีอยู่กับลัทธิศาสนาอื่นมาโดยตลอด หรือจะเป็นดังศังกราจารย์ :b10:

:b12:
คุณคิดว่าชาวอิสลาม/ชาวคริสต์นับถือศาสดาองค์ไหนและคำสอนของใครมิทราบ
คนที่คิดว่าตัวเองเป็นชาวพุทธนับถือศาสดาไหมที่ไม่ศึกษาคำสอนให้เข้าใจ
กราบตัวบุคคลนับถือตัวบุคคลทำตามตัวบุคคลสั่งให้ทำไม่มีปัญญาฟัง
ปากบอกว่านับถือพระพุทธเจ้าแต่ไม่รู้เลยว่าพระพุทธเจ้าสอนอะไร
ไปอ่านตรงคำว่าฌานก็อยากทำฌาน555อ่านตรงไหนก็ไม่รู้ตรงนั้นแหละ
ก็ปัญญาไม่เกิดเพราะศึกษาปัญญาของตนเองไม่ตรงไม่ตามคำสอนตรงปัจจุบันขณะ
ตามคำสอนนั้นต้องตรงสัจจะตรงคำตรงความหมายของเสียงตรงที่กายใจกำลังมีเดี๋ยวนี้เลยเคยตรงไหมคะ
อ่านพระไตรปิฎกคำไหนก็คิดว่ารู้แต่อริยสัจจธรรมจริงสำหรับเสขะบุคคล7จำพวกและอเสขะบุคคล1จำพวก
:b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 มิ.ย. 2019, 09:48 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:
Rosarin
พระพุทธศาสนาคือคำสอนของพระพุทธเจ้า
เสื่อมเพราะคนที่คิดว่าตนเองเป็นชาวพุทธ
ไม่รู้ว่าพระพุทธเจ้าสอนอะไรเข้าใจไหม
ว่าพระพุทธเจ้าไม่ยกให้ใครแทนตัวตน
ตถาคตทรงยกคำสอนขึ้นแทนตัวศาสดา
คำสอนคือศาสนา/เจ้าของคำสอนคือศาสดา
ประมาทคำสอนโดยไม่สะสมจากการฟังได้อย่างไร
จิตกำลังเกิดดับนับแสนโกฏิขณะมีแล้วไม่ได้ทำมีแต่กิเลสตนทำร้ายจิต

http://www.dhammahome.com


นี่คือความคิดของพุทธศาสนิกชนในไทย แต่ไม่แน่ใจนักว่าแม่สุจินเป็นพุทธ เพราะอะไร ? เพราะดูประวัติตั้งแต่เด็กแต่เล็กจนโตแล้วคลุกคลีอยู่กับลัทธิศาสนาอื่นมาโดยตลอด หรือจะเป็นดังศังกราจารย์ :b10:

:b12:
คุณคิดว่าชาวอิสลาม/ชาวคริสต์นับถือศาสดาองค์ไหนและคำสอนของใครมิทราบ
คนที่คิดว่าตัวเองเป็นชาวพุทธนับถือศาสดาไหมที่ไม่ศึกษาคำสอนให้เข้าใจ
กราบตัวบุคคลนับถือตัวบุคคลทำตามตัวบุคคลสั่งให้ทำไม่มีปัญญาฟัง
ปากบอกว่านับถือพระพุทธเจ้าแต่ไม่รู้เลยว่าพระพุทธเจ้าสอนอะไร
ไปอ่านตรงคำว่าฌานก็อยากทำฌาน555อ่านตรงไหนก็ไม่รู้ตรงนั้นแหละ
ก็ปัญญาไม่เกิดเพราะศึกษาปัญญาของตนเองไม่ตรงไม่ตามคำสอนตรงปัจจุบันขณะ
ตามคำสอนนั้นต้องตรงสัจจะตรงคำตรงความหมายของเสียงตรงที่กายใจกำลังมีเดี๋ยวนี้เลยเคยตรงไหมคะ
อ่านพระไตรปิฎกคำไหนก็คิดว่ารู้แต่อริยสัจจธรรมจริงสำหรับเสขะบุคคล7จำพวกและอเสขะบุคคล1จำพวก
:b32: :b32:




มาอีกแระปัจจุบันขณะ :b32:

คำว่า ฌาน มีบอกให้พุทธศาสนาไหม

ตอบให้ตรงคำถาม

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 มิ.ย. 2019, 09:49 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


นี่ทำลายได้ไหม เสื่อมได้ไหม ไหนช่วยกันตอบสิ :b1:

รูปภาพ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 มิ.ย. 2019, 10:05 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
นี่ทำลายได้ไหม เสื่อมได้ไหม ไหนช่วยกันตอบสิ :b1:

รูปภาพ

:b32:
อยากได้บุญชอบทำตามๆกัน
โดยไม่พึ่งคำสอนเพื่อไตร่ตรองถูกผิด
ในรูปนั่งหลับก็มีรู้ไหมคะว่าง่วงเหงาหาวนอน
เป็นนิวรณธรรมเป็นกิเลสอวิชชาเป็นบุญไหมนั่นน่ะ
ตัวจริงธัมมะเกิดดับที่กายใจตัวเองไม่ใช่ตรงสถานที่/ที่ชอบไปเพราะอยากไปเป็นกิเลสชนิดหนึ่งค่ะ
:b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 มิ.ย. 2019, 10:59 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
นี่ทำลายได้ไหม เสื่อมได้ไหม ไหนช่วยกันตอบสิ :b1:

รูปภาพ

:b32:
อยากได้บุญชอบทำตามๆกัน
โดยไม่พึ่งคำสอนเพื่อไตร่ตรองถูกผิด
ในรูปนั่งหลับก็มีรู้ไหมคะว่าง่วงเหงาหาวนอน
เป็นนิวรณธรรมเป็นกิเลสอวิชชาเป็นบุญไหมนั่นน่ะ
ตัวจริงธัมมะเกิดดับที่กายใจตัวเองไม่ใช่ตรงสถานที่/ที่ชอบไปเพราะอยากไปเป็นกิเลสชนิดหนึ่งค่ะ
:b32: :b32:


ไม่เคยเลย ไม่เคยเลยจริงๆที่ตอบตรงคำถาม ถามอย่างตอบอย่าง :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 มิ.ย. 2019, 09:36 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
นี่ทำลายได้ไหม เสื่อมได้ไหม ไหนช่วยกันตอบสิ :b1:

รูปภาพ

:b32:
อยากได้บุญชอบทำตามๆกัน
โดยไม่พึ่งคำสอนเพื่อไตร่ตรองถูกผิด
ในรูปนั่งหลับก็มีรู้ไหมคะว่าง่วงเหงาหาวนอน
เป็นนิวรณธรรมเป็นกิเลสอวิชชาเป็นบุญไหมนั่นน่ะ
ตัวจริงธัมมะเกิดดับที่กายใจตัวเองไม่ใช่ตรงสถานที่/ที่ชอบไปเพราะอยากไปเป็นกิเลสชนิดหนึ่งค่ะ
:b32: :b32:


ไม่เคยเลย ไม่เคยเลยจริงๆที่ตอบตรงคำถาม ถามอย่างตอบอย่าง :b1:

:b12:
ไม่เคยจำถูกตามคำสอนเลย
ตถาคตบอกว่าไม่มีเรา
แล้วจำอะไรอยู่
จำแต่เป็นตัวเราท่องจำคำสอนได้มากไม่รู้ว่าไม่ใช่เรามีแต่จิเจรุนิ
เป็นเราคิดพูดทำ...แล้วก็จำว่าเราทำได้...ลืมคำของตถาคตแล้ว
ลืมเสมอไม่เคยจำถูกตามคำของตถาคตเลยว่าไม่มีเราพ้นกิเลสได้ไหม
ตถาคตบอกให้รู้สึกตัวว่ามีกิเลสและมีแต่กิเลสที่ทำร้ายจิตไม่มีเรามีแต่อุปทานขันธ์5ว่าเป็นตัวตน
มีแต่อยากไปทำตามใจอยากทำลืมฟังคำสอนและชอบทำตามๆกันโดยลืมฟังว่าตถาคตบอกอะไรบ้าง
:b12:
:b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 มิ.ย. 2019, 09:50 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


cool
พระพุทธศาสนาเสื่อมเพราะคุณไม่เคยคิดถูกตามคำสอน
และไม่เคยจำได้ว่าตถาคตสอนอะไรจำผิดคิดผิดพูดผิด
และไม่เคยฟังเพื่อให้เข้าใจถูกก่อนจะไปทำมีแต่อยากไป
ลืมฟังเข้าใจไหมว่าลืมฟังจึงมีกิเลสเพิ่มพูนเข้าใจไหมคะ
https://youtu.be/aaZgEzVvY5g
onion onion onion


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 มิ.ย. 2019, 10:52 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


""อิหร่านออกมาตรการยึด “พระพุทธรูป” จากร้านค้า อ้างเหตุผลเป็นการ “รุกรานทางวัฒนธรรม”
เอเจนซีส์/ASTV ผู้จัดการออนไลน์ - หนังสือพิมพ์รายวัน “อาร์มัน” ของกลุ่มนักเคลื่อนไหวอิสระในอิหร่านรายงานโดยระบุว่า รัฐบาลอิหร่านออกคำสั่งให้ยึดพระพุทธรูปตามร้านค้าต่างๆ ทั่วกรุงเตหะราน เมืองหลวงของประเทศ ตามแผนสกัดกั้นมิให้พระพุทธศาสนาถูกเผยแผ่ในประเทศของตน ซึ่งถูกสถาปนาเป็นสาธารณรัฐอิสลามตั้งแต่ปี 1979

รูปภาพ


รายงานของหนังสือพิมพ์ดังกล่าว ซึ่งอ้าง ซาอีด จาเบรี อันซารี เจ้าหน้าที่จากสำนักงานปกป้องมรดกทางวัฒนธรรมแห่งชาติของอิหร่าน ระบุว่า
รัฐบาลอิหร่านไม่อนุญาตให้มีการกระทำที่เข้าข่ายเป็นการเผยแพร่ความเชื่อที่เฉพาะเจาะจงอื่นใดผ่านทางรูปเคารพต่างๆ ซึ่งรวมถึงพระพุทธรูป โดยอันซารีชี้ว่า พระพุทธรูปถือเป็นสัญลักษณ์ของการ “รุกรานทางวัฒนธรรม” ต่ออิหร่าน
เจ้าหน้าที่จากสำนักงานปกป้องมรดกทางวัฒนธรรมแห่งชาติของอิหร่านรายนี้ มิได้เปิดเผยรายละเอียดเพิ่มเติมใดๆ เกี่ยวกับมาตรการดังกล่าว และไม่ยอมเปิดเผยรายละเอียดว่าทางการอิหร่านจะดำเนินการอย่างไรกับพระพุทธรูปที่ยึดไป แต่ยอมรับว่า อาจมีการเดินหน้ายึดพระพุทธรูปจากร้านค้าต่างๆ เพิ่มมากขึ้นนับจากนี้
ก่อนหน้านี้ ทางการอิหร่านเคยประกาศแบนตุ๊กตา “บาร์บี้” และตัวการ์ตูน “เดอะ ซิมป์สัน” ของสหรัฐฯ มาแล้ว โดยให้เหตุผลว่า เป็นการป้องกันภัยคุกคามจากอิทธิพลของโลกตะวันตก แต่การออกมาตรการยึดพระพุทธรูปล่าสุด ถือเป็นครั้งแรกที่ทางการอิหร่านแสดงออกถึงจุดยืนที่ต่อต้านสัญลักษณ์ทางศาสนาจากโลกตะวันออก

https://www.facebook.com/photo.php?fbid ... =3&theater

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 มิ.ย. 2019, 15:42 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
cool
พระพุทธศาสนาเสื่อมเพราะคุณไม่เคยคิดถูกตามคำสอน
และไม่เคยจำได้ว่าตถาคตสอนอะไรจำผิดคิดผิดพูดผิด
และไม่เคยฟังเพื่อให้เข้าใจถูกก่อนจะไปทำมีแต่อยากไป
ลืมฟังเข้าใจไหมว่าลืมฟังจึงมีกิเลสเพิ่มพูนเข้าใจไหมคะ
https://youtu.be/aaZgEzVvY5g
onion onion onion


ลองคิดตามให้เข้าใจดูบ้างตรงสีม่วงๆ...คบคำจริงตรงตามคำสอนของตถาคตไม่ใช่ตัวตนคนนะจ๊ะ

อ้างคำพูด:
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ด้วยประการดังนี้ การไม่คบสัปบุรุษที่บริบูรณ์ ย่อมยังการไม่ฟังสัทธรรมให้บริบูรณ์
การไม่ฟังสัทธรรมที่บริบูรณ์ ย่อมยังความไม่มีศรัทธาให้บริบูรณ์
ความไม่มีศรัทธาที่บริบูรณ์ ย่อมยังการทำไว้ในใจโดยไม่แยบคายให้บริบูรณ์
การทำไว้ในใจโดยไม่แยบคายที่บริบูรณ์ ย่อมยังความไม่มีสติสัมปชัญญะให้บริบูรณ์
ความไม่มีสติสัมปชัญญะที่บริบูรณ์ ย่อมยังการไม่สำรวมอินทรีย์ให้บริบูรณ์
การไม่สำรวมอินทรีย์ที่บริบูรณ์ ย่อมยังทุจริต ๓ ให้บริบูรณ์
ทุจริต ๓ ที่บริบูรณ์ ย่อมยังนิวรณ์ ๕ ให้บริบูรณ์
นิวรณ์ ๕ ที่บริบูรณ์ ย่อมยังอวิชชาให้บริบูรณ์
อวิชชานี้มีอาหารอย่างนี้ และบริบูรณ์อย่างนี้ ฯ



จากกระทู้ชื่อ...ว่าด้วยวิชชา3
viewtopic.php?f=1&t=57480



walaiporn เขียน:
ยมกวรรคที่ ๒
อวิชชาสูตร


[๖๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เงื่อนต้นแห่งอวิชชาย่อมไม่ปรากฏในกาลก่อน
แต่นี้ อวิชชาไม่มี แต่ภายหลังจึงมี เพราะเหตุนั้น เราจึงกล่าวคำนี้อย่างนี้ว่า
ก็เมื่อเป็นเช่นนั้น อวิชชามีข้อนี้เป็นปัจจัยจึงปรากฏ

ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราย่อมกล่าวอวิชชาว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของอวิชชา ควรจะกล่าวว่านิวรณ์ ๕

แม้นิวรณ์ ๕ เราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของนิวรณ์ ๕ ควรกล่าวว่า ทุจริต ๓ แม้ทุจริต ๓

เราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร ก็อะไรเป็นอาหารของทุจริต ๓
ควรกล่าวว่า การไม่สำรวมอินทรีย์

แม้การไม่สำรวมอินทรีย์เรา ก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารแห่งการไม่สำรวมอินทรีย์

ควรกล่าวว่าความไม่มีสติสัมปชัญญะ แม้ความไม่มีสติสัมปชัญญะเราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของความไม่มีสติสัมปชัญญะ ควรกล่าวว่าการกระทำไว้ในใจโดยไม่แยบคาย

แม้การทำไว้ในใจโดยไม่แยบคายเราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของการทำไว้ในใจโดยไม่แยบคาย

ควรกล่าวว่าความไม่มีศรัทธา แม้ความไม่มีศรัทธาเราก็กล่าวว่ามีอาหารมิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของความไม่มีศรัทธา

ควรกล่าวว่า การไม่ฟังสัทธรรม แม้การไม่ฟังสัทธรรมเราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของการไม่ฟังสัทธรรม ควรกล่าวว่า การไม่คบสัปบุรุษ

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ด้วยประการดังนี้ การไม่คบสัปบุรุษที่บริบูรณ์ ย่อมยังการไม่ฟังสัทธรรมให้บริบูรณ์
การไม่ฟังสัทธรรมที่บริบูรณ์ ย่อมยังความไม่มีศรัทธาให้บริบูรณ์
ความไม่มีศรัทธาที่บริบูรณ์ ย่อมยังการทำไว้ในใจโดยไม่แยบคายให้บริบูรณ์
การทำไว้ในใจโดยไม่แยบคายที่บริบูรณ์ ย่อมยังความไม่มีสติสัมปชัญญะให้บริบูรณ์
ความไม่มีสติสัมปชัญญะที่บริบูรณ์ ย่อมยังการไม่สำรวมอินทรีย์ให้บริบูรณ์
การไม่สำรวมอินทรีย์ที่บริบูรณ์ ย่อมยังทุจริต ๓ ให้บริบูรณ์
ทุจริต ๓ ที่บริบูรณ์ ย่อมยังนิวรณ์ ๕ ให้บริบูรณ์
นิวรณ์ ๕ ที่บริบูรณ์ ย่อมยังอวิชชาให้บริบูรณ์
อวิชชานี้มีอาหารอย่างนี้ และบริบูรณ์อย่างนี้ ฯ



ดูกรภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนเมื่อฝนเม็ดหยาบตกลงเบื้องบนภูเขา
เมื่อฝนตกหนักๆ อยู่ น้ำนั้นไหลไปตามที่ลุ่ม ย่อมยังซอกเขา ลำธารและห้วยให้เต็ม ซอกเขา
ลำธารและห้วยที่เต็ม ย่อมยังหนองให้เต็ม หนองที่เต็มย่อมยังบึงให้เต็ม บึงที่เต็มย่อมยังแม่น้ำน้อยให้เต็ม
แม่น้ำน้อยที่เต็มย่อมยังแม่น้ำใหญ่ให้เต็ม แม่น้ำใหญ่ที่เต็มย่อมยังมหาสมุทรสาครให้เต็ม
มหาสมุทรสาครนั้น มีอาหารอย่างนี้ และเต็มเปี่ยมอย่างนี้ แม้ฉันใด

ดูกรภิกษุทั้งหลาย การไม่คบสัปบุรุษที่บริบูรณ์ ย่อมยังการไม่ฟังสัทธรรมให้บริบูรณ์ ...
นิวรณ์ ๕ ที่บริบูรณ์ ย่อมยังอวิชชาให้บริบูรณ์
อวิชชานี้มีอาหารอย่างนี้ และบริบูรณ์อย่างนี้ ฉันนั้นเหมือนกันแล ฯ


ดูกรภิกษุทั้งหลาย เรากล่าววิชชาและวิมุตติว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของวิชชาและวิมุตติ ควรกล่าวว่า โพชฌงค์ ๗

แม้โพชฌงค์ ๗ เราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของโพชฌงค์ ๗ ควรกล่าวว่า สติปัฏฐาน ๔

แม้สติปัฏฐาน ๔ เราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของสติปัฏฐาน ๔ ควรกล่าวว่า สุจริต ๓

แม้สุจริต ๓ เราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของสุจริต ๓ ควรกล่าวว่า การสำรวมอินทรีย์

แม้การสำรวมอินทรีย์เราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของการสำรวมอินทรีย์ ควรกล่าวว่า สติสัมปชัญญะ

แม้สติสัมปชัญญะเราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของสติสัมปชัญญะ ควรกล่าวว่า การทำไว้ในใจโดยแยบคาย

แม้การทำไว้ในใจโดยแยบคายเราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของการกระทำไว้ในใจโดยแยบคาย ควรกล่าวว่าศรัทธา

แม้ศรัทธาเราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของศรัทธา ควรกล่าวว่า การฟังสัทธรรม

แม้การฟังสัทธรรมเราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของการฟังสัทธรรม ควรกล่าวว่า การคบสัปบุรุษ

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ด้วยประการดังนี้
การคบสัปบุรุษที่บริบูรณ์ ย่อมยังการฟังสัทธรรมให้บริบูรณ์
การฟังสัทธรรมที่บริบูรณ์ ย่อมยังศรัทธาให้บริบูรณ์
ศรัทธาที่บริบูรณ์ ย่อมยังการทำไว้ในใจโดยแยบคายให้บริบูรณ์
การทำไว้ในใจโดยแยบคายที่บริบูรณ์ ย่อมยังสติสัมปชัญญะให้บริบูรณ์
สติสัมปชัญญะที่บริบูรณ์ ย่อมยังการสำรวมอินทรีย์ให้บริบูรณ์
การสำรวมอินทรีย์ที่บริบูรณ์ ย่อมยังสุจริต ๓ ให้บริบูรณ์
สุจริต ๓ ที่บริบูรณ์ ย่อมยังสติปัฏฐาน ๔ ให้บริบูรณ์
สติปัฏฐาน ๔ ที่บริบูรณ์ ย่อมยังโพชฌงค์ ๗ ให้บริบูรณ์
โพชฌงค์ ๗ ที่บริบูรณ์ ย่อมยังวิชชาและวิมุตติให้บริบูรณ์
วิชชาและวิมุตตินี้มีอาหารอย่างนี้ และบริบูรณ์อย่างนี้ ฯ

ดูกรภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนเมื่อฝนเม็ดหยาบตกลงเบื้องบนภูเขา
เมื่อฝนตกหนักๆ อยู่ น้ำนั้นไหลไปตามที่ลุ่ม ย่อมยังซอกเขา ลำธารและห้วยให้เต็ม ซอกเขา
ลำธารและห้วยที่เต็มย่อมยังหนองให้เต็ม หนองที่เต็ม ย่อมยังบึงให้เต็ม
บึงที่เต็มย่อมยังแม่น้ำน้อยให้เต็ม แม่น้ำน้อยที่เต็ม ย่อมยังแม่น้ำใหญ่ให้เต็ม
แม่น้ำใหญ่ที่เต็ม ย่อมยังมหาสมุทรสาครให้เต็ม
มหาสมุทรสาครนั้นมีอาหารอย่างนี้ และเต็มเปี่ยมอย่างนี้ แม้ฉันใด

ดูกรภิกษุทั้งหลาย การคบสัปบุรุษที่บริบูรณ์ ย่อมยังการฟังสัทธรรมให้บริบูรณ์ ...
โพชฌงค์ ๗ ที่บริบูรณ์ ย่อมยังวิชชาและวิมุตติให้บริบูรณ์
วิชชาและวิมุตตินี้มีอาหารอย่างนี้ และบริบูรณ์อย่างนี้ ฉันนั้นเหมือนกันแล ฯ

จบสูตรที่ ๑


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 มิ.ย. 2019, 21:25 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Kiss
คำสอนของพระพุทธเจ้าเสื่อมแล้ว
จากใจผู้ที่ไม่รู้ตรงสัจจะที่กำลังมี
จำแต่ชื่อจำแต่เรื่องราวที่จำไว้
แต่ไม่เคยจำถูกตามคำตถาคต
ตรงสิ่งที่มีจริงที่กำลังมีจริงๆที่ตัวตน
เดี๋ยวนี้เองที่ไม่รู้ความจริงว่าเห็นอะไร
หลังเห็นดับเพียง3ขณะกิเลสก็เกิดแล้ว
เดี๋ยวนี้ดับนับไม่ถ้วนถึงแสนโกฏิขณะเกิน3ขณะตั้งเท่าไหร่
คิดสิคะว่าใครจะรู้ได้เองเพียงเพราะไปทำอย่างอื่นโดยไม่ฟังคำสอนเพื่อให้เกิดปัญญาจึงละอวิชชาได้
onion onion onion


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 มิ.ย. 2019, 05:38 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
Kiss
คำสอนของพระพุทธเจ้าเสื่อมแล้ว
จากใจผู้ที่ไม่รู้ตรงสัจจะที่กำลังมี
จำแต่ชื่อจำแต่เรื่องราวที่จำไว้
แต่ไม่เคยจำถูกตามคำตถาคต
ตรงสิ่งที่มีจริงที่กำลังมีจริงๆที่ตัวตน
เดี๋ยวนี้เองที่ไม่รู้ความจริงว่าเห็นอะไร
หลังเห็นดับเพียง3ขณะกิเลสก็เกิดแล้ว
เดี๋ยวนี้ดับนับไม่ถ้วนถึงแสนโกฏิขณะเกิน3ขณะตั้งเท่าไหร่
คิดสิคะว่าใครจะรู้ได้เองเพียงเพราะไปทำอย่างอื่นโดยไม่ฟังคำสอนเพื่อให้เกิดปัญญาจึงละอวิชชาได้
onion onion onion


มาอีกแระแสนโกฎิขณะ เอานะตอบนำ

แสนโกฎิขณะ คุณโรสเห็นมันสักขณะหนึ่งไหม เห็นไหม ไม่ต้องเอาถึงแสนโกฎิขณะหรอกะ เอาขณะเดียวพอ เห็นไหม ตอบสิ :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 มิ.ย. 2019, 05:44 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
Rosarin เขียน:
cool
พระพุทธศาสนาเสื่อมเพราะคุณไม่เคยคิดถูกตามคำสอน
และไม่เคยจำได้ว่าตถาคตสอนอะไรจำผิดคิดผิดพูดผิด
และไม่เคยฟังเพื่อให้เข้าใจถูกก่อนจะไปทำมีแต่อยากไป
ลืมฟังเข้าใจไหมว่าลืมฟังจึงมีกิเลสเพิ่มพูนเข้าใจไหมคะ
https://youtu.be/aaZgEzVvY5g
onion onion onion


ลองคิดตามให้เข้าใจดูบ้างตรงสีม่วงๆ...คบคำจริงตรงตามคำสอนของตถาคตไม่ใช่ตัวตนคนนะจ๊ะ

อ้างคำพูด:
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ด้วยประการดังนี้ การไม่คบสัปบุรุษที่บริบูรณ์ ย่อมยังการไม่ฟังสัทธรรมให้บริบูรณ์
การไม่ฟังสัทธรรมที่บริบูรณ์ ย่อมยังความไม่มีศรัทธาให้บริบูรณ์
ความไม่มีศรัทธาที่บริบูรณ์ ย่อมยังการทำไว้ในใจโดยไม่แยบคายให้บริบูรณ์
การทำไว้ในใจโดยไม่แยบคายที่บริบูรณ์ ย่อมยังความไม่มีสติสัมปชัญญะให้บริบูรณ์
ความไม่มีสติสัมปชัญญะที่บริบูรณ์ ย่อมยังการไม่สำรวมอินทรีย์ให้บริบูรณ์
การไม่สำรวมอินทรีย์ที่บริบูรณ์ ย่อมยังทุจริต ๓ ให้บริบูรณ์
ทุจริต ๓ ที่บริบูรณ์ ย่อมยังนิวรณ์ ๕ ให้บริบูรณ์
นิวรณ์ ๕ ที่บริบูรณ์ ย่อมยังอวิชชาให้บริบูรณ์
อวิชชานี้มีอาหารอย่างนี้ และบริบูรณ์อย่างนี้ ฯ



จากกระทู้ชื่อ...ว่าด้วยวิชชา3
viewtopic.php?f=1&t=57480



walaiporn เขียน:
ยมกวรรคที่ ๒
อวิชชาสูตร


[๖๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เงื่อนต้นแห่งอวิชชาย่อมไม่ปรากฏในกาลก่อน
แต่นี้ อวิชชาไม่มี แต่ภายหลังจึงมี เพราะเหตุนั้น เราจึงกล่าวคำนี้อย่างนี้ว่า
ก็เมื่อเป็นเช่นนั้น อวิชชามีข้อนี้เป็นปัจจัยจึงปรากฏ

ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราย่อมกล่าวอวิชชาว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของอวิชชา ควรจะกล่าวว่านิวรณ์ ๕

แม้นิวรณ์ ๕ เราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของนิวรณ์ ๕ ควรกล่าวว่า ทุจริต ๓ แม้ทุจริต ๓

เราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร ก็อะไรเป็นอาหารของทุจริต ๓
ควรกล่าวว่า การไม่สำรวมอินทรีย์

แม้การไม่สำรวมอินทรีย์เรา ก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารแห่งการไม่สำรวมอินทรีย์

ควรกล่าวว่าความไม่มีสติสัมปชัญญะ แม้ความไม่มีสติสัมปชัญญะเราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของความไม่มีสติสัมปชัญญะ ควรกล่าวว่าการกระทำไว้ในใจโดยไม่แยบคาย

แม้การทำไว้ในใจโดยไม่แยบคายเราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของการทำไว้ในใจโดยไม่แยบคาย

ควรกล่าวว่าความไม่มีศรัทธา แม้ความไม่มีศรัทธาเราก็กล่าวว่ามีอาหารมิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของความไม่มีศรัทธา

ควรกล่าวว่า การไม่ฟังสัทธรรม แม้การไม่ฟังสัทธรรมเราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของการไม่ฟังสัทธรรม ควรกล่าวว่า การไม่คบสัปบุรุษ

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ด้วยประการดังนี้ การไม่คบสัปบุรุษที่บริบูรณ์ ย่อมยังการไม่ฟังสัทธรรมให้บริบูรณ์
การไม่ฟังสัทธรรมที่บริบูรณ์ ย่อมยังความไม่มีศรัทธาให้บริบูรณ์
ความไม่มีศรัทธาที่บริบูรณ์ ย่อมยังการทำไว้ในใจโดยไม่แยบคายให้บริบูรณ์
การทำไว้ในใจโดยไม่แยบคายที่บริบูรณ์ ย่อมยังความไม่มีสติสัมปชัญญะให้บริบูรณ์
ความไม่มีสติสัมปชัญญะที่บริบูรณ์ ย่อมยังการไม่สำรวมอินทรีย์ให้บริบูรณ์
การไม่สำรวมอินทรีย์ที่บริบูรณ์ ย่อมยังทุจริต ๓ ให้บริบูรณ์
ทุจริต ๓ ที่บริบูรณ์ ย่อมยังนิวรณ์ ๕ ให้บริบูรณ์
นิวรณ์ ๕ ที่บริบูรณ์ ย่อมยังอวิชชาให้บริบูรณ์
อวิชชานี้มีอาหารอย่างนี้ และบริบูรณ์อย่างนี้ ฯ



ดูกรภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนเมื่อฝนเม็ดหยาบตกลงเบื้องบนภูเขา
เมื่อฝนตกหนักๆ อยู่ น้ำนั้นไหลไปตามที่ลุ่ม ย่อมยังซอกเขา ลำธารและห้วยให้เต็ม ซอกเขา
ลำธารและห้วยที่เต็ม ย่อมยังหนองให้เต็ม หนองที่เต็มย่อมยังบึงให้เต็ม บึงที่เต็มย่อมยังแม่น้ำน้อยให้เต็ม
แม่น้ำน้อยที่เต็มย่อมยังแม่น้ำใหญ่ให้เต็ม แม่น้ำใหญ่ที่เต็มย่อมยังมหาสมุทรสาครให้เต็ม
มหาสมุทรสาครนั้น มีอาหารอย่างนี้ และเต็มเปี่ยมอย่างนี้ แม้ฉันใด

ดูกรภิกษุทั้งหลาย การไม่คบสัปบุรุษที่บริบูรณ์ ย่อมยังการไม่ฟังสัทธรรมให้บริบูรณ์ ...
นิวรณ์ ๕ ที่บริบูรณ์ ย่อมยังอวิชชาให้บริบูรณ์
อวิชชานี้มีอาหารอย่างนี้ และบริบูรณ์อย่างนี้ ฉันนั้นเหมือนกันแล ฯ


ดูกรภิกษุทั้งหลาย เรากล่าววิชชาและวิมุตติว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของวิชชาและวิมุตติ ควรกล่าวว่า โพชฌงค์ ๗

แม้โพชฌงค์ ๗ เราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของโพชฌงค์ ๗ ควรกล่าวว่า สติปัฏฐาน ๔

แม้สติปัฏฐาน ๔ เราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของสติปัฏฐาน ๔ ควรกล่าวว่า สุจริต ๓

แม้สุจริต ๓ เราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของสุจริต ๓ ควรกล่าวว่า การสำรวมอินทรีย์

แม้การสำรวมอินทรีย์เราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของการสำรวมอินทรีย์ ควรกล่าวว่า สติสัมปชัญญะ

แม้สติสัมปชัญญะเราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของสติสัมปชัญญะ ควรกล่าวว่า การทำไว้ในใจโดยแยบคาย

แม้การทำไว้ในใจโดยแยบคายเราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของการกระทำไว้ในใจโดยแยบคาย ควรกล่าวว่าศรัทธา

แม้ศรัทธาเราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของศรัทธา ควรกล่าวว่า การฟังสัทธรรม

แม้การฟังสัทธรรมเราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของการฟังสัทธรรม ควรกล่าวว่า การคบสัปบุรุษ

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ด้วยประการดังนี้
การคบสัปบุรุษที่บริบูรณ์ ย่อมยังการฟังสัทธรรมให้บริบูรณ์
การฟังสัทธรรมที่บริบูรณ์ ย่อมยังศรัทธาให้บริบูรณ์
ศรัทธาที่บริบูรณ์ ย่อมยังการทำไว้ในใจโดยแยบคายให้บริบูรณ์
การทำไว้ในใจโดยแยบคายที่บริบูรณ์ ย่อมยังสติสัมปชัญญะให้บริบูรณ์
สติสัมปชัญญะที่บริบูรณ์ ย่อมยังการสำรวมอินทรีย์ให้บริบูรณ์
การสำรวมอินทรีย์ที่บริบูรณ์ ย่อมยังสุจริต ๓ ให้บริบูรณ์
สุจริต ๓ ที่บริบูรณ์ ย่อมยังสติปัฏฐาน ๔ ให้บริบูรณ์
สติปัฏฐาน ๔ ที่บริบูรณ์ ย่อมยังโพชฌงค์ ๗ ให้บริบูรณ์
โพชฌงค์ ๗ ที่บริบูรณ์ ย่อมยังวิชชาและวิมุตติให้บริบูรณ์
วิชชาและวิมุตตินี้มีอาหารอย่างนี้ และบริบูรณ์อย่างนี้ ฯ

ดูกรภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนเมื่อฝนเม็ดหยาบตกลงเบื้องบนภูเขา
เมื่อฝนตกหนักๆ อยู่ น้ำนั้นไหลไปตามที่ลุ่ม ย่อมยังซอกเขา ลำธารและห้วยให้เต็ม ซอกเขา
ลำธารและห้วยที่เต็มย่อมยังหนองให้เต็ม หนองที่เต็ม ย่อมยังบึงให้เต็ม
บึงที่เต็มย่อมยังแม่น้ำน้อยให้เต็ม แม่น้ำน้อยที่เต็ม ย่อมยังแม่น้ำใหญ่ให้เต็ม
แม่น้ำใหญ่ที่เต็ม ย่อมยังมหาสมุทรสาครให้เต็ม
มหาสมุทรสาครนั้นมีอาหารอย่างนี้ และเต็มเปี่ยมอย่างนี้ แม้ฉันใด

ดูกรภิกษุทั้งหลาย การคบสัปบุรุษที่บริบูรณ์ ย่อมยังการฟังสัทธรรมให้บริบูรณ์ ...
โพชฌงค์ ๗ ที่บริบูรณ์ ย่อมยังวิชชาและวิมุตติให้บริบูรณ์
วิชชาและวิมุตตินี้มีอาหารอย่างนี้ และบริบูรณ์อย่างนี้ ฉันนั้นเหมือนกันแล ฯ

จบสูตรที่ ๑



นึกว่าคุณโรสไปลอกมา คิกๆๆ กลายเป็น walaiporn คุณโรสไปเอามานี่ เพื่อจุดประสงค์ใด ไหนบอกสิ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 มิ.ย. 2019, 14:03 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
Rosarin เขียน:
cool
พระพุทธศาสนาเสื่อมเพราะคุณไม่เคยคิดถูกตามคำสอน
และไม่เคยจำได้ว่าตถาคตสอนอะไรจำผิดคิดผิดพูดผิด
และไม่เคยฟังเพื่อให้เข้าใจถูกก่อนจะไปทำมีแต่อยากไป
ลืมฟังเข้าใจไหมว่าลืมฟังจึงมีกิเลสเพิ่มพูนเข้าใจไหมคะ
https://youtu.be/aaZgEzVvY5g
onion onion onion


ลองคิดตามให้เข้าใจดูบ้างตรงสีม่วงๆ...คบคำจริงตรงตามคำสอนของตถาคตไม่ใช่ตัวตนคนนะจ๊ะ

อ้างคำพูด:
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ด้วยประการดังนี้ การไม่คบสัปบุรุษที่บริบูรณ์ ย่อมยังการไม่ฟังสัทธรรมให้บริบูรณ์
การไม่ฟังสัทธรรมที่บริบูรณ์ ย่อมยังความไม่มีศรัทธาให้บริบูรณ์
ความไม่มีศรัทธาที่บริบูรณ์ ย่อมยังการทำไว้ในใจโดยไม่แยบคายให้บริบูรณ์
การทำไว้ในใจโดยไม่แยบคายที่บริบูรณ์ ย่อมยังความไม่มีสติสัมปชัญญะให้บริบูรณ์
ความไม่มีสติสัมปชัญญะที่บริบูรณ์ ย่อมยังการไม่สำรวมอินทรีย์ให้บริบูรณ์
การไม่สำรวมอินทรีย์ที่บริบูรณ์ ย่อมยังทุจริต ๓ ให้บริบูรณ์
ทุจริต ๓ ที่บริบูรณ์ ย่อมยังนิวรณ์ ๕ ให้บริบูรณ์
นิวรณ์ ๕ ที่บริบูรณ์ ย่อมยังอวิชชาให้บริบูรณ์
อวิชชานี้มีอาหารอย่างนี้ และบริบูรณ์อย่างนี้ ฯ



จากกระทู้ชื่อ...ว่าด้วยวิชชา3
viewtopic.php?f=1&t=57480



walaiporn เขียน:
ยมกวรรคที่ ๒
อวิชชาสูตร


[๖๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เงื่อนต้นแห่งอวิชชาย่อมไม่ปรากฏในกาลก่อน
แต่นี้ อวิชชาไม่มี แต่ภายหลังจึงมี เพราะเหตุนั้น เราจึงกล่าวคำนี้อย่างนี้ว่า
ก็เมื่อเป็นเช่นนั้น อวิชชามีข้อนี้เป็นปัจจัยจึงปรากฏ

ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราย่อมกล่าวอวิชชาว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของอวิชชา ควรจะกล่าวว่านิวรณ์ ๕

แม้นิวรณ์ ๕ เราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของนิวรณ์ ๕ ควรกล่าวว่า ทุจริต ๓ แม้ทุจริต ๓

เราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร ก็อะไรเป็นอาหารของทุจริต ๓
ควรกล่าวว่า การไม่สำรวมอินทรีย์

แม้การไม่สำรวมอินทรีย์เรา ก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารแห่งการไม่สำรวมอินทรีย์

ควรกล่าวว่าความไม่มีสติสัมปชัญญะ แม้ความไม่มีสติสัมปชัญญะเราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของความไม่มีสติสัมปชัญญะ ควรกล่าวว่าการกระทำไว้ในใจโดยไม่แยบคาย

แม้การทำไว้ในใจโดยไม่แยบคายเราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของการทำไว้ในใจโดยไม่แยบคาย

ควรกล่าวว่าความไม่มีศรัทธา แม้ความไม่มีศรัทธาเราก็กล่าวว่ามีอาหารมิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของความไม่มีศรัทธา

ควรกล่าวว่า การไม่ฟังสัทธรรม แม้การไม่ฟังสัทธรรมเราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของการไม่ฟังสัทธรรม ควรกล่าวว่า การไม่คบสัปบุรุษ

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ด้วยประการดังนี้ การไม่คบสัปบุรุษที่บริบูรณ์ ย่อมยังการไม่ฟังสัทธรรมให้บริบูรณ์
การไม่ฟังสัทธรรมที่บริบูรณ์ ย่อมยังความไม่มีศรัทธาให้บริบูรณ์
ความไม่มีศรัทธาที่บริบูรณ์ ย่อมยังการทำไว้ในใจโดยไม่แยบคายให้บริบูรณ์
การทำไว้ในใจโดยไม่แยบคายที่บริบูรณ์ ย่อมยังความไม่มีสติสัมปชัญญะให้บริบูรณ์
ความไม่มีสติสัมปชัญญะที่บริบูรณ์ ย่อมยังการไม่สำรวมอินทรีย์ให้บริบูรณ์
การไม่สำรวมอินทรีย์ที่บริบูรณ์ ย่อมยังทุจริต ๓ ให้บริบูรณ์
ทุจริต ๓ ที่บริบูรณ์ ย่อมยังนิวรณ์ ๕ ให้บริบูรณ์
นิวรณ์ ๕ ที่บริบูรณ์ ย่อมยังอวิชชาให้บริบูรณ์
อวิชชานี้มีอาหารอย่างนี้ และบริบูรณ์อย่างนี้ ฯ



ดูกรภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนเมื่อฝนเม็ดหยาบตกลงเบื้องบนภูเขา
เมื่อฝนตกหนักๆ อยู่ น้ำนั้นไหลไปตามที่ลุ่ม ย่อมยังซอกเขา ลำธารและห้วยให้เต็ม ซอกเขา
ลำธารและห้วยที่เต็ม ย่อมยังหนองให้เต็ม หนองที่เต็มย่อมยังบึงให้เต็ม บึงที่เต็มย่อมยังแม่น้ำน้อยให้เต็ม
แม่น้ำน้อยที่เต็มย่อมยังแม่น้ำใหญ่ให้เต็ม แม่น้ำใหญ่ที่เต็มย่อมยังมหาสมุทรสาครให้เต็ม
มหาสมุทรสาครนั้น มีอาหารอย่างนี้ และเต็มเปี่ยมอย่างนี้ แม้ฉันใด

ดูกรภิกษุทั้งหลาย การไม่คบสัปบุรุษที่บริบูรณ์ ย่อมยังการไม่ฟังสัทธรรมให้บริบูรณ์ ...
นิวรณ์ ๕ ที่บริบูรณ์ ย่อมยังอวิชชาให้บริบูรณ์
อวิชชานี้มีอาหารอย่างนี้ และบริบูรณ์อย่างนี้ ฉันนั้นเหมือนกันแล ฯ


ดูกรภิกษุทั้งหลาย เรากล่าววิชชาและวิมุตติว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของวิชชาและวิมุตติ ควรกล่าวว่า โพชฌงค์ ๗

แม้โพชฌงค์ ๗ เราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของโพชฌงค์ ๗ ควรกล่าวว่า สติปัฏฐาน ๔

แม้สติปัฏฐาน ๔ เราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของสติปัฏฐาน ๔ ควรกล่าวว่า สุจริต ๓

แม้สุจริต ๓ เราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของสุจริต ๓ ควรกล่าวว่า การสำรวมอินทรีย์

แม้การสำรวมอินทรีย์เราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของการสำรวมอินทรีย์ ควรกล่าวว่า สติสัมปชัญญะ

แม้สติสัมปชัญญะเราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของสติสัมปชัญญะ ควรกล่าวว่า การทำไว้ในใจโดยแยบคาย

แม้การทำไว้ในใจโดยแยบคายเราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของการกระทำไว้ในใจโดยแยบคาย ควรกล่าวว่าศรัทธา

แม้ศรัทธาเราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของศรัทธา ควรกล่าวว่า การฟังสัทธรรม

แม้การฟังสัทธรรมเราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของการฟังสัทธรรม ควรกล่าวว่า การคบสัปบุรุษ

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ด้วยประการดังนี้
การคบสัปบุรุษที่บริบูรณ์ ย่อมยังการฟังสัทธรรมให้บริบูรณ์
การฟังสัทธรรมที่บริบูรณ์ ย่อมยังศรัทธาให้บริบูรณ์
ศรัทธาที่บริบูรณ์ ย่อมยังการทำไว้ในใจโดยแยบคายให้บริบูรณ์
การทำไว้ในใจโดยแยบคายที่บริบูรณ์ ย่อมยังสติสัมปชัญญะให้บริบูรณ์
สติสัมปชัญญะที่บริบูรณ์ ย่อมยังการสำรวมอินทรีย์ให้บริบูรณ์
การสำรวมอินทรีย์ที่บริบูรณ์ ย่อมยังสุจริต ๓ ให้บริบูรณ์
สุจริต ๓ ที่บริบูรณ์ ย่อมยังสติปัฏฐาน ๔ ให้บริบูรณ์
สติปัฏฐาน ๔ ที่บริบูรณ์ ย่อมยังโพชฌงค์ ๗ ให้บริบูรณ์
โพชฌงค์ ๗ ที่บริบูรณ์ ย่อมยังวิชชาและวิมุตติให้บริบูรณ์
วิชชาและวิมุตตินี้มีอาหารอย่างนี้ และบริบูรณ์อย่างนี้ ฯ

ดูกรภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนเมื่อฝนเม็ดหยาบตกลงเบื้องบนภูเขา
เมื่อฝนตกหนักๆ อยู่ น้ำนั้นไหลไปตามที่ลุ่ม ย่อมยังซอกเขา ลำธารและห้วยให้เต็ม ซอกเขา
ลำธารและห้วยที่เต็มย่อมยังหนองให้เต็ม หนองที่เต็ม ย่อมยังบึงให้เต็ม
บึงที่เต็มย่อมยังแม่น้ำน้อยให้เต็ม แม่น้ำน้อยที่เต็ม ย่อมยังแม่น้ำใหญ่ให้เต็ม
แม่น้ำใหญ่ที่เต็ม ย่อมยังมหาสมุทรสาครให้เต็ม
มหาสมุทรสาครนั้นมีอาหารอย่างนี้ และเต็มเปี่ยมอย่างนี้ แม้ฉันใด

ดูกรภิกษุทั้งหลาย การคบสัปบุรุษที่บริบูรณ์ ย่อมยังการฟังสัทธรรมให้บริบูรณ์ ...
โพชฌงค์ ๗ ที่บริบูรณ์ ย่อมยังวิชชาและวิมุตติให้บริบูรณ์
วิชชาและวิมุตตินี้มีอาหารอย่างนี้ และบริบูรณ์อย่างนี้ ฉันนั้นเหมือนกันแล ฯ

จบสูตรที่ ๑



นึกว่าคุณโรสไปลอกมา คิกๆๆ กลายเป็น walaiporn คุณโรสไปเอามานี่ เพื่อจุดประสงค์ใด ไหนบอกสิ

:b32:
คบคำสอนของพระพุทธเจ้า
อุตส่าห์เน้นให้เป็นอักษรสีม่วง
งัวเงียง่วงนอนเหรอหรือไม่ได้อ่าน
หรืออ่านแล้วตีความไม่แตกเพราะไม่เคยฟังคำสอน
เหตุปัจจัยที่ทำให้เกิดอวิชชาคือไม่ฟังให้เข้าใจให้มันถูกตรงตามคำสอนไงคะ
:b32: :b32:
ฟังบ้างนะ...ตายแล้วย้อนกลับมาฟังไม่ได้นะ
https://youtu.be/ZusfG3XP0Gs
:b12:
:b4: :b4:


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 17 โพสต์ ]  ไปที่หน้า 1, 2  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 57 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร