วันเวลาปัจจุบัน 29 มี.ค. 2024, 06:04  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 108 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6 ... 8  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 ธ.ค. 2019, 21:42 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7503

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
Kiss
คำสอนของตถาคตตรงไปตรงมาเป็นคนซื่อตรงไหมที่อยากบวชโดยไม่ทำตามคำสอน
บอกว่าตถาคตห้ามบรรพชิตคือภิกษุในธรรมวินัยรับเงินทองและสิ่งที่ใช้แทนเงิน
คนบวชแล้ววิเศษเลยไหมทำตามคำสอนไม่ได้รู้ตัวเองดีกว่าคนอื่นก็ลาสิกขา
ถ้ายังเอาอุปนิสัยเดิมแบบชาวบ้านที่จับจ่ายใช้สอยเงินเอาไปใช้ตอนบวช
มันทำผิดเป็นปกติของบรรพชิตคือไม่กตัญญูต่อคุณพระรัตนตรัย
บวชเพราะรู้จักตนเองว่าทำตามสิกขาบทได้ตามปกติเป็นปกติ
onion onion onion


ตอบนะ ภิกษุนั่งรถโดยสารต้องจ่ายเงินไหม

1. จ่าย

2. ไม่ต้องจ่าย

ตอบข้อไหน 1 หรือ 2 เอ้า ตอบให้ตรงข้อที่ถามนะ

:b32:
งั้นตอบคำถามนี้ก่อน
ที่ไปไปทำธุระที่ไหนน่ะไปเพราะไม่รู้ใช่ไหมคะ
ก็บอกแล้วบอกอีกว่าความจริงตรงตามคำสอน
มีแล้วที่กายใจตนเองไม่ใช่มีอยู่ตรงสถานที่
ตถาคตให้บวชแล้วจำวัดมีกิจธุระแค่2อย่างคือ
1คันถะธุระ=ศึกษาคำสอนให้เข้าใจถูกตรงตามเป็นจริง
2วิปัสสนาธุระ=ทำปัญญาถูกตรงตามคำสอนให้ปรากฏ
ถามธุระ2อย่างนี้ทำที่วัดที่กายใจตนเองไม่ไปไหนก็มีแล้ว
ที่ไปแล้วใช้เงินค่ารถโดยสารนั้นไปเพราะอยากไปเองค่ะ
คำสอนทั้งพระไตรปิฎกมีที่กายของทุกๆคนไม่ใช่สถานที่
สถานที่ที่อยากไปนั้นไปเพราะติดข้องพอใจจะไปทำตามใจอยากทำไม่ฟังคำสอน
https://youtu.be/MxB0HliMSxo
:b12:
:b4: :b4:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 ธ.ค. 2019, 05:48 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
Kiss
คำสอนของตถาคตตรงไปตรงมาเป็นคนซื่อตรงไหมที่อยากบวชโดยไม่ทำตามคำสอน
บอกว่าตถาคตห้ามบรรพชิตคือภิกษุในธรรมวินัยรับเงินทองและสิ่งที่ใช้แทนเงิน
คนบวชแล้ววิเศษเลยไหมทำตามคำสอนไม่ได้รู้ตัวเองดีกว่าคนอื่นก็ลาสิกขา
ถ้ายังเอาอุปนิสัยเดิมแบบชาวบ้านที่จับจ่ายใช้สอยเงินเอาไปใช้ตอนบวช
มันทำผิดเป็นปกติของบรรพชิตคือไม่กตัญญูต่อคุณพระรัตนตรัย
บวชเพราะรู้จักตนเองว่าทำตามสิกขาบทได้ตามปกติเป็นปกติ
onion onion onion


ตอบนะ ภิกษุนั่งรถโดยสารต้องจ่ายเงินไหม

1. จ่าย

2. ไม่ต้องจ่าย

ตอบข้อไหน 1 หรือ 2 เอ้า ตอบให้ตรงข้อที่ถามนะ

:b32:
งั้นตอบคำถามนี้ก่อน
ที่ไปไปทำธุระที่ไหนน่ะไปเพราะไม่รู้ใช่ไหมคะ
ก็บอกแล้วบอกอีกว่าความจริงตรงตามคำสอน
มีแล้วที่กายใจตนเองไม่ใช่มีอยู่ตรงสถานที่
ตถาคตให้บวชแล้วจำวัดมีกิจธุระแค่2อย่างคือ
1คันถะธุระ=ศึกษาคำสอนให้เข้าใจถูกตรงตามเป็นจริง
2วิปัสสนาธุระ=ทำปัญญาถูกตรงตามคำสอนให้ปรากฏ
ถามธุระ2อย่างนี้ทำที่วัดที่กายใจตนเองไม่ไปไหนก็มีแล้ว
ที่ไปแล้วใช้เงินค่ารถโดยสารนั้นไปเพราะอยากไปเองค่ะ

คำสอนทั้งพระไตรปิฎกมีที่กายของทุกๆคนไม่ใช่สถานที่
สถานที่ที่อยากไปนั้นไปเพราะติดข้องพอใจจะไปทำตามใจอยากทำไม่ฟังคำสอน
https://youtu.be/MxB0HliMSxo
:b12:
:b4: :b4:


คำถามสองข้อนั่นแหละคือคำตอบ คิกๆๆ

เขายังมีชีวิตอยู่ มีธุระไปนั่นมานี่เรื่องจำเป็น เช่น ผู้รับตำแหน่งก็มีหน้าที่ปกครอง ที่นั่นที่โน่นมีปัญหาก็ต้องไประงับอธิกรณ์ จะให้นอนอยู่ยังไง พระพุทธเจ้าเมื่อพระทะเลาะกันห้ามไม่ฟังท่านก็เข้าป่า ไม่อยู่กับช้างกับลิง

สรุปอีกที สำนักแม่สุจินสอนเลอะเทอะ คิกๆๆ สุดโต่ง

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 ธ.ค. 2019, 05:58 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
8/12/62 เวลา 10.00 น ที่วัดนาทวี สงขลา นายเตียว วุยฮวด หรือนายโทนี่ เตียว นักธุรกิจระดับแนวหน้าของประเทศมาเลเซีย เจ้าของกิจการโรงแรม ศูนย์การค้า รีสอร์ท บ้านจัดสรร ในประเทศมาเลเซียและประเทศไทย เข้าพิธีอุปสมบท พร้อมลูกน้องคนสนิท 8 รูป


รูปภาพ

ถามคุณโรส แบบนี้ต้องให้เขาสละทรัพย์สมบัติที่มีอยู่ให้หมดก่อนแล้วค่อยบวชไหม ตอบสิ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 ธ.ค. 2019, 07:59 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


@ พระไตรปิฎกที่มีการท่องจำมีความแม่นยำเพียงไร


หลายคนอาจสงสัยว่า เมื่อรักษาพระไตรปิฎกด้วยการทรงจำในตอนเริ่มแรก ก็น่ากลัวว่าจะมีการคลาดเคลื่อนเลอะเลือนหลงลืมไป


แต่เมื่อได้พิจารณาไตร่ตรอง ก็กลับเห็นได้ชัดว่า การรักษาด้วยการท่อง โดยสวดเป็นหมู่คณะแล้วทรงจำไว้นั่นแหละ เป็นวิธีที่แม่นยำยิ่งกว่ายุคที่จารึกเป็นลายลักษณ์อักษรเสียอีก

ที่ว่าอย่างนั้นเพราะอะไร ? เพราะว่าการท่องที่จะทรงจำพระไตรปิฎก หรือ คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ที่เรียกว่าธรรมวินัยนั้น ท่านทำด้วยวิธีสวดพร้อมกัน คือ คล้ายที่เราสวดมนต์กันทุกวันนี้แหละ เวลาสวดมนต์พร้อมกัน เช่น สวดกัน ๑๐ คน ๒๐ คน ๕๐ คน ๑๐๐ คน นั้น จะต้องสวดตรงกันหมดทุกถ้อยคำ จะตกหล่นตัดขาดหายไปก็ไม่ได้ จะเพิ่มแม้คำเดียวก็ไม่ได้ เพราะจะขัดกัน ดีไม่ดีก็สวดล้มไปเลย


เพราะฉะนั้น การที่จะสวดโดยคนจำนวนมากๆ ให้เป็นไปด้วยดี ให้สอดคล้องกลมกลืนกัน ก็จะต้องสวดเหมือนกันหมด ท่านจึงรักษาคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าไว้ด้วยวิธีนี้ คือทรงจำพระไตรปิฎกด้วยวิธีสวดพร้อมกันจำนวนมากๆ โดยพระสงฆ์ซึ่งเห็นความสำคัญของพระไตรปิฎก เพราะรู้อยู่ว่า นี่แหละคือพระพุทธศาสนา ถ้าหมดพระไตรปิฎกเมื่อไร พระพุทธศาสนาก็หมดไปเมื่อนั้น ถ้าพระไตรปิฎกเคลื่อนคลาดไป พระพุทธศาสนาก็เคลื่อนคลาดไปด้วย

พระเถระรุ่นก่อนนั้น ถือความสำคัญของพระไตรปิฎกเป็นอย่างยิ่ง แม่แต่ในยุคที่จารึกเป็นลายลักษณ์อักษรแล้วก็ต้องถึงกับพูดกันว่า


"อักษรตัวหนึ่งๆ อันเป็นพระปริยัติศาสน์ของพระศาสนา มีค่าเท่ากับพระพุทธรูปองค์หนึ่ง" ญาโณทยปกรณ์


เพราะฉะนั้น ถ้ามองในแง่บวก ก็คือจะต้องช่วยกันรักษาไว้ให้ดี แม้จารึกหรือสนับสนุนการจารึกเพียงนิดหน่อยก็เป็นบุญเป็นกุศลมาก


แต่มองในแง่ลบก็คือ ถ้าใครไปทำให้ผิดพลาด แม้แต่อักษรเดียว ก็เหมือนทำลายพระพุทธรูปองค์หนึ่ง เป็นบาปมาก เพราะฉะนั้น พระเถระรุ่นก่อน ท่านจึงระวังมากในการรักษาทรงจำพระไตรปิฎกไม่ให้ผิดเพี้ยน

ความมั่นใจในความบริสุทธิ์บริบูรณ์นี้ได้รับการย้ำสำทับ เมื่อปรากฏว่าพุทธพจน์เรื่องเดียวกัน ที่อยู่ในที่ต่างหมวดต่างตอน ซ้ำกัน ๔ - ๕ แห่งในความรับผิดชอบของคณะผู้ชำนาญต่างกลุ่ม โดยทั่วไปยังคงมีถ้อยคำข้อความเหมือนกัน เป็นอย่างเดียวกัน ยืนยันกันเอง แสดงถึงความแม่นยำในการทรงจำและทวนทาน อีกทั้งพระภิกษุแม้เพียงแต่ละรูปก็สามารถทรงจำพุทธพจน์ไว้ได้มากมาย ดังมีตัวอย่างชัดเจนในปัจจุบัน ที่ประเทศพม่า มีภิกษุหลายรูปที่ได้รับสถาปนาเป็นติปิฎกธร ซึ่งแต่ละรูปสามารถทรงจำสาธยายพระไตรปิฎกบาลีได้ครบถ้วนบริบูรณ์ นับตามจำนวนหน้าพิมพ์แบบปัจจุบันฉบับภาษาไทยกว่า ๒๒,๐๐๐ หน้า

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 ธ.ค. 2019, 05:39 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


@ พระไตรปิฎกที่เป็นลายลักษณ์อักษรเล่า ?

ช่วงที่ ๒ คือ ระยะที่รักษาพุทธพจน์และเรื่องเกี่ยวข้องในพระไตรปิฎกทั้งหมดไว้เป็นลายลักษณ์อักษร หรือการรักษาไว้กับวัตถุภายนอก เริ่มเมื่อประมาณ พ.ศ.๔๖๐ ที่มีการสังคายนาครั้งที่ ๔ ณ อาโลกเลณสถาน ในลังกาทวีป

การสังคายนาครั้งที่ ๔ นี้ เกิดจากเหตุผลที่ปรารภว่า เมื่อเหตุการณ์บ้านเมืองสภาพแวดล้อมผันแปรไป เกิดมีภัยที่กระทบต่อการทำหน้าที่สืบต่อทรงจำพุทธพจน์ และคนต่อไปภายหน้าจะเสื่อมถอยสติสมาธิปัญญา เช่น มีศรัทธา และฉันทะอ่อนลงไป จะไม่สามารถรักษาพุทธพจน์ไว้ด้วยมุขปาฐะ จึงตกลงกันว่าถึงเวลาที่จำต้องจารึกพระไตรปิฎกลงในใบลาน

ในแง่หนึ่ง การจารึกเป็นลายลักษณ์อักษรนี้ ดูเหมือนจะมีความแน่นอนและมั่นคงถาวรดังต้องการ คือ จะคงอยู่อย่างนั้นๆ จนกว่าวัสดุจะผุสลาย หรือสูญหาย หรือถูกทำลายไป แต่วิธีรักษาแบบนี้ มีจุดอ่อนที่ทำให้บุคคลเกิดความประมาท ด้วยวางใจว่ามีพระไตรปิฎกอยู่ในใบลานหรือเล่มหนังสือแล้ว ความเอาใจใส่ที่จะสาธยาย ทวนทาน หรือแม้แต่เล่าเรียน ก็ย่อหย่อนลงไป หรือถึงกับกลายเป็นความละเลย

อีกประการหนึ่ง การจารึกในสมัยโบราณ ต้องอาศัยการคัดลอกโดยบุคคล ซึ่งมีการคัดลอกแต่ละครั้ง จะต้องมีการพลั้งเผลอผิดพลาดตกหล่น ทำให้ตัวอักษรเสียหายเป็นตัวๆ หรือแม้แต่หายไปเป็นบรรทัด ยิ่งบางทีผู้มีหน้าที่รักษาไม่ถนัดในงานจารเอง ต้องให้ช่างมาจารให้ บางทีผู้จารไม่รู้ไม่ชำนาญภาษาบาลีและพุทธพจน์ หรือแม้กระทั่งไม่รู้ไม่เข้าใจเลย ก็ยิ่งเสี่ยงต่อความผิดพลาด อย่างที่ในสังคมไทยโบราณรู้กันดี ในเรื่องการคัดลอกตำรายาดังคำที่พูดกันมาว่า "ลอกสามทีกินตาย"

ด้วยเหตุนี้ การรักษาพระไตรปิฎกในยุคฝากไว้กับวัตถุนอกตัวบุคคลนี้ จึงต้องใช้วิธีทำฉบับใหญ่ของส่วนรวมที่จารึกและทบทวนทานกันอย่างดีแล้ว รักษาไว้ที่ศูนย์กลางแห่งหนึ่ง เป็นหลักของหมู่คณะของสงฆ์ทั้งหมดหรือของประเทศชาติ

ประจวบว่า ในยุคที่รักษาพุทธพจน์เป็นลายลักษณ์อักษรนี้ พระพุทธศาสนาได้เจริญแพร่หลายไปเป็นศาสนาแห่งชาติของหลายประเทศแล้ว แต่ละประเทศจึงมีการสร้างพระไตรปิฎกฉบับที่เป็นหลักของประเทศของตนๆ ไว้ และดูแลสืบทอดกันมาให้มั่นใจว่ายังคงอยู่บริสุทธิ์บริบูรณ์ดังเช่นในประเทศไทย ที่มีการสังคายนาในสมัยพระเจ้าติโลกราช (หรือ ติลกราช) แห่งอาณาจักรล้านนา และการสังคายนาในสมัยราชกาลที่ ๑ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ปัจจุบัน เป็นต้น

ในเวลาที่เรามีการตรวจชำระพระไตรปิฎกครั้งหนึ่ง เราก็เอาของทุกประเทศมาสอบทานเทียบเคียงกัน เพื่อดูว่ามีข้อความถ้อยคำหรืออักษรตัวไหนผิดเพี้ยนกันไหม อย่างชื่อ พระอัญญาโกณฑัญญะ มีการผิดเพี้ยนกันไปนิดหน่อย ฉบับของเราเป็น อัญญาโกณฑัญญะ ฉบับของสมาคมบาลีปกรณ์ (Pali Text Society) เป็น อัญญาตโกณฑัญญะ เป็นต้น ความแตกต่างแม้นิดเดียว เราก็บันทึกไว้ให้รู้ในเชิงอรรถ

แม้กาลเวลาจะผ่านล่วงไปเกินพันปี เมื่อนำพระไตรปิฎกที่ประเทศพุทธศาสนาแต่ละประเทศรักษาไว้มาเทียบกัน ก็พูดได้โดยรวมว่า เหมือนกันลงกัน แม้จะมีตัวอักษรที่ผิดแผกแตกต่างกันบ้าง เช่น จ เป็น ว บ้าง เมื่อเทียบโดยปริมาณทั้งหมดแล้ว ก็นับว่าเล็กน้อยยิ่ง แสดงถึงความถูกต้องแม่นยำในการรักษาที่ทำกันมาด้วยความตั้งใจและตระหนักถึงความสำคัญอย่างแท้จริง

เพราะฉะนั้น พระพุทธศาสนาเถรวาทจึงมีความภูมิใจโดยชอบธรรมว่า เรารักษาพระพุทธศาสนาไว้ได้เป็นแบบเดิมแท้ ดังเป็นที่ยอมรับกันเป็นสากล คือ นักปราชญ์ วงวิชาการทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็นมหายาน หรือเถรวาท หรือ วัชรยาน ว่าพระสูตรต่างๆ ของพระพุทธศาสนาแบบมหายานที่เป็นอาจารยวาท เป็นของที่แต่งขึ้นภายหลัง ไม่รักษาคำสอนเดิมแท้ๆ ไว้ คัมภีร์ส่วนมากก็สาบสูญไป เขาก็เลยมายอมรับกันว่า คำสอนเดิมแท้ของพระพุทธเจ้าที่จะหาได้ครบสมบูรณ์ที่สุด ก็ต้องมาดูในพระไตรปิฎกบาลีของพระพุทธศาสนาเถรวาทของเรานี้

การสังคายนานั้นต้องให้รู้ว่าเป็นการที่จะรักษาคำสอนเดิมไว้ให้แม่นยำที่สุด ไม่ใช่ว่าพระภิกษุที่สังคายนามีสิทธิ์เอาความคิดเห็นของตนใส่ลงไป

บางคนเข้าใจผิดว่า ในการสังคายนานี้ ผู้ที่เข้าร่วมสังคายนา จะไปปรับไปแต่งไปทำอะไรกับพระไตรปิฎก ดีไม่ดีอาจจะถึงกับเข้าใจว่ามาแต่งพระไตรปิฎกกันใหม่ ซึ่งเป็นความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนไปไกล แสดงว่าไม่รู้จักการสังคายนา และไม่รู้เรื่องอะไรเลย

แต่เราก็ต้องรู้ด้วยว่า ในพระไตรปิฎกไม่มีเฉพาะดำรัสของพระพุทธเจ้าอย่างเดียว คำของพระสาวกก็มี เช่นคำของพระสารีบุตรที่ได้แสดงวิธีสังคายนาเป็นตัวอย่างไว้นั้น ก็เป็นพระสุตรอยู่ในพระไตรปิฎก ชื่อ สังคีติสูตร แต่ธรรมที่นำมาสังคายนาไว้ในสังคีติสูตรนั้น ก็คือ คำตรัสของพระพุทธเจ้าหรือธรรมที่พระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงไว้นั่นเอง นอกจากนั้น ก็มีคำสนทนากับผู้อื่น ซึ่งมีคำของผู้อื่นรวมอยู่ด้วยในนั้น

หลักคำสอนอะไรเก่าๆ ก่อนพุทธกาล ที่พระพระพุทธเจ้าทรงยอมรับ ทรงนำมาเล่าให้นับถือปฏิบัติกันต่อไป ก็มาอยู่ในพระไตรปิฎกด้วย อย่างเรื่องชาดก เฉพาะส่วนที่เป็นตัวคำสอนแท้ๆ

คัมภีร์ที่นิพนธ์แม้หลังพุทธกาลก็มีบ้าง อย่างในคราวสังคายนาครั้งที่ ๓ สมัยพระเจ้าอโศกมหาราช พระโมคคัลลีบุตรติสสเถระ ประธานสังคายนาเรียบเรียงคัมภีร์ขึ้นมาเล่มหนึ่ง (ชื่อว่า กถาวัตถุ) เพื่อชำระคำสั่งสอนที่ผิดพลาดของพระบางพวกในสมัยนั้น


แต่การวินิจฉัยนั้นก็เป็นเพียงว่า ท่านยกเอาคำสอนของพระพุทธเจ้าที่โน่นที่นี่ ในเรื่องเดียวกันนั้น มารวมกันไว้เป็นหลักฐานอ้างอิง เพื่อแสดงให้เห็นว่า เรื่องนั้นพระพุทธเจ้าตรัสว่าอย่างไร อย่างนี้ก็กลายเป็นคัมภีร์ใหม่ แต่แท้จริงก็เป็นการนำเอาพุทธพจน์ในเรื่องนั้นๆ มารวมไว้ในอีกลักษณะหนึ่ง โดยมีเรื่องราวหรือข้อพิจารณาอะไรอย่างหนึ่งเป็นแกน

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 ธ.ค. 2019, 05:47 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ถ้าว่ากันตามนั้น คนรุ่นเราก็จะเห็นว่า ผู้รักษาพุทธธรรมคำสอนขององค์สัมมาสัมพุทธเจ้า ท่องจำคำสอนกันจากรุ่นสู่รุ่นถึง 460 ปี แล้วหลังจากนั้น จึงจารคำสอนของพระพุทธเจ้าลงในใบลานด้วยภาษามคธ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 ธ.ค. 2019, 09:33 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7503

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ถ้าว่ากันตามนั้น คนรุ่นเราก็จะเห็นว่า ผู้รักษาพุทธธรรมคำสอนขององค์สัมมาสัมพุทธเจ้า ท่องจำคำสอนกันจากรุ่นสู่รุ่นถึง 460 ปี แล้วหลังจากนั้น จึงจารคำสอนของพระพุทธเจ้าลงในใบลานด้วยภาษามคธ

cool
คำสอนของพระพุทธเจ้า
เป็นความจริงที่กำลังมี
ที่กายใจของคนทุกคน
มีแล้วไม่ได้ทำบอกไม่ฟัง
ธัมมะแปลว่าสิ่งที่กำลังมีจริงๆเดี๋ยวนี้
https://youtu.be/jOp8ZgayiU0
:b12:
:b4: :b4:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ธ.ค. 2019, 10:28 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


@ ฉัฏฐสังคีติและภายหลังจากนั้น

เมื่อการติดต่อสื่อสารคมนาคมในโลกสะดวกมากขึ้นแล้ว ครั้นถึงช่วงระยะครบ ๒๕ ศตวรรษแห่งพระพุทธศาสนา และประเทศพุทธศาสนาต่างก็จัดงานสมโภชเป็นการใหญ่ในประเทศของตน ก็ได้มีการสังคายนาระหว่างชาติขึ้นเป็นครั้งแรกที่ประเทศพม่า เมื่อ พ.ศ.๒๔๙๗ - ๒๔๙๙ ที่พระสงฆ์และนักปราชญ์จากประเทศพุทธศาสนาเถรวาททุกประเทศ และประเทศที่มีการศึกษาพระพุทธศาสนา ได้มาประชุมทวนทานพระไตรปิฎกบาลีของพม่าที่เตรียมไว้ พร้อมทั้งพระไตรปิฎกฉบับอักษรต่างๆ ของนานาประเทศ เรียกว่า ฉัฏฐสังคีติ อันที่ยอมรับทั่วไปในประเทศพุทธศาสนาทั้งหลาย

อย่างไรก็ดี หลังจากฉัฏฐสังคีติเสร็จสิ้นแล้วไม่นาน ได้เกิดความเปลี่ยนแปลงและความผันผวนทางการเมืองในประเทศพม่า ซึ่งเข้าใจว่าคงจะเป็นเหตุให้การดูแลรักษาและจัดพิมพ์พระไตรปิฎกฉบับฉัฏฐสังคีติ ไม่ดำเนินมาอย่างราบรื่น จนเกิดมีความเข้าใจสับสนขึ้นระหว่างพระไตรปิฎกฉบับเดิมของพม่า ที่ใช้เป็นต้นร่างสำหรับพิจารณาในการสังคายนา กับฉบับที่เป็นผลงานของการสังคายนา


บัดนี้ กองทุนสนทนาธรรมนำสุขในพระสังฆราชูปถัมภ์ ได้ดำเนินการนำพระไตรปิฎกฉบับฉัฏฐสังคีติที่สอบทานโดยที่ประชุมสงฆ์เถรวาทนานาชาตินี้มาจัดพิมพ์ด้วยอักษรโรมันที่เป็นสากลแก่ผู้อ่านในนานาประเทศ


จากการดำเนินการด้วยความเพียรพยายามอย่างต่างใจจริง และโดยกระบวนวิธีที่รอบคอบรัดกุม จึงมีรายงานของคณะผู้ทำงานว่าได้พบพระไตรปิฎกฉบับฉัฏฐสังคีติที่พิมพ์ต่างวาระ และสามารถกำหนดแยกได้ระหว่างฉบับต้นร่าง กับฉบับที่พิมพ์จากผลงานอันได้ทวนทานแล้ว ตลอดจนรู้เข้าใจฉบับที่พิมพ์ครั้งต่อๆมาได้ตามเป็นจริง ทำให้ได้ต้นฉบับที่มั่นใจที่สุดกับทั้งยังได้สอบทานกับพระไตรปิฎกฉบับอักษรต่างๆ ของหลายประเทศซ้ำอีกครั้งหนึ่งด้วย เหมือนกับทำให้จุดหมายของฉัฏฐสังคีติบรรลุผลสมบูรณ์


นอกจากนี้ คณะผู้จัดทำงานได้นำเทคโนโลยีสารสนเทศของยุคปัจจุบันที่ล่าสุดมาใช้ประโยชน์ด้วย ทำให้จัดวางระบบการค้นคว้าอ้างอิงได้อย่างมีประสิทธิภาพ และได้ฐานข้อมูลที่พร้อมอย่างยิ่งสำหรับงานอย่างอื่น เกี่ยวกับการศึกษาค้นคว้าพระไตรปิฎกที่อาจจะจัดทำต่อไป เช่น การนำข้อมูลลงในซีดีรอม โดยมโปรแกรมค้นให้สะดวก เป็นต้น

ไม่ว่าจะอย่างไรก็ตาม แก่นแท้หรือสาระสุดท้ายของงานนี้ก็คือ การดำรงรักษาพระพุทธพจน์ที่สืบทอดมาถึงเราในรูปของพระไตรปิฎกภาษาบาลีไว้ให้บริสุทธิ์บริบูรณ์ที่สุด คงเดิมตามที่มีการรวบรวมพุทธพจน์ครั้งแรกในการสังคายนาครั้งที่ ๑ ให้ผู้อ่านเข้าถึงคำสอนเดิมของพระพุทธเจ้าโดยตรง โดยไม่มีมติของบุคคลอื่นใดมากีดกัน แม้แต่ความคิดเห็นของพระธรรมสังคาหกาจารย์ ซึ่งหากจะมีท่านก็ได้บอกแจ้งหมายแยกไว้ เป็นการเปิดโล่งต่อการใช้ปัญญาของผู้ศึกษาอย่างเต็มที่

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ธ.ค. 2019, 10:31 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ถ้าว่ากันตามนั้น คนรุ่นเราก็จะเห็นว่า ผู้รักษาพุทธธรรมคำสอนขององค์สัมมาสัมพุทธเจ้า ท่องจำคำสอนกันจากรุ่นสู่รุ่นถึง 460 ปี แล้วหลังจากนั้น จึงจารคำสอนของพระพุทธเจ้าลงในใบลานด้วยภาษามคธ

cool
คำสอนของพระพุทธเจ้า
เป็นความจริงที่กำลังมี
ที่กายใจของคนทุกคน
มีแล้วไม่ได้ทำบอกไม่ฟัง
ธัมมะแปลว่าสิ่งที่กำลังมีจริงๆเดี๋ยวนี้
https://youtu.be/jOp8ZgayiU0
:b12:
:b4: :b4:


อ้างคำพูด:
มีแล้วไม่ได้ทำ


ทั้งเจ้าสำนัก ท้้งคุณโรส พูดบ่อยตั้งแต่มีประเทศไทยมา :b32: มีแล้วไม่ต้องทำ มีแล้วไม่ได้ทำ

ถามความเห็นความเข้าใจเจ้าตัวเองดีกว่า ทำ คุณโรสเข้าใจคำนี้ยังไง ทำ ตอบตรงๆตามที่ตนเองเข้าใจ ยกตัวอย่างมาดูด้วย

ดูแล้วเป็นความทิฏฐิคือความเห็นส่วนตัวมากกว่า ไม่ใช่เข้าใจหลักธรรมอะไรหรอก

ธัมมะ แปลว่า สิ่งที่กำลังมีจริงๆเดี๋ยวนี้ :b13: เลอะเทอะทั้งเพ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ธ.ค. 2019, 15:55 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7503

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
Kiss
คำสอนของตถาคตตรงไปตรงมาเป็นคนซื่อตรงไหมที่อยากบวชโดยไม่ทำตามคำสอน
บอกว่าตถาคตห้ามบรรพชิตคือภิกษุในธรรมวินัยรับเงินทองและสิ่งที่ใช้แทนเงิน
คนบวชแล้ววิเศษเลยไหมทำตามคำสอนไม่ได้รู้ตัวเองดีกว่าคนอื่นก็ลาสิกขา
ถ้ายังเอาอุปนิสัยเดิมแบบชาวบ้านที่จับจ่ายใช้สอยเงินเอาไปใช้ตอนบวช
มันทำผิดเป็นปกติของบรรพชิตคือไม่กตัญญูต่อคุณพระรัตนตรัย
บวชเพราะรู้จักตนเองว่าทำตามสิกขาบทได้ตามปกติเป็นปกติ
onion onion onion


ตอบนะ ภิกษุนั่งรถโดยสารต้องจ่ายเงินไหม

1. จ่าย

2. ไม่ต้องจ่าย

ตอบข้อไหน 1 หรือ 2 เอ้า ตอบให้ตรงข้อที่ถามนะ

:b32:
งั้นตอบคำถามนี้ก่อน
ที่ไปไปทำธุระที่ไหนน่ะไปเพราะไม่รู้ใช่ไหมคะ
ก็บอกแล้วบอกอีกว่าความจริงตรงตามคำสอน
มีแล้วที่กายใจตนเองไม่ใช่มีอยู่ตรงสถานที่
ตถาคตให้บวชแล้วจำวัดมีกิจธุระแค่2อย่างคือ
1คันถะธุระ=ศึกษาคำสอนให้เข้าใจถูกตรงตามเป็นจริง
2วิปัสสนาธุระ=ทำปัญญาถูกตรงตามคำสอนให้ปรากฏ
ถามธุระ2อย่างนี้ทำที่วัดที่กายใจตนเองไม่ไปไหนก็มีแล้ว
ที่ไปแล้วใช้เงินค่ารถโดยสารนั้นไปเพราะอยากไปเองค่ะ

คำสอนทั้งพระไตรปิฎกมีที่กายของทุกๆคนไม่ใช่สถานที่
สถานที่ที่อยากไปนั้นไปเพราะติดข้องพอใจจะไปทำตามใจอยากทำไม่ฟังคำสอน
https://youtu.be/MxB0HliMSxo
:b12:
:b4: :b4:


คำถามสองข้อนั่นแหละคือคำตอบ คิกๆๆ

เขายังมีชีวิตอยู่ มีธุระไปนั่นมานี่เรื่องจำเป็น เช่น ผู้รับตำแหน่งก็มีหน้าที่ปกครอง ที่นั่นที่โน่นมีปัญหาก็ต้องไประงับอธิกรณ์ จะให้นอนอยู่ยังไง พระพุทธเจ้าเมื่อพระทะเลาะกันห้ามไม่ฟังท่านก็เข้าป่า ไม่อยู่กับช้างกับลิง

สรุปอีกที สำนักแม่สุจินสอนเลอะเทอะ คิกๆๆ สุดโต่ง

:b12:
พระพุทธเจ้าถือครองเงินไหมเดินบิณฑบาตไหม
ทรงบัญญัติสิกขาบทว่าบวชแล้วรับเงินต้องตกนรก
ใครใช้ให้อยากบวชโดยไม่ศึกษาคำสอนก่อนบวช
เหยียบย่ำทำลายคำสอนเป็นว่าเล่นเห็นแก่ตัวกันไง
:b32:
อาบัติแปลว่าขาดจากการเป็นภิกษุแล้วแค่ชาวบ้านห่มจีวรรอสึก
ถ้าไม่ปลงอาบัติตายลงไปอบายภูมิทันทีแค่พายเรือทำไม้น้ำขาด
ตายก่อนไม่ได้ปลงอาบัติไปเกิดเป็นพญานาคคืองูถึง1พุทธัญดร
1วันนรกขุมหนักขุมที่1อายุยืนนานเท่ากับ9ล้านปีมนุษย์ตกนรกน๊า
เป็นชาวบ้านอยู่ดีๆมีงานมีการทำหยิบใช้จ่ายเงินทองได้ไม่มีอาบัติ
อยู่ดีๆก็อยากบวชแล้วก็ทิ้งนิสัยเดิมแบบชาวบ้านไม่ได้รกวัดรกศาสนา
:b12:
:b32: :b32:


แก้ไขล่าสุดโดย Rosarin เมื่อ 17 ธ.ค. 2019, 16:09, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ธ.ค. 2019, 16:01 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7503

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
@ พระไตรปิฎกที่มีการท่องจำมีความแม่นยำเพียงไร


หลายคนอาจสงสัยว่า เมื่อรักษาพระไตรปิฎกด้วยการทรงจำในตอนเริ่มแรก ก็น่ากลัวว่าจะมีการคลาดเคลื่อนเลอะเลือนหลงลืมไป


แต่เมื่อได้พิจารณาไตร่ตรอง ก็กลับเห็นได้ชัดว่า การรักษาด้วยการท่อง โดยสวดเป็นหมู่คณะแล้วทรงจำไว้นั่นแหละ เป็นวิธีที่แม่นยำยิ่งกว่ายุคที่จารึกเป็นลายลักษณ์อักษรเสียอีก

ที่ว่าอย่างนั้นเพราะอะไร ? เพราะว่าการท่องที่จะทรงจำพระไตรปิฎก หรือ คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ที่เรียกว่าธรรมวินัยนั้น ท่านทำด้วยวิธีสวดพร้อมกัน คือ คล้ายที่เราสวดมนต์กันทุกวันนี้แหละ เวลาสวดมนต์พร้อมกัน เช่น สวดกัน ๑๐ คน ๒๐ คน ๕๐ คน ๑๐๐ คน นั้น จะต้องสวดตรงกันหมดทุกถ้อยคำ จะตกหล่นตัดขาดหายไปก็ไม่ได้ จะเพิ่มแม้คำเดียวก็ไม่ได้ เพราะจะขัดกัน ดีไม่ดีก็สวดล้มไปเลย


เพราะฉะนั้น การที่จะสวดโดยคนจำนวนมากๆ ให้เป็นไปด้วยดี ให้สอดคล้องกลมกลืนกัน ก็จะต้องสวดเหมือนกันหมด ท่านจึงรักษาคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าไว้ด้วยวิธีนี้ คือทรงจำพระไตรปิฎกด้วยวิธีสวดพร้อมกันจำนวนมากๆ โดยพระสงฆ์ซึ่งเห็นความสำคัญของพระไตรปิฎก เพราะรู้อยู่ว่า นี่แหละคือพระพุทธศาสนา ถ้าหมดพระไตรปิฎกเมื่อไร พระพุทธศาสนาก็หมดไปเมื่อนั้น ถ้าพระไตรปิฎกเคลื่อนคลาดไป พระพุทธศาสนาก็เคลื่อนคลาดไปด้วย

พระเถระรุ่นก่อนนั้น ถือความสำคัญของพระไตรปิฎกเป็นอย่างยิ่ง แม่แต่ในยุคที่จารึกเป็นลายลักษณ์อักษรแล้วก็ต้องถึงกับพูดกันว่า


"อักษรตัวหนึ่งๆ อันเป็นพระปริยัติศาสน์ของพระศาสนา มีค่าเท่ากับพระพุทธรูปองค์หนึ่ง" ญาโณทยปกรณ์


เพราะฉะนั้น ถ้ามองในแง่บวก ก็คือจะต้องช่วยกันรักษาไว้ให้ดี แม้จารึกหรือสนับสนุนการจารึกเพียงนิดหน่อยก็เป็นบุญเป็นกุศลมาก


แต่มองในแง่ลบก็คือ ถ้าใครไปทำให้ผิดพลาด แม้แต่อักษรเดียว ก็เหมือนทำลายพระพุทธรูปองค์หนึ่ง เป็นบาปมาก เพราะฉะนั้น พระเถระรุ่นก่อน ท่านจึงระวังมากในการรักษาทรงจำพระไตรปิฎกไม่ให้ผิดเพี้ยน

ความมั่นใจในความบริสุทธิ์บริบูรณ์นี้ได้รับการย้ำสำทับ เมื่อปรากฏว่าพุทธพจน์เรื่องเดียวกัน ที่อยู่ในที่ต่างหมวดต่างตอน ซ้ำกัน ๔ - ๕ แห่งในความรับผิดชอบของคณะผู้ชำนาญต่างกลุ่ม โดยทั่วไปยังคงมีถ้อยคำข้อความเหมือนกัน เป็นอย่างเดียวกัน ยืนยันกันเอง แสดงถึงความแม่นยำในการทรงจำและทวนทาน อีกทั้งพระภิกษุแม้เพียงแต่ละรูปก็สามารถทรงจำพุทธพจน์ไว้ได้มากมาย ดังมีตัวอย่างชัดเจนในปัจจุบัน ที่ประเทศพม่า มีภิกษุหลายรูปที่ได้รับสถาปนาเป็นติปิฎกธร ซึ่งแต่ละรูปสามารถทรงจำสาธยายพระไตรปิฎกบาลีได้ครบถ้วนบริบูรณ์ นับตามจำนวนหน้าพิมพ์แบบปัจจุบันฉบับภาษาไทยกว่า ๒๒,๐๐๐ หน้า

:b12:
แล้วทำไมท่องจำประโยคนี้กันไม่ได้
บวชรับเงินทองต้องตกนรก
เข้าใจคำสอนในภาษา
ชาติตนเองจำได้ไหม
บวชรับเงินตกนรก
ปัญญาอ่อนไหม
ง่ายๆทำไม่ได้
ตกนรกแน่ๆ
:b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ธ.ค. 2019, 16:03 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7503

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
@ พระไตรปิฎกที่มีการท่องจำมีความแม่นยำเพียงไร


หลายคนอาจสงสัยว่า เมื่อรักษาพระไตรปิฎกด้วยการทรงจำในตอนเริ่มแรก ก็น่ากลัวว่าจะมีการคลาดเคลื่อนเลอะเลือนหลงลืมไป


แต่เมื่อได้พิจารณาไตร่ตรอง ก็กลับเห็นได้ชัดว่า การรักษาด้วยการท่อง โดยสวดเป็นหมู่คณะแล้วทรงจำไว้นั่นแหละ เป็นวิธีที่แม่นยำยิ่งกว่ายุคที่จารึกเป็นลายลักษณ์อักษรเสียอีก

ที่ว่าอย่างนั้นเพราะอะไร ? เพราะว่าการท่องที่จะทรงจำพระไตรปิฎก หรือ คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ที่เรียกว่าธรรมวินัยนั้น ท่านทำด้วยวิธีสวดพร้อมกัน คือ คล้ายที่เราสวดมนต์กันทุกวันนี้แหละ เวลาสวดมนต์พร้อมกัน เช่น สวดกัน ๑๐ คน ๒๐ คน ๕๐ คน ๑๐๐ คน นั้น จะต้องสวดตรงกันหมดทุกถ้อยคำ จะตกหล่นตัดขาดหายไปก็ไม่ได้ จะเพิ่มแม้คำเดียวก็ไม่ได้ เพราะจะขัดกัน ดีไม่ดีก็สวดล้มไปเลย


เพราะฉะนั้น การที่จะสวดโดยคนจำนวนมากๆ ให้เป็นไปด้วยดี ให้สอดคล้องกลมกลืนกัน ก็จะต้องสวดเหมือนกันหมด ท่านจึงรักษาคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าไว้ด้วยวิธีนี้ คือทรงจำพระไตรปิฎกด้วยวิธีสวดพร้อมกันจำนวนมากๆ โดยพระสงฆ์ซึ่งเห็นความสำคัญของพระไตรปิฎก เพราะรู้อยู่ว่า นี่แหละคือพระพุทธศาสนา ถ้าหมดพระไตรปิฎกเมื่อไร พระพุทธศาสนาก็หมดไปเมื่อนั้น ถ้าพระไตรปิฎกเคลื่อนคลาดไป พระพุทธศาสนาก็เคลื่อนคลาดไปด้วย

พระเถระรุ่นก่อนนั้น ถือความสำคัญของพระไตรปิฎกเป็นอย่างยิ่ง แม่แต่ในยุคที่จารึกเป็นลายลักษณ์อักษรแล้วก็ต้องถึงกับพูดกันว่า


"อักษรตัวหนึ่งๆ อันเป็นพระปริยัติศาสน์ของพระศาสนา มีค่าเท่ากับพระพุทธรูปองค์หนึ่ง" ญาโณทยปกรณ์


เพราะฉะนั้น ถ้ามองในแง่บวก ก็คือจะต้องช่วยกันรักษาไว้ให้ดี แม้จารึกหรือสนับสนุนการจารึกเพียงนิดหน่อยก็เป็นบุญเป็นกุศลมาก


แต่มองในแง่ลบก็คือ ถ้าใครไปทำให้ผิดพลาด แม้แต่อักษรเดียว ก็เหมือนทำลายพระพุทธรูปองค์หนึ่ง เป็นบาปมาก เพราะฉะนั้น พระเถระรุ่นก่อน ท่านจึงระวังมากในการรักษาทรงจำพระไตรปิฎกไม่ให้ผิดเพี้ยน

ความมั่นใจในความบริสุทธิ์บริบูรณ์นี้ได้รับการย้ำสำทับ เมื่อปรากฏว่าพุทธพจน์เรื่องเดียวกัน ที่อยู่ในที่ต่างหมวดต่างตอน ซ้ำกัน ๔ - ๕ แห่งในความรับผิดชอบของคณะผู้ชำนาญต่างกลุ่ม โดยทั่วไปยังคงมีถ้อยคำข้อความเหมือนกัน เป็นอย่างเดียวกัน ยืนยันกันเอง แสดงถึงความแม่นยำในการทรงจำและทวนทาน อีกทั้งพระภิกษุแม้เพียงแต่ละรูปก็สามารถทรงจำพุทธพจน์ไว้ได้มากมาย ดังมีตัวอย่างชัดเจนในปัจจุบัน ที่ประเทศพม่า มีภิกษุหลายรูปที่ได้รับสถาปนาเป็นติปิฎกธร ซึ่งแต่ละรูปสามารถทรงจำสาธยายพระไตรปิฎกบาลีได้ครบถ้วนบริบูรณ์ นับตามจำนวนหน้าพิมพ์แบบปัจจุบันฉบับภาษาไทยกว่า ๒๒,๐๐๐ หน้า

:b12:
แล้วทำไมท่องจำประโยคนี้กันไม่ได้
บวชรับเงินทองต้องตกนรก
เข้าใจคำสอนในภาษา
ชาติตนเองจำได้ไหม
บวชรับเงินตกนรก
ปัญญาอ่อนไหม
ง่ายๆทำไม่ได้
ตกนรกแน่ๆ
:b32: :b32:

คนถวายเงินทองอ่านออกไหมภาษาไทยง่ายๆหรือปัญญาอ่อนกันหมดรู้ใช่ไหมส่งคนรับไปนรก
:b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ธ.ค. 2019, 16:07 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
@ พระไตรปิฎกที่มีการท่องจำมีความแม่นยำเพียงไร


หลายคนอาจสงสัยว่า เมื่อรักษาพระไตรปิฎกด้วยการทรงจำในตอนเริ่มแรก ก็น่ากลัวว่าจะมีการคลาดเคลื่อนเลอะเลือนหลงลืมไป


แต่เมื่อได้พิจารณาไตร่ตรอง ก็กลับเห็นได้ชัดว่า การรักษาด้วยการท่อง โดยสวดเป็นหมู่คณะแล้วทรงจำไว้นั่นแหละ เป็นวิธีที่แม่นยำยิ่งกว่ายุคที่จารึกเป็นลายลักษณ์อักษรเสียอีก

ที่ว่าอย่างนั้นเพราะอะไร ? เพราะว่าการท่องที่จะทรงจำพระไตรปิฎก หรือ คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ที่เรียกว่าธรรมวินัยนั้น ท่านทำด้วยวิธีสวดพร้อมกัน คือ คล้ายที่เราสวดมนต์กันทุกวันนี้แหละ เวลาสวดมนต์พร้อมกัน เช่น สวดกัน ๑๐ คน ๒๐ คน ๕๐ คน ๑๐๐ คน นั้น จะต้องสวดตรงกันหมดทุกถ้อยคำ จะตกหล่นตัดขาดหายไปก็ไม่ได้ จะเพิ่มแม้คำเดียวก็ไม่ได้ เพราะจะขัดกัน ดีไม่ดีก็สวดล้มไปเลย


เพราะฉะนั้น การที่จะสวดโดยคนจำนวนมากๆ ให้เป็นไปด้วยดี ให้สอดคล้องกลมกลืนกัน ก็จะต้องสวดเหมือนกันหมด ท่านจึงรักษาคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าไว้ด้วยวิธีนี้ คือทรงจำพระไตรปิฎกด้วยวิธีสวดพร้อมกันจำนวนมากๆ โดยพระสงฆ์ซึ่งเห็นความสำคัญของพระไตรปิฎก เพราะรู้อยู่ว่า นี่แหละคือพระพุทธศาสนา ถ้าหมดพระไตรปิฎกเมื่อไร พระพุทธศาสนาก็หมดไปเมื่อนั้น ถ้าพระไตรปิฎกเคลื่อนคลาดไป พระพุทธศาสนาก็เคลื่อนคลาดไปด้วย

พระเถระรุ่นก่อนนั้น ถือความสำคัญของพระไตรปิฎกเป็นอย่างยิ่ง แม่แต่ในยุคที่จารึกเป็นลายลักษณ์อักษรแล้วก็ต้องถึงกับพูดกันว่า


"อักษรตัวหนึ่งๆ อันเป็นพระปริยัติศาสน์ของพระศาสนา มีค่าเท่ากับพระพุทธรูปองค์หนึ่ง" ญาโณทยปกรณ์


เพราะฉะนั้น ถ้ามองในแง่บวก ก็คือจะต้องช่วยกันรักษาไว้ให้ดี แม้จารึกหรือสนับสนุนการจารึกเพียงนิดหน่อยก็เป็นบุญเป็นกุศลมาก


แต่มองในแง่ลบก็คือ ถ้าใครไปทำให้ผิดพลาด แม้แต่อักษรเดียว ก็เหมือนทำลายพระพุทธรูปองค์หนึ่ง เป็นบาปมาก เพราะฉะนั้น พระเถระรุ่นก่อน ท่านจึงระวังมากในการรักษาทรงจำพระไตรปิฎกไม่ให้ผิดเพี้ยน

ความมั่นใจในความบริสุทธิ์บริบูรณ์นี้ได้รับการย้ำสำทับ เมื่อปรากฏว่าพุทธพจน์เรื่องเดียวกัน ที่อยู่ในที่ต่างหมวดต่างตอน ซ้ำกัน ๔ - ๕ แห่งในความรับผิดชอบของคณะผู้ชำนาญต่างกลุ่ม โดยทั่วไปยังคงมีถ้อยคำข้อความเหมือนกัน เป็นอย่างเดียวกัน ยืนยันกันเอง แสดงถึงความแม่นยำในการทรงจำและทวนทาน อีกทั้งพระภิกษุแม้เพียงแต่ละรูปก็สามารถทรงจำพุทธพจน์ไว้ได้มากมาย ดังมีตัวอย่างชัดเจนในปัจจุบัน ที่ประเทศพม่า มีภิกษุหลายรูปที่ได้รับสถาปนาเป็นติปิฎกธร ซึ่งแต่ละรูปสามารถทรงจำสาธยายพระไตรปิฎกบาลีได้ครบถ้วนบริบูรณ์ นับตามจำนวนหน้าพิมพ์แบบปัจจุบันฉบับภาษาไทยกว่า ๒๒,๐๐๐ หน้า

:b12:
แล้วทำไมท่องจำประโยคนี้กันไม่ได้
บวชรับเงินทองต้องตกนรก
เข้าใจคำสอนในภาษา
ชาติตนเองจำได้ไหม
บวชรับเงินตกนรก
ปัญญาอ่อนไหม
ง่ายๆทำไม่ได้
ตกนรกแน่ๆ
:b32: :b32:



ไหนเอาหลักตรงที่ว่ามาดูหน่อยสิ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ธ.ค. 2019, 16:15 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7503

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
@ พระไตรปิฎกที่มีการท่องจำมีความแม่นยำเพียงไร


หลายคนอาจสงสัยว่า เมื่อรักษาพระไตรปิฎกด้วยการทรงจำในตอนเริ่มแรก ก็น่ากลัวว่าจะมีการคลาดเคลื่อนเลอะเลือนหลงลืมไป


แต่เมื่อได้พิจารณาไตร่ตรอง ก็กลับเห็นได้ชัดว่า การรักษาด้วยการท่อง โดยสวดเป็นหมู่คณะแล้วทรงจำไว้นั่นแหละ เป็นวิธีที่แม่นยำยิ่งกว่ายุคที่จารึกเป็นลายลักษณ์อักษรเสียอีก

ที่ว่าอย่างนั้นเพราะอะไร ? เพราะว่าการท่องที่จะทรงจำพระไตรปิฎก หรือ คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ที่เรียกว่าธรรมวินัยนั้น ท่านทำด้วยวิธีสวดพร้อมกัน คือ คล้ายที่เราสวดมนต์กันทุกวันนี้แหละ เวลาสวดมนต์พร้อมกัน เช่น สวดกัน ๑๐ คน ๒๐ คน ๕๐ คน ๑๐๐ คน นั้น จะต้องสวดตรงกันหมดทุกถ้อยคำ จะตกหล่นตัดขาดหายไปก็ไม่ได้ จะเพิ่มแม้คำเดียวก็ไม่ได้ เพราะจะขัดกัน ดีไม่ดีก็สวดล้มไปเลย


เพราะฉะนั้น การที่จะสวดโดยคนจำนวนมากๆ ให้เป็นไปด้วยดี ให้สอดคล้องกลมกลืนกัน ก็จะต้องสวดเหมือนกันหมด ท่านจึงรักษาคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าไว้ด้วยวิธีนี้ คือทรงจำพระไตรปิฎกด้วยวิธีสวดพร้อมกันจำนวนมากๆ โดยพระสงฆ์ซึ่งเห็นความสำคัญของพระไตรปิฎก เพราะรู้อยู่ว่า นี่แหละคือพระพุทธศาสนา ถ้าหมดพระไตรปิฎกเมื่อไร พระพุทธศาสนาก็หมดไปเมื่อนั้น ถ้าพระไตรปิฎกเคลื่อนคลาดไป พระพุทธศาสนาก็เคลื่อนคลาดไปด้วย

พระเถระรุ่นก่อนนั้น ถือความสำคัญของพระไตรปิฎกเป็นอย่างยิ่ง แม่แต่ในยุคที่จารึกเป็นลายลักษณ์อักษรแล้วก็ต้องถึงกับพูดกันว่า


"อักษรตัวหนึ่งๆ อันเป็นพระปริยัติศาสน์ของพระศาสนา มีค่าเท่ากับพระพุทธรูปองค์หนึ่ง" ญาโณทยปกรณ์


เพราะฉะนั้น ถ้ามองในแง่บวก ก็คือจะต้องช่วยกันรักษาไว้ให้ดี แม้จารึกหรือสนับสนุนการจารึกเพียงนิดหน่อยก็เป็นบุญเป็นกุศลมาก


แต่มองในแง่ลบก็คือ ถ้าใครไปทำให้ผิดพลาด แม้แต่อักษรเดียว ก็เหมือนทำลายพระพุทธรูปองค์หนึ่ง เป็นบาปมาก เพราะฉะนั้น พระเถระรุ่นก่อน ท่านจึงระวังมากในการรักษาทรงจำพระไตรปิฎกไม่ให้ผิดเพี้ยน

ความมั่นใจในความบริสุทธิ์บริบูรณ์นี้ได้รับการย้ำสำทับ เมื่อปรากฏว่าพุทธพจน์เรื่องเดียวกัน ที่อยู่ในที่ต่างหมวดต่างตอน ซ้ำกัน ๔ - ๕ แห่งในความรับผิดชอบของคณะผู้ชำนาญต่างกลุ่ม โดยทั่วไปยังคงมีถ้อยคำข้อความเหมือนกัน เป็นอย่างเดียวกัน ยืนยันกันเอง แสดงถึงความแม่นยำในการทรงจำและทวนทาน อีกทั้งพระภิกษุแม้เพียงแต่ละรูปก็สามารถทรงจำพุทธพจน์ไว้ได้มากมาย ดังมีตัวอย่างชัดเจนในปัจจุบัน ที่ประเทศพม่า มีภิกษุหลายรูปที่ได้รับสถาปนาเป็นติปิฎกธร ซึ่งแต่ละรูปสามารถทรงจำสาธยายพระไตรปิฎกบาลีได้ครบถ้วนบริบูรณ์ นับตามจำนวนหน้าพิมพ์แบบปัจจุบันฉบับภาษาไทยกว่า ๒๒,๐๐๐ หน้า

:b12:
แล้วทำไมท่องจำประโยคนี้กันไม่ได้
บวชรับเงินทองต้องตกนรก
เข้าใจคำสอนในภาษา
ชาติตนเองจำได้ไหม
บวชรับเงินตกนรก
ปัญญาอ่อนไหม
ง่ายๆทำไม่ได้
ตกนรกแน่ๆ
:b32: :b32:



ไหนเอาหลักตรงที่ว่ามาดูหน่อยสิ

ใครสร้างวัดให้พระพุทธเจ้า
พระพุทธเจ้าไปอยู่ในวังไหม
เอาสมบัติจักรพรรดิมาแจกไหม
แค่นี้ก็คิดไม่เป็นโรสไม่ได้มาเป่าปี่นะ
มายืนยันบัญญัติตามคำสอนของพระพุทธเจ้า
คนถวายอ่านให้เข้าใจจะได้ตาสว่างเห็นกิเลสมหาโจรปล้นศาสนาไหมคะ
เขาเผยแพร่รายการบ้านธัมมะมา70ปีตามที่อ.สุจินต์บรรยายธรรมตั้งแต่อายุ20ปีเกิดกันรึยังล่ะ
สิกขาบทข้อที่8โกสิยวรรคอยากรู้ก็ค้นในเว็บตามลิ้งค์ข้างล่างนี้นะคะ
http://www.dhammahome.com
:b12:
:b4: :b4:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ธ.ค. 2019, 16:30 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
@ พระไตรปิฎกที่มีการท่องจำมีความแม่นยำเพียงไร


หลายคนอาจสงสัยว่า เมื่อรักษาพระไตรปิฎกด้วยการทรงจำในตอนเริ่มแรก ก็น่ากลัวว่าจะมีการคลาดเคลื่อนเลอะเลือนหลงลืมไป


แต่เมื่อได้พิจารณาไตร่ตรอง ก็กลับเห็นได้ชัดว่า การรักษาด้วยการท่อง โดยสวดเป็นหมู่คณะแล้วทรงจำไว้นั่นแหละ เป็นวิธีที่แม่นยำยิ่งกว่ายุคที่จารึกเป็นลายลักษณ์อักษรเสียอีก

ที่ว่าอย่างนั้นเพราะอะไร ? เพราะว่าการท่องที่จะทรงจำพระไตรปิฎก หรือ คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ที่เรียกว่าธรรมวินัยนั้น ท่านทำด้วยวิธีสวดพร้อมกัน คือ คล้ายที่เราสวดมนต์กันทุกวันนี้แหละ เวลาสวดมนต์พร้อมกัน เช่น สวดกัน ๑๐ คน ๒๐ คน ๕๐ คน ๑๐๐ คน นั้น จะต้องสวดตรงกันหมดทุกถ้อยคำ จะตกหล่นตัดขาดหายไปก็ไม่ได้ จะเพิ่มแม้คำเดียวก็ไม่ได้ เพราะจะขัดกัน ดีไม่ดีก็สวดล้มไปเลย


เพราะฉะนั้น การที่จะสวดโดยคนจำนวนมากๆ ให้เป็นไปด้วยดี ให้สอดคล้องกลมกลืนกัน ก็จะต้องสวดเหมือนกันหมด ท่านจึงรักษาคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าไว้ด้วยวิธีนี้ คือทรงจำพระไตรปิฎกด้วยวิธีสวดพร้อมกันจำนวนมากๆ โดยพระสงฆ์ซึ่งเห็นความสำคัญของพระไตรปิฎก เพราะรู้อยู่ว่า นี่แหละคือพระพุทธศาสนา ถ้าหมดพระไตรปิฎกเมื่อไร พระพุทธศาสนาก็หมดไปเมื่อนั้น ถ้าพระไตรปิฎกเคลื่อนคลาดไป พระพุทธศาสนาก็เคลื่อนคลาดไปด้วย

พระเถระรุ่นก่อนนั้น ถือความสำคัญของพระไตรปิฎกเป็นอย่างยิ่ง แม่แต่ในยุคที่จารึกเป็นลายลักษณ์อักษรแล้วก็ต้องถึงกับพูดกันว่า


"อักษรตัวหนึ่งๆ อันเป็นพระปริยัติศาสน์ของพระศาสนา มีค่าเท่ากับพระพุทธรูปองค์หนึ่ง" ญาโณทยปกรณ์


เพราะฉะนั้น ถ้ามองในแง่บวก ก็คือจะต้องช่วยกันรักษาไว้ให้ดี แม้จารึกหรือสนับสนุนการจารึกเพียงนิดหน่อยก็เป็นบุญเป็นกุศลมาก


แต่มองในแง่ลบก็คือ ถ้าใครไปทำให้ผิดพลาด แม้แต่อักษรเดียว ก็เหมือนทำลายพระพุทธรูปองค์หนึ่ง เป็นบาปมาก เพราะฉะนั้น พระเถระรุ่นก่อน ท่านจึงระวังมากในการรักษาทรงจำพระไตรปิฎกไม่ให้ผิดเพี้ยน

ความมั่นใจในความบริสุทธิ์บริบูรณ์นี้ได้รับการย้ำสำทับ เมื่อปรากฏว่าพุทธพจน์เรื่องเดียวกัน ที่อยู่ในที่ต่างหมวดต่างตอน ซ้ำกัน ๔ - ๕ แห่งในความรับผิดชอบของคณะผู้ชำนาญต่างกลุ่ม โดยทั่วไปยังคงมีถ้อยคำข้อความเหมือนกัน เป็นอย่างเดียวกัน ยืนยันกันเอง แสดงถึงความแม่นยำในการทรงจำและทวนทาน อีกทั้งพระภิกษุแม้เพียงแต่ละรูปก็สามารถทรงจำพุทธพจน์ไว้ได้มากมาย ดังมีตัวอย่างชัดเจนในปัจจุบัน ที่ประเทศพม่า มีภิกษุหลายรูปที่ได้รับสถาปนาเป็นติปิฎกธร ซึ่งแต่ละรูปสามารถทรงจำสาธยายพระไตรปิฎกบาลีได้ครบถ้วนบริบูรณ์ นับตามจำนวนหน้าพิมพ์แบบปัจจุบันฉบับภาษาไทยกว่า ๒๒,๐๐๐ หน้า

:b12:
แล้วทำไมท่องจำประโยคนี้กันไม่ได้
บวชรับเงินทองต้องตกนรก
เข้าใจคำสอนในภาษา
ชาติตนเองจำได้ไหม
บวชรับเงินตกนรก
ปัญญาอ่อนไหม
ง่ายๆทำไม่ได้
ตกนรกแน่ๆ
:b32: :b32:



ไหนเอาหลักตรงที่ว่ามาดูหน่อยสิ

ใครสร้างวัดให้พระพุทธเจ้า
พระพุทธเจ้าไปอยู่ในวังไหม
เอาสมบัติจักรพรรดิมาแจกไหม
แค่นี้ก็คิดไม่เป็นโรสไม่ได้มาเป่าปี่นะ
มายืนยันบัญญัติตามคำสอนของพระพุทธเจ้า
คนถวายอ่านให้เข้าใจจะได้ตาสว่างเห็นกิเลสมหาโจรปล้นศาสนาไหมคะ
เขาเผยแพร่รายการบ้านธัมมะมา70ปีตามที่อ.สุจินต์บรรยายธรรมตั้งแต่อายุ20ปีเกิดกันรึยังล่ะ
สิกขาบทข้อที่8โกสิยวรรคอยากรู้ก็ค้นในเว็บตามลิ้งค์ข้างล่างนี้นะคะ
http://www.dhammahome.com
:b12:
:b4: :b4:


เหมือนบอกไปครั้งสองครั้งแล้วนะ ว่า วินัยคนอ่านจะต้องดูให้ถึงต้นบัญญัติ ดูว่าที่พระพุทธเจ้าบัญญัติจากเหตุอันใด วินัยท่านบัญญัติไปตามยุคสมัยในการดำรงชีวิตของยุคนั้นสมัยนั้น เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไปก็อนุโลมไปตามยุคสมัย เรื่องนี้พระพุทธเจ้าก็รู้ว่าสังคมมีเสื่อมมีเจริญ ท่านก็สั่งว่า เมื่อกาลล่วงไปวินัยใดที่ขัดต่อการดำรงชีวิตข้อเล็กๆน้อยๆก็ถอดถอนวินัยข้อนั้นได้. และนี่เขาปรารภกันมาก่อนที่จะจารลงในใบลาน แต่บุรพาจารย์ตกลงกันไม่ได้ว่า วินัยเล็กน้อยนั้นหมายถึงแค่ไหนเพียงใด ตกลงกันไม่ได้ เมื่อตกลงกันไม่ได้ ก็จึงคงไว้ตามเดิม

มาดูสมัยปัจจุบัน ขึ้นรถก็เสี่ยเงิน ออกจากวัดไปประชุมเขาก็เสียเงินเติมน้ำมันรถ คิกๆๆ แต่คุณโรสก็ว่า ไม่ต้องไปไหน ให้อยู่วัด มืดก็ใช้เทียนไขจุดเอา เรียกว่าทำตามหนังสือนั่น ให้ถอยหลังกลับไปครั้งเมื่อความเป็นอยู่่เมื่อสองสามพันปีที่แล้ว :b32: นี่สำนักแม่สุจินคิดอย่างนี้

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 108 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6 ... 8  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: Google [Bot] และ บุคคลทั่วไป 46 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร