วันเวลาปัจจุบัน 28 มี.ค. 2024, 22:04  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


รวมกระทู้จากบอร์ดเก่า http://www.dhammajak.net/board/viewforum.php?f=2



กลับไปยังกระทู้  [ 315 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 17, 18, 19, 20, 21  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 พ.ค. 2010, 09:07 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 10
สมาชิก ระดับ 10
ลงทะเบียนเมื่อ: 08 เม.ย. 2010, 08:14
โพสต์: 829

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
noohmairu เขียน:

อิอิ จานป้าสำรอกจนเพลียแระ :b9:

อนุโมทนาสาธุจ้า



มอบเพลงนี้ให้หนู๋ระเริง... :b32:

http://www.free-webboard.com/travel.php ... ha&qid=130


เหอๆๆ

แสดงองค์ฌาน ของเดียรถีย์ ผู้มีธรรมอันเลว

นัจคีตะวาทิตะ

ฌาน ของเดียรถีย์ ผู้มีธรรมอันเลว มีหื่น มีกลัดกามเป็นอารณ์ฌาน

อ๊ะจ๊าก


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 พ.ค. 2010, 09:10 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว




6wmpl.gif
6wmpl.gif [ 23.53 KiB | เปิดดู 5247 ครั้ง ]
enlighted เขียน:
กรัชกาย เขียน:
noohmairu เขียน:

อิอิ จานป้าสำรอกจนเพลียแระ :b9:

อนุโมทนาสาธุจ้า



มอบเพลงนี้ให้หนู๋ระเริง... :b32:

http://www.free-webboard.com/travel.php ... ha&qid=130


เหอๆๆ

แสดงองค์ฌาน ของเดียรถีย์ ผู้มีธรรมอันเลว

นัจคีตะวาทิตะ

ฌาน ของเดียรถีย์ ผู้มีธรรมอันเลว มีหื่น มีกลัดกามเป็นอารณ์ฌาน

อ๊ะจ๊าก


อิอิ องค์ชานของป๊อดไลท์ไฟรั่ว กับองค์ชานนู่ระเริง...

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 พ.ค. 2010, 09:37 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
นัจคีตะวาทิตะ


อะไรขอรับนั่น หมายถึงอะไร แปลว่าอะไร :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 พ.ค. 2010, 09:41 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 10 พ.ย. 2009, 10:41
โพสต์: 4463

อายุ: 0
ที่อยู่: วัฏสงสาร

 ข้อมูลส่วนตัว


คุณกรัชมอบเพลงให้เดียรถีย์หนูไม่รู้แต่กระเทยเอนไลท์ ร้อนตัวแทน ตัวเองอีกโปร อืมมมม :b6: ตงฟางปุ๊ป้ายแท้ๆ :b32:


แก้ไขล่าสุดโดย หลับอยุ่ เมื่อ 01 พ.ค. 2010, 09:42, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 พ.ค. 2010, 10:31 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 1
สมาชิก ระดับ 1
ลงทะเบียนเมื่อ: 21 ก.พ. 2010, 17:04
โพสต์: 47

แนวปฏิบัติ: สวดมนต์
งานอดิเรก: อ่านหนังสือ
อายุ: 20

 ข้อมูลส่วนตัว


อกุศลกรรม แปลว่า กรรมที่เป็นอกุศล กรรมไม่ดี การกระทำของคนไม่ฉลาด

อกุศลกรรม หมายถึงบาป กรรมชั่ว ความชั่วร้าย ความเสียหาย ความไม่ถูกต้อง ซึ่งให้ผลเป็นความทุกข์ เป็นสิ่งที่ควรเว้น การกระทำบาป กระทำความชั่ว เรียกว่าทำอกุศลกรรม เรียกย่อว่า ทำอกุศล หรือเรียกว่า ทำบาปอกุศล

อกุศลกรรม เกิดมาจากอกุศลมูลอย่างใดอย่างหนึ่งใน 3 อย่างคือ โลภะ โทสะ โมหะ เพราะเมื่อเกิดอย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้นแล้วก็เป็นเหตุชักนำใจให้คิดทำอกุศลกรรม

อา....ในนี้มีคนเป็นมั้งไหมเนี้ย...^^~


ใจร่มๆกันเถอะค่ะ^^~

อนิฏฐารมณ์ (อ่านว่า อะ-นิด-ถา-รม) แปลว่า อารมณ์ที่ไม่น่าปรารถนา ตรงข้ามกับ อิฏฐารมณ์ อารมณ์ที่น่าปรารถนา หมายถึงสิ่งที่คนไม่ปรารถนา ไม่ต้องการอยากได้ ไม่อยากมี ไม่อยากพบเห็น ได้แก่ กามคุณ ๕ คือรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสที่ไม่ดี ไม่ชวนให้รักให้ชอบใจ และโลกธรรมในส่วนที่ไม่ดี ๔ คือ เสื่อมลาภ เสื่อมยศ นินทา ทุกข์

อนิฏฐารมณ์เป็นสิ่งที่เกิดได้แก่ทุกคน แม้ไม่ต้องการ แต่มีความจริงว่าอนิฏฐารมณ์ เป็นสิ่งไม่เที่ยง ทนอยู่ในสภาพนั้นๆ ไม่ได้นาน มีความแปรปรวนเปลี่ยนแปลงไปเป็นธรรมดา เกิดมีได้ก็กลับกลายเป็นอื่นไปได้เช่นเดียวกับสิ่งที่เป็นอิฏฐารมณ์

คงไม่มีใครอยากมีใช่ไหมค่ะ...


ตถตา เป็นคำสรุปรวมของเรื่องปฏิจจสมุปบาท หรือ อิทัปปัจจยตาซึ่งครอบโลกให้เหลืออยู่เพียงว่า ตถตา-เป็นอย่างนั้น ซึ่งแบ่งย่อยออกเป็นดังนี้

อวิตถตา - ไม่ผิด ไปจากความเป็นอย่างนั้น
อนัญญถตา - ไม่เป็นไปโดยประการอื่นจากความเป็นอย่างนั้น
ธัมมัฏฐิตตา - เป็นความตั้งอยู่โดยความเป็นธรรมดาของธรรมชาติ
ธัมมนิยามตา - เป็นกฎตายตัวของธรรมดา
ทั้งหมดนี้มันยุ่งยากลำบากมากเรื่อง ไม่ต้องจำก็ได้จำคำว่า "ตถตา" ไว้คำเดียวพอ แปลว่า เป็นเช่นนั้น เป็นเช่นนั้นเอง การเห็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา คือเห็นเช่นนั้นเอง หรือจะแยกออกไปเป็นว่า มันปรุงแต่งกันออกไปเป็นสายยาว เป็นปฏิจจสมุปบาท กระทั่งว่ามีอายตนะ มีผัสสะ มีเวทนา มีตัณหา มีอุปาทาน มีทุกข์ มันก็คือเช่นนั้นเอง ที่ต้องทุกข์ก็เพราะว่าเป็นเช่นนั้นเองอย่างนั้น ขณะใดไม่ต้องทุกข์ เพราะว่า มันเป็นเช่นนั้นเองอย่างนั้น ฉะนั้น เรามีเช่นนั้นเองไว้เป็นเครื่องดับทุกข์เถอะ อะไรเกิดขึ้นมาก็เห็นเป็นเช่นนั้นเองไว้ก่อน แล้วก็จะไม่รัก จะไม่เกลียด จะไม่โกรธ จะไม่กลัว ไม่วิตกกังวลอะไรหมด เพราะมันเช่นนั้นเอง

ถ้ามันเกิดทุกข์ขึ้นมา เราก็เห็นเช่นนั้นเองของความทุกข์ แล้วก็หาเช่นนั้นเองของความดับทุกข์ที่มันเป็นคู่ปรปักษ์กัน เข้ามาซี่ "เช่นนั้นเอง" อย่างนี้มันเป็นทุกข์ "เช่นนั้นเอง" ที่มันดับทุกข์ก็เอาเข้ามา มาฟัดกันกับ "เช่นนั้นเอง" เช่นนั้นเองกับเช่นนั้นเองมันก็ฆ่ากันเอง ในที่สุดความทุกข์มันก็ดับไป เพราะเรามีเช่นนั้นเอง ฝ่ายดับทุกข์หรือฝ่ายพระนิพพาน พุทธศาสนาเรียนได้ในพริบตาเดียวก็ด้วยคำว่า "เช่นนั้นเอง" หัวใจของปฏิจจสมุปบาท สรุปอยู่ที่คำว่าเช่นนั้นเอง ปฏิจจสมุปบาทคือคำสอนทั้งหมดในพระพุทธศาสนา คือสอนว่าทุกข์เกิดขึ้นอย่างไรและดับไปอย่างไร สมตามที่พระพุทธเจ้าท่านตรัสว่า "ฉันไม่พูดเรื่องอื่น ฉันพูดแต่เรื่องความทุกข์ และความดับทุกข์เท่านั้น เดี๋ยวนี้ก็ดี ต่อไปข้างหน้าก็ดี" คือให้ความทุกข์และความดับทุกข์นี้ มันรวมอยู่ในคำว่า "เช่นนั้นเอง" เรียกว่า "ตถตา" ก็ได้ "ตถาตา" ก็ได้ "ตถา" เฉยๆ ก็ได้

ในพระไตรปิฎกมีอยู่ทั้ง 3 คำ : ทั้งตถา ทั้งตถตา ทั้งตถาตา ฉะนั้นใครถึงตถา คนนั้นคือตถาคต ตถา + คตะ, ตถา แปลว่า เช่นนั้นเอง, คตะแปลว่า ถึง ผู้ใดถึง ตถา ผู้นั้นชื่อว่า ตถาคต คือว่า ถึงความสูงสุดของสิ่งที่มนุษย์ควรจะได้จะถึง คือ ถึงเช่นนั้นเอง และ "เช่นนั้นเอง" ตัวใหญ่ที่สุด คือ พระนิพพาน"


จาก ปัจจัยสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๖

พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ปฏิจจสมุปบาทเป็นไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงมีชราและมรณะ พระตถาคตทั้งหลายเสด็จอุบัติขึ้นก็ตาม ไม่เสด็จอุบัติขึ้นก็ตาม ธาตุอันนั้น คือ ธัมมฐิติ ธัมมนิยาม อิทัปปัจจัย ก็ยังดำรงอยู่ พระตถาคตย่อมตรัสรู้ ย่อมตรัสรู้ทั่วถึงซึ่งธาตุอันนั้น ครั้นแล้ว ย่อมตรัสบอก ทรงแสดง บัญญัติ แต่งตั้ง เปิดเผย จำแนก กระทำให้ตื้น และตรัสว่า ท่านทั้งหลายจงดู ดังนี้ เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงมี ชราและมรณะ ... เพราะภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ... เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ ... เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ... เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา ... เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา ... เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ ... เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ ... เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป ... เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ... เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขาร พระตถาคตทั้งหลายเสด็จอุบัติขึ้นก็ตาม ไม่เสด็จอุบัติขึ้นก็ตาม ธาตุอันนั้น คือ ธัมมฐิติ ธัมมนิยาม อิทัปปัจจัย ก็ยังดำรงอยู่ พระตถาคตย่อมตรัสรู้ ย่อมตรัสรู้ ทั่วถึงซึ่งธาตุอันนั้น ครั้นแล้วย่อมตรัสบอก ทรงแสดง บัญญัติ แต่งตั้ง เปิดเผย จำแนก กระทำให้ตื้น และตรัสว่า ท่านทั้งหลายจงดู ดังนี้ เพราะอวิชชาเป็นปัจจัยจึงมีสังขาร ภิกษุทั้งหลาย ความจริงแท้ ความไม่คลาดเคลื่อน ความไม่เป็นอย่างอื่น มูลเหตุอันแน่นอนในธาตุอันนั้น ดังพรรณนามาฉะนี้แล เราเรียกว่าปฏิจจสมุปบาท

(ภิกฺขเว ยา ตตฺร ตถตา อวิตถตา อนฺถตา อิทปฺปจฺจยตา อย วุจฺจติ ภิกฺขเว ปฏิจฺจสมุปฺปาโท)

(ถ้าเขียนทับศัพท์จะได้ว่า -ภิกษุทั้งหลาย ตถตา อวิตถตา อนัญญถตา หลักอิทัปปัจจยตา ดังพรรณนามาฉะนี้แล เรียกว่าปฏิจจสมุปบาท)

^^~ คิดว่าคุยกันยาวขนาดนี้ คงคอแห้งกันแล้ว พักทานน้ำหน่อยน่ะค่ะ

รูปภาพ

อย่าถือสานะค่ะ^^ แค่แวะมาเยี่ยม

.....................................................
เกิดดับ...
[จิ เจ รุ นิ]


จงทำใจให้นิ่ง....แล้วจะได้พบความสงบ เมื่อสงบ ความสุขย่อมจะตามมา....


ราตรีนาน สำหรับคนนอนไม่หลับ
ระยะทางโยชน์หนึ่งไกล สำหรับผู้ล้าแล้ว
สังสารวัฎยาวนาน สำหรับคนพาล
ผู้ไม่รู้แจ้งพระสัทธรรม


คนพาลได้ความรู้มา
เพื่อการทำลายถ่ายเดียว
ความรู้นั้น ทำลายคุณความดีเขาสิ้น
ทำให้มันสมองของเขาตกต่ำไป


คนโง่ รุ้ตัวว่าโง่
ยังมีทางเป็นบัณฑิตได้บ้าง
แต่โง่แล้ว อวดฉลาด
นั่นแหละเรียกว่าคนโง่แท้

........What Goes Around... Comes Around........


แก้ไขล่าสุดโดย พลบค่ำ เมื่อ 01 พ.ค. 2010, 10:32, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 พ.ค. 2010, 10:49 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 10
สมาชิก ระดับ 10
ลงทะเบียนเมื่อ: 08 เม.ย. 2010, 08:14
โพสต์: 829

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


พลบค่ำ เขียน:
อกุศลกรรม แปลว่า กรรมที่เป็นอกุศล กรรมไม่ดี การกระทำของคนไม่ฉลาด

อกุศลกรรม หมายถึงบาป กรรมชั่ว ความชั่วร้าย ความเสียหาย ความไม่ถูกต้อง ซึ่งให้ผลเป็นความทุกข์ เป็นสิ่งที่ควรเว้น การกระทำบาป กระทำความชั่ว เรียกว่าทำอกุศลกรรม เรียกย่อว่า ทำอกุศล หรือเรียกว่า ทำบาปอกุศล

อกุศลกรรม เกิดมาจากอกุศลมูลอย่างใดอย่างหนึ่งใน 3 อย่างคือ โลภะ โทสะ โมหะ เพราะเมื่อเกิดอย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้นแล้วก็เป็นเหตุชักนำใจให้คิดทำอกุศลกรรม

อา....ในนี้มีคนเป็นมั้งไหมเนี้ย...^^~


ใจร่มๆกันเถอะค่ะ^^~

อนิฏฐารมณ์ (อ่านว่า อะ-นิด-ถา-รม) แปลว่า อารมณ์ที่ไม่น่าปรารถนา ตรงข้ามกับ อิฏฐารมณ์ อารมณ์ที่น่าปรารถนา หมายถึงสิ่งที่คนไม่ปรารถนา ไม่ต้องการอยากได้ ไม่อยากมี ไม่อยากพบเห็น ได้แก่ กามคุณ ๕ คือรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสที่ไม่ดี ไม่ชวนให้รักให้ชอบใจ และโลกธรรมในส่วนที่ไม่ดี ๔ คือ เสื่อมลาภ เสื่อมยศ นินทา ทุกข์

อนิฏฐารมณ์เป็นสิ่งที่เกิดได้แก่ทุกคน แม้ไม่ต้องการ แต่มีความจริงว่าอนิฏฐารมณ์ เป็นสิ่งไม่เที่ยง ทนอยู่ในสภาพนั้นๆ ไม่ได้นาน มีความแปรปรวนเปลี่ยนแปลงไปเป็นธรรมดา เกิดมีได้ก็กลับกลายเป็นอื่นไปได้เช่นเดียวกับสิ่งที่เป็นอิฏฐารมณ์

คงไม่มีใครอยากมีใช่ไหมค่ะ...


ตถตา เป็นคำสรุปรวมของเรื่องปฏิจจสมุปบาท หรือ อิทัปปัจจยตาซึ่งครอบโลกให้เหลืออยู่เพียงว่า ตถตา-เป็นอย่างนั้น ซึ่งแบ่งย่อยออกเป็นดังนี้

อวิตถตา - ไม่ผิด ไปจากความเป็นอย่างนั้น
อนัญญถตา - ไม่เป็นไปโดยประการอื่นจากความเป็นอย่างนั้น
ธัมมัฏฐิตตา - เป็นความตั้งอยู่โดยความเป็นธรรมดาของธรรมชาติ
ธัมมนิยามตา - เป็นกฎตายตัวของธรรมดา
ทั้งหมดนี้มันยุ่งยากลำบากมากเรื่อง ไม่ต้องจำก็ได้จำคำว่า "ตถตา" ไว้คำเดียวพอ แปลว่า เป็นเช่นนั้น เป็นเช่นนั้นเอง การเห็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา คือเห็นเช่นนั้นเอง หรือจะแยกออกไปเป็นว่า มันปรุงแต่งกันออกไปเป็นสายยาว เป็นปฏิจจสมุปบาท กระทั่งว่ามีอายตนะ มีผัสสะ มีเวทนา มีตัณหา มีอุปาทาน มีทุกข์ มันก็คือเช่นนั้นเอง ที่ต้องทุกข์ก็เพราะว่าเป็นเช่นนั้นเองอย่างนั้น ขณะใดไม่ต้องทุกข์ เพราะว่า มันเป็นเช่นนั้นเองอย่างนั้น ฉะนั้น เรามีเช่นนั้นเองไว้เป็นเครื่องดับทุกข์เถอะ อะไรเกิดขึ้นมาก็เห็นเป็นเช่นนั้นเองไว้ก่อน แล้วก็จะไม่รัก จะไม่เกลียด จะไม่โกรธ จะไม่กลัว ไม่วิตกกังวลอะไรหมด เพราะมันเช่นนั้นเอง

ถ้ามันเกิดทุกข์ขึ้นมา เราก็เห็นเช่นนั้นเองของความทุกข์ แล้วก็หาเช่นนั้นเองของความดับทุกข์ที่มันเป็นคู่ปรปักษ์กัน เข้ามาซี่ "เช่นนั้นเอง" อย่างนี้มันเป็นทุกข์ "เช่นนั้นเอง" ที่มันดับทุกข์ก็เอาเข้ามา มาฟัดกันกับ "เช่นนั้นเอง" เช่นนั้นเองกับเช่นนั้นเองมันก็ฆ่ากันเอง ในที่สุดความทุกข์มันก็ดับไป เพราะเรามีเช่นนั้นเอง ฝ่ายดับทุกข์หรือฝ่ายพระนิพพาน พุทธศาสนาเรียนได้ในพริบตาเดียวก็ด้วยคำว่า "เช่นนั้นเอง" หัวใจของปฏิจจสมุปบาท สรุปอยู่ที่คำว่าเช่นนั้นเอง ปฏิจจสมุปบาทคือคำสอนทั้งหมดในพระพุทธศาสนา คือสอนว่าทุกข์เกิดขึ้นอย่างไรและดับไปอย่างไร สมตามที่พระพุทธเจ้าท่านตรัสว่า "ฉันไม่พูดเรื่องอื่น ฉันพูดแต่เรื่องความทุกข์ และความดับทุกข์เท่านั้น เดี๋ยวนี้ก็ดี ต่อไปข้างหน้าก็ดี" คือให้ความทุกข์และความดับทุกข์นี้ มันรวมอยู่ในคำว่า "เช่นนั้นเอง" เรียกว่า "ตถตา" ก็ได้ "ตถาตา" ก็ได้ "ตถา" เฉยๆ ก็ได้

ในพระไตรปิฎกมีอยู่ทั้ง 3 คำ : ทั้งตถา ทั้งตถตา ทั้งตถาตา ฉะนั้นใครถึงตถา คนนั้นคือตถาคต ตถา + คตะ, ตถา แปลว่า เช่นนั้นเอง, คตะแปลว่า ถึง ผู้ใดถึง ตถา ผู้นั้นชื่อว่า ตถาคต คือว่า ถึงความสูงสุดของสิ่งที่มนุษย์ควรจะได้จะถึง คือ ถึงเช่นนั้นเอง และ "เช่นนั้นเอง" ตัวใหญ่ที่สุด คือ พระนิพพาน"


จาก ปัจจัยสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๖

พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ปฏิจจสมุปบาทเป็นไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงมีชราและมรณะ พระตถาคตทั้งหลายเสด็จอุบัติขึ้นก็ตาม ไม่เสด็จอุบัติขึ้นก็ตาม ธาตุอันนั้น คือ ธัมมฐิติ ธัมมนิยาม อิทัปปัจจัย ก็ยังดำรงอยู่ พระตถาคตย่อมตรัสรู้ ย่อมตรัสรู้ทั่วถึงซึ่งธาตุอันนั้น ครั้นแล้ว ย่อมตรัสบอก ทรงแสดง บัญญัติ แต่งตั้ง เปิดเผย จำแนก กระทำให้ตื้น และตรัสว่า ท่านทั้งหลายจงดู ดังนี้ เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงมี ชราและมรณะ ... เพราะภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ... เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ ... เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ... เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา ... เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา ... เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ ... เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ ... เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป ... เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ... เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขาร พระตถาคตทั้งหลายเสด็จอุบัติขึ้นก็ตาม ไม่เสด็จอุบัติขึ้นก็ตาม ธาตุอันนั้น คือ ธัมมฐิติ ธัมมนิยาม อิทัปปัจจัย ก็ยังดำรงอยู่ พระตถาคตย่อมตรัสรู้ ย่อมตรัสรู้ ทั่วถึงซึ่งธาตุอันนั้น ครั้นแล้วย่อมตรัสบอก ทรงแสดง บัญญัติ แต่งตั้ง เปิดเผย จำแนก กระทำให้ตื้น และตรัสว่า ท่านทั้งหลายจงดู ดังนี้ เพราะอวิชชาเป็นปัจจัยจึงมีสังขาร ภิกษุทั้งหลาย ความจริงแท้ ความไม่คลาดเคลื่อน ความไม่เป็นอย่างอื่น มูลเหตุอันแน่นอนในธาตุอันนั้น ดังพรรณนามาฉะนี้แล เราเรียกว่าปฏิจจสมุปบาท

(ภิกฺขเว ยา ตตฺร ตถตา อวิตถตา อนฺถตา อิทปฺปจฺจยตา อย วุจฺจติ ภิกฺขเว ปฏิจฺจสมุปฺปาโท)

(ถ้าเขียนทับศัพท์จะได้ว่า -ภิกษุทั้งหลาย ตถตา อวิตถตา อนัญญถตา หลักอิทัปปัจจยตา ดังพรรณนามาฉะนี้แล เรียกว่าปฏิจจสมุปบาท)

^^~ คิดว่าคุยกันยาวขนาดนี้ คงคอแห้งกันแล้ว พักทานน้ำหน่อยน่ะค่ะ

รูปภาพ

อย่าถือสานะค่ะ^^ แค่แวะมาเยี่ยม



อนิฏฐารมณ์เป็นสิ่งที่เกิดได้แก่ทุกคน แม้ไม่ต้องการ แต่มีความจริงว่าอนิฏฐารมณ์ เป็นสิ่งไม่เที่ยง ทนอยู่ในสภาพนั้นๆ ไม่ได้นาน มีความแปรปรวนเปลี่ยนแปลงไปเป็นธรรมดา เกิดมีได้ก็กลับกลายเป็นอื่นไปได้เช่นเดียวกับสิ่งที่เป็นอิฏฐารมณ์

คงไม่มีใครอยากมีใช่ไหมค่ะ...

เหอๆๆ

ไม่อยากมี แต่ก็มี ไปแล้ว

ปริวิตกไง อ๊ะจ๊าก


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 พ.ค. 2010, 12:07 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 10
สมาชิก ระดับ 10
ลงทะเบียนเมื่อ: 08 เม.ย. 2010, 08:14
โพสต์: 829

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


พลบค่ำเขียน..

จาก ปัจจัยสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๖

พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ปฏิจจสมุปบาทเป็นไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงมีชราและมรณะ พระตถาคตทั้งหลายเสด็จอุบัติขึ้นก็ตาม ไม่เสด็จอุบัติขึ้นก็ตาม ธาตุอันนั้น คือ ธัมมฐิติ ธัมมนิยาม อิทัปปัจจัย ก็ยังดำรงอยู่ พระตถาคตย่อมตรัสรู้ ย่อมตรัสรู้ทั่วถึงซึ่งธาตุอันนั้น ครั้นแล้ว ย่อมตรัสบอก ทรงแสดง บัญญัติ แต่งตั้ง เปิดเผย จำแนก กระทำให้ตื้น และตรัสว่า ท่านทั้งหลายจงดู ดังนี้ เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงมี ชราและมรณะ ... เพราะภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ... เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ ... เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ... เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา ... เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา ... เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ ... เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ ... เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป ... เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ... เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขาร พระตถาคตทั้งหลายเสด็จอุบัติขึ้นก็ตาม ไม่เสด็จอุบัติขึ้นก็ตาม ธาตุอันนั้น คือ ธัมมฐิติ ธัมมนิยาม อิทัปปัจจัย ก็ยังดำรงอยู่ พระตถาคตย่อมตรัสรู้ ย่อมตรัสรู้ ทั่วถึงซึ่งธาตุอันนั้น ครั้นแล้วย่อมตรัสบอก ทรงแสดง บัญญัติ แต่งตั้ง เปิดเผย จำแนก กระทำให้ตื้น และตรัสว่า ท่านทั้งหลายจงดู ดังนี้ เพราะอวิชชาเป็นปัจจัยจึงมีสังขาร ภิกษุทั้งหลาย ความจริงแท้ ความไม่คลาดเคลื่อน ความไม่เป็นอย่างอื่น มูลเหตุอันแน่นอนในธาตุอันนั้น ดังพรรณนามาฉะนี้แล เราเรียกว่าปฏิจจสมุปบาท

(ภิกฺขเว ยา ตตฺร ตถตา อวิตถตา อนฺถตา อิทปฺปจฺจยตา อย วุจฺจติ ภิกฺขเว ปฏิจฺจสมุปฺปาโท)

(ถ้าเขียนทับศัพท์จะได้ว่า -ภิกษุทั้งหลาย ตถตา อวิตถตา อนัญญถตา หลักอิทัปปัจจยตา ดังพรรณนามาฉะนี้แล เรียกว่าปฏิจจสมุปบาท)
^^~ คิดว่าคุยกันยาวขนาดนี้ คงคอแห้งกันแล้ว พักทานน้ำหน่อยน่ะค่ะ


เหอๆๆ

อวิชชาเป็นปัจจัยให้เกิดสังขาร

ปริวิตก คิดทั้งคืน เป็นสังขารจิต มาจากไหน

อ๊ะจ๊าก


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 พ.ค. 2010, 13:23 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว




2medium.jpg
2medium.jpg [ 27.96 KiB | เปิดดู 5154 ครั้ง ]
หลับอยุ่ เขียน:
คุณกรัชมอบเพลงให้เดียรถีย์หนูไม่รู้แต่กระเทยเอนไลท์ ร้อนตัวแทน ตัวเองอีกโปร อืมมมม :b6: ตงฟางปุ๊ป้ายแท้ๆ :b32:


รึเขาเป็นคู่รักจากอเวจี :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 พ.ค. 2010, 14:44 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 5
สมาชิก ระดับ 5
ลงทะเบียนเมื่อ: 03 เม.ย. 2010, 15:07
โพสต์: 313

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


พลบค่ำ เขียน:
อกุศลกรรม แปลว่า กรรมที่เป็นอกุศล กรรมไม่ดี การกระทำของคนไม่ฉลาด

อกุศลกรรม หมายถึงบาป กรรมชั่ว ความชั่วร้าย ความเสียหาย ความไม่ถูกต้อง ซึ่งให้ผลเป็นความทุกข์ เป็นสิ่งที่ควรเว้น การกระทำบาป กระทำความชั่ว เรียกว่าทำอกุศลกรรม เรียกย่อว่า ทำอกุศล หรือเรียกว่า ทำบาปอกุศล

อกุศลกรรม เกิดมาจากอกุศลมูลอย่างใดอย่างหนึ่งใน 3 อย่างคือ โลภะ โทสะ โมหะ เพราะเมื่อเกิดอย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้นแล้วก็เป็นเหตุชักนำใจให้คิดทำอกุศลกรรม

อา....ในนี้มีคนเป็นมั้งไหมเนี้ย...^^~


ใจร่มๆกันเถอะค่ะ^^~

อิอิ

เพราะมีตัวตน จึงไปยึดมั่นกับทั้งกุศลกรรมและอกุศลกรรม ละจ้าๆ

พลบค่ำ เขียน:
อนิฏฐารมณ์ (อ่านว่า อะ-นิด-ถา-รม) แปลว่า อารมณ์ที่ไม่น่าปรารถนา ตรงข้ามกับ อิฏฐารมณ์ อารมณ์ที่น่าปรารถนา หมายถึงสิ่งที่คนไม่ปรารถนา ไม่ต้องการอยากได้ ไม่อยากมี ไม่อยากพบเห็น ได้แก่ กามคุณ ๕ คือรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสที่ไม่ดี ไม่ชวนให้รักให้ชอบใจ และโลกธรรมในส่วนที่ไม่ดี ๔ คือ เสื่อมลาภ เสื่อมยศ นินทา ทุกข์

อนิฏฐารมณ์เป็นสิ่งที่เกิดได้แก่ทุกคน แม้ไม่ต้องการ แต่มีความจริงว่าอนิฏฐารมณ์ เป็นสิ่งไม่เที่ยง ทนอยู่ในสภาพนั้นๆ ไม่ได้นาน มีความแปรปรวนเปลี่ยนแปลงไปเป็นธรรมดา เกิดมีได้ก็กลับกลายเป็นอื่นไปได้เช่นเดียวกับสิ่งที่เป็นอิฏฐารมณ์

คงไม่มีใครอยากมีใช่ไหมค่ะ...

อิอิ

เพราะมีตัวตน จึงไปยึดมั่นกับทั้งอิฏฐารมณ์และอนิฏฐารมณ์ ละจ้าๆ

พลบค่ำ เขียน:
ตถตา เป็นคำสรุปรวมของเรื่องปฏิจจสมุปบาท หรือ อิทัปปัจจยตาซึ่งครอบโลกให้เหลืออยู่เพียงว่า ตถตา-เป็นอย่างนั้น ซึ่งแบ่งย่อยออกเป็นดังนี้

อวิตถตา - ไม่ผิด ไปจากความเป็นอย่างนั้น
อนัญญถตา - ไม่เป็นไปโดยประการอื่นจากความเป็นอย่างนั้น
ธัมมัฏฐิตตา - เป็นความตั้งอยู่โดยความเป็นธรรมดาของธรรมชาติ
ธัมมนิยามตา - เป็นกฎตายตัวของธรรมดา
ทั้งหมดนี้มันยุ่งยากลำบากมากเรื่อง ไม่ต้องจำก็ได้จำคำว่า "ตถตา" ไว้คำเดียวพอ แปลว่า เป็นเช่นนั้น เป็นเช่นนั้นเอง การเห็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา คือเห็นเช่นนั้นเอง หรือจะแยกออกไปเป็นว่า มันปรุงแต่งกันออกไปเป็นสายยาว เป็นปฏิจจสมุปบาท กระทั่งว่ามีอายตนะ มีผัสสะ มีเวทนา มีตัณหา มีอุปาทาน มีทุกข์ มันก็คือเช่นนั้นเอง ที่ต้องทุกข์ก็เพราะว่าเป็นเช่นนั้นเองอย่างนั้น ขณะใดไม่ต้องทุกข์ เพราะว่า มันเป็นเช่นนั้นเองอย่างนั้น ฉะนั้น เรามีเช่นนั้นเองไว้เป็นเครื่องดับทุกข์เถอะ อะไรเกิดขึ้นมาก็เห็นเป็นเช่นนั้นเองไว้ก่อน แล้วก็จะไม่รัก จะไม่เกลียด จะไม่โกรธ จะไม่กลัว ไม่วิตกกังวลอะไรหมด เพราะมันเช่นนั้นเอง

ถ้ามันเกิดทุกข์ขึ้นมา เราก็เห็นเช่นนั้นเองของความทุกข์ แล้วก็หาเช่นนั้นเองของความดับทุกข์ที่มันเป็นคู่ปรปักษ์กัน เข้ามาซี่ "เช่นนั้นเอง" อย่างนี้มันเป็นทุกข์ "เช่นนั้นเอง" ที่มันดับทุกข์ก็เอาเข้ามา มาฟัดกันกับ "เช่นนั้นเอง" เช่นนั้นเองกับเช่นนั้นเองมันก็ฆ่ากันเอง ในที่สุดความทุกข์มันก็ดับไป เพราะเรามีเช่นนั้นเอง ฝ่ายดับทุกข์หรือฝ่ายพระนิพพาน พุทธศาสนาเรียนได้ในพริบตาเดียวก็ด้วยคำว่า "เช่นนั้นเอง" หัวใจของปฏิจจสมุปบาท สรุปอยู่ที่คำว่าเช่นนั้นเอง ปฏิจจสมุปบาทคือคำสอนทั้งหมดในพระพุทธศาสนา คือสอนว่าทุกข์เกิดขึ้นอย่างไรและดับไปอย่างไร สมตามที่พระพุทธเจ้าท่านตรัสว่า "ฉันไม่พูดเรื่องอื่น ฉันพูดแต่เรื่องความทุกข์ และความดับทุกข์เท่านั้น เดี๋ยวนี้ก็ดี ต่อไปข้างหน้าก็ดี" คือให้ความทุกข์และความดับทุกข์นี้ มันรวมอยู่ในคำว่า "เช่นนั้นเอง" เรียกว่า "ตถตา" ก็ได้ "ตถาตา" ก็ได้ "ตถา" เฉยๆ ก็ได้

ในพระไตรปิฎกมีอยู่ทั้ง 3 คำ : ทั้งตถา ทั้งตถตา ทั้งตถาตา ฉะนั้นใครถึงตถา คนนั้นคือตถาคต ตถา + คตะ, ตถา แปลว่า เช่นนั้นเอง, คตะแปลว่า ถึง ผู้ใดถึง ตถา ผู้นั้นชื่อว่า ตถาคต คือว่า ถึงความสูงสุดของสิ่งที่มนุษย์ควรจะได้จะถึง คือ ถึงเช่นนั้นเอง และ "เช่นนั้นเอง" ตัวใหญ่ที่สุด คือ พระนิพพาน"


จาก ปัจจัยสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๖

พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ปฏิจจสมุปบาทเป็นไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงมีชราและมรณะ พระตถาคตทั้งหลายเสด็จอุบัติขึ้นก็ตาม ไม่เสด็จอุบัติขึ้นก็ตาม ธาตุอันนั้น คือ ธัมมฐิติ ธัมมนิยาม อิทัปปัจจัย ก็ยังดำรงอยู่ พระตถาคตย่อมตรัสรู้ ย่อมตรัสรู้ทั่วถึงซึ่งธาตุอันนั้น ครั้นแล้ว ย่อมตรัสบอก ทรงแสดง บัญญัติ แต่งตั้ง เปิดเผย จำแนก กระทำให้ตื้น และตรัสว่า ท่านทั้งหลายจงดู ดังนี้ เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงมี ชราและมรณะ ... เพราะภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ... เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ ... เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ... เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา ... เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา ... เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ ... เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ ... เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป ... เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ... เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขาร พระตถาคตทั้งหลายเสด็จอุบัติขึ้นก็ตาม ไม่เสด็จอุบัติขึ้นก็ตาม ธาตุอันนั้น คือ ธัมมฐิติ ธัมมนิยาม อิทัปปัจจัย ก็ยังดำรงอยู่ พระตถาคตย่อมตรัสรู้ ย่อมตรัสรู้ ทั่วถึงซึ่งธาตุอันนั้น ครั้นแล้วย่อมตรัสบอก ทรงแสดง บัญญัติ แต่งตั้ง เปิดเผย จำแนก กระทำให้ตื้น และตรัสว่า ท่านทั้งหลายจงดู ดังนี้ เพราะอวิชชาเป็นปัจจัยจึงมีสังขาร ภิกษุทั้งหลาย ความจริงแท้ ความไม่คลาดเคลื่อน ความไม่เป็นอย่างอื่น มูลเหตุอันแน่นอนในธาตุอันนั้น ดังพรรณนามาฉะนี้แล เราเรียกว่าปฏิจจสมุปบาท

(ภิกฺขเว ยา ตตฺร ตถตา อวิตถตา อนฺถตา อิทปฺปจฺจยตา อย วุจฺจติ ภิกฺขเว ปฏิจฺจสมุปฺปาโท)

(ถ้าเขียนทับศัพท์จะได้ว่า -ภิกษุทั้งหลาย ตถตา อวิตถตา อนัญญถตา หลักอิทัปปัจจยตา ดังพรรณนามาฉะนี้แล เรียกว่าปฏิจจสมุปบาท)

^^~ คิดว่าคุยกันยาวขนาดนี้ คงคอแห้งกันแล้ว พักทานน้ำหน่อยน่ะค่ะ

รูปภาพ

อย่าถือสานะค่ะ^^ แค่แวะมาเยี่ยม

อิอิ ละจ้าๆ

เพราะมีตัวตน จึงไปยึดมั่นกับทั้งถือสาและไม่ถือสา ละจ้าๆ

เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารคิดว่าคุยกันยาวขนาดนี้ คงคอแห้งกันแล้ว พักทานน้ำหน่อยน่ะค่ะ



อนุโมทนาสาธุจ้า :b8:


แก้ไขล่าสุดโดย noohmairu เมื่อ 01 พ.ค. 2010, 14:47, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 พ.ค. 2010, 14:53 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว




2blq1b7.gif
2blq1b7.gif [ 58.97 KiB | เปิดดู 5129 ครั้ง ]
อ้างคำพูด:
เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขาร


นู่ระเริง..ช่วยอธิบายให้ตลอดสายทีเถอะ เอาทั้งสองสายเลย :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 พ.ค. 2010, 15:16 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 5
สมาชิก ระดับ 5
ลงทะเบียนเมื่อ: 03 เม.ย. 2010, 15:07
โพสต์: 313

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:
เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขาร


นู่ระเริง..ช่วยอธิบายให้ตลอดสายทีเถอะ เอาทั้งสองสายเลย :b1:


อิอิ

เพรามีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีอินทรีย์สังหอนตลอดทั้งสองสาย เกิดก็หอน ดับก็หอน ละจ้าๆ


อนุโมทนาสาธุจ้า
:b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 พ.ค. 2010, 15:27 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


noohmairu เขียน:
กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:
เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขาร


นู่ระเริง..ช่วยอธิบายให้ตลอดสายทีเถอะ เอาทั้งสองสายเลย

อิอิ

เพรามีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีอินทรีย์สังหอนตลอดทั้งสองสาย เกิดก็หอน ดับก็หอน ละจ้าๆ

อนุโมทนาสาธุจ้า


อ้าวดอกหรอนึกว่ามีนั่นเป็นปัจจัย :b28: =>

http://www.free-webboard.com/travel.php ... ha&qid=130

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 02 พ.ค. 2010, 14:47 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 3
สมาชิก ระดับ 3
ลงทะเบียนเมื่อ: 07 มี.ค. 2010, 23:38
โพสต์: 193

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


1) ถ้ายังเป็นมนุษย์อยู่ หากเป็นพระอรหันต์ จะดำรงชีวิตได้ไม่เกิน 7 วัน แล้วตาย (นิพพาน)
2) ถ้าเป็นพระ ก็ไม่สามารถบอกใครได้ เพราะพระพุทธเจ้าห้ามไว้ว่า ห้ามบอกใครว่าได้สำเร็จอะไร ขั้นไหน ถ้ามีคุณวิเศษอยู่ในตัวจริงก็
เป็นอาบัติปาจิตตีย์ ถ้าไม่มีในตัวเป็นอาบัติปาราชิก (ขาดจากพระ)


ถ้า noohmairu เป็นพระอรหันต์แล้ว ก็น่าจะตายไปนานได้แล้วนะคะ

ตอนนี้มัวทำไรอยู่???? หรือยังมีห่วงอยู่อะคะ ถึงไม่รีบไปสักที :b32: :b32: :b32:

ดูเหมือนคนในบอร์ดนี้เขาไม่ต้องการคุณเลยนะ

ยังไม่รู้ตัวอีก

.....................................................
หากไม่สนใจหลักธรรมปลีกย่อย แล้วจะบรรลุหลักธรรมใหญ่ได้ยังไง -- กวนอู

"ทรัพยกรมนุษย์หากตายไป บริษัทฯ สามารถหามาแทนได้ แต่ทรัพยากรครอบครัวนั้น ครอบครัวไม่สามารถหามาแทนได้"


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 02 พ.ค. 2010, 15:47 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 5
สมาชิก ระดับ 5
ลงทะเบียนเมื่อ: 03 เม.ย. 2010, 15:07
โพสต์: 313

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


varinne เขียน:
1) ถ้ายังเป็นมนุษย์อยู่ หากเป็นพระอรหันต์ จะดำรงชีวิตได้ไม่เกิน 7 วัน แล้วตาย (นิพพาน)
2) ถ้าเป็นพระ ก็ไม่สามารถบอกใครได้ เพราะพระพุทธเจ้าห้ามไว้ว่า ห้ามบอกใครว่าได้สำเร็จอะไร ขั้นไหน ถ้ามีคุณวิเศษอยู่ในตัวจริงก็
เป็นอาบัติปาจิตตีย์ ถ้าไม่มีในตัวเป็นอาบัติปาราชิก (ขาดจากพระ)


ถ้า noohmairu เป็นพระอรหันต์แล้ว ก็น่าจะตายไปนานได้แล้วนะคะ

ตอนนี้มัวทำไรอยู่???? หรือยังมีห่วงอยู่อะคะ ถึงไม่รีบไปสักที :b32: :b32: :b32:

ดูเหมือนคนในบอร์ดนี้เขาไม่ต้องการคุณเลยนะ

ยังไม่รู้ตัวอีก


อิอิ เพราะมีตัวตน จึงไปยึดมั่นกับทั้งต้องการและไม่ต้องการ ละจ้าๆ

อิสระจากตัวตน จะเป็นอะไรก็ได้ ละจ้าๆ

จิตหนึ่ง ไม่เกิด ไม่ตาย ละจ้าๆ



อนุโมทนาสาธุจ้า :b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 02 พ.ค. 2010, 16:11 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 3
สมาชิก ระดับ 3
ลงทะเบียนเมื่อ: 07 มี.ค. 2010, 23:38
โพสต์: 193

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


noohmairu เขียน:
varinne เขียน:
1) ถ้ายังเป็นมนุษย์อยู่ หากเป็นพระอรหันต์ จะดำรงชีวิตได้ไม่เกิน 7 วัน แล้วตาย (นิพพาน)
2) ถ้าเป็นพระ ก็ไม่สามารถบอกใครได้ เพราะพระพุทธเจ้าห้ามไว้ว่า ห้ามบอกใครว่าได้สำเร็จอะไร ขั้นไหน ถ้ามีคุณวิเศษอยู่ในตัวจริงก็
เป็นอาบัติปาจิตตีย์ ถ้าไม่มีในตัวเป็นอาบัติปาราชิก (ขาดจากพระ)


ถ้า noohmairu เป็นพระอรหันต์แล้ว ก็น่าจะตายไปนานได้แล้วนะคะ

ตอนนี้มัวทำไรอยู่???? หรือยังมีห่วงอยู่อะคะ ถึงไม่รีบไปสักที :b32: :b32: :b32:

ดูเหมือนคนในบอร์ดนี้เขาไม่ต้องการคุณเลยนะ

ยังไม่รู้ตัวอีก


อิอิ เพราะมีตัวตน จึงไปยึดมั่นกับทั้งต้องการและไม่ต้องการ ละจ้าๆ

อิสระจากตัวตน จะเป็นอะไรก็ได้ ละจ้าๆ

จิตหนึ่ง ไม่เกิด ไม่ตาย ละจ้าๆ



อนุโมทนาสาธุจ้า :b8:


เพราะมีตัวตน

noohmairu จึงยังไม่เป็นอิสระจากคำพูดของใคร เลยต้องออกมาแย้งบ่อยๆ

เพราะความไม่ชอบใจของ noohmairu

อนุโมทนาสาธุจ้า :b5:

.....................................................
หากไม่สนใจหลักธรรมปลีกย่อย แล้วจะบรรลุหลักธรรมใหญ่ได้ยังไง -- กวนอู

"ทรัพยกรมนุษย์หากตายไป บริษัทฯ สามารถหามาแทนได้ แต่ทรัพยากรครอบครัวนั้น ครอบครัวไม่สามารถหามาแทนได้"


แก้ไขล่าสุดโดย varinne เมื่อ 02 พ.ค. 2010, 16:12, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 315 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 17, 18, 19, 20, 21

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 10 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร