วันเวลาปัจจุบัน 20 เม.ย. 2024, 13:12  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


รวมกระทู้จากบอร์ดเก่า http://www.dhammajak.net/board/viewforum.php?f=28



กลับไปยังกระทู้  [ 9 โพสต์ ]    Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ต.ค. 2009, 19:55 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 6
สมาชิก ระดับ 6
ลงทะเบียนเมื่อ: 03 เม.ย. 2009, 15:36
โพสต์: 435

ที่อยู่: malaysia

 ข้อมูลส่วนตัว


วิธีอ่านคำ ภาษาบาลี คำในภาษาบาลี เมื่อนำมาเขียนถ่ายทอดเป็นภาษาไทยแล้ว จะมีลักษณะที่ควรสังเกตประกอบการอ่าน ดังนี้

:b48: ๑. ตัวอักษรทุกตัวที่ไม่มีเครื่องหมายใดอยู่บนหรือล่าง และไม่มีสระใดๆ กำกับไว้ ให้อ่านอักษรนั้นมีเสียง "อะ" ทุกตัว เช่น อรหโต อ่านว่า อะ-ระ-หะ-โต
ภควา อ่านว่า ภะ-คะ-วา
นมามิ อ่านว่า นะ-มา-มิ
โลกวิทู อ่านว่า โล-กะ-วิ-ทู

:b48: ๒. เมื่อตัวอักษรใดมีเครื่องหมาย ฺ (พินทุ) อยู่ข้างใต้แสดงว่าอักษรนั้นเป็นตัวสะกดของอักษรที่อยู่ข้างหน้า ผสมกันแล้วให้อ่านเหมือนเสียง อะ+(ตัวสะกด) นั้น เช่น สมฺมา (สะ+ม = สัม) อ่านว่า สัม-มา
สงฺโฆ (สะ+ง = สัง) อ่านว่า สัง-โฆยกเว้นในกรณีที่พยัญชนะตัวหน้ามีเครื่องหมายสระกำกับอยู่แล้ว ก็ให้อ่านรวมกันตามตัวสะกดนั้น เช่น พุทฺโธ อ่านว่า พุท-โธ
พุทฺธสฺส อ่านว่า พุท-ธัส-สะ
สนฺทิฏฺ ฺฐิโย อ่านว่า สัน-ทิฏ-ฐิ-โย
ปาหุเนยฺโย อ่านว่า ปา-หุ-ไนย-โย

:b48: ๓. เมื่ออักษรใดมีเครื่องหมาย ํ (นฤคหิต) อยู่ข้างบนตัวอักษร ให้อ่านให้เหมือนอักษรนั้นมีไม้หันอากาศและสะกดด้วยตัว "ง" เช่น อรหํ อ่านว่า อะ-ระ-หัง
สงฺฆํ อ่านว่า สัง-ฆัง
ธมฺมํ อ่านว่า ธัม-มัง
สรณํ อ่านว่า สะ-ระ-นัง
อญฺญํ อ่านว่า อัญ-ญังแต่ถ้าตัวอักษรนั้นมีทั้งเครื่องหมาย ํ (นฤคหิต) อยู่ข้างบนและมีสระอื่นกำกับอยู่ด้วย ก็ให้อ่านออกเสียงตามสระที่กำกับ + ง (ตัวสะกด) เช่น พาหุ ํ อ่านว่า พา-หุง


:b48: ๔. เมื่ออักษรใดเป็นตัวนำแต่มีเครื่องหมาย ฺ (พินทุ) อยู่ข้างใต้ด้วย ขอให้อ่านออกเสียง "อะ" ของอักษรนั้นเพียงครึ่งเสียงควบไปกับอักษรตัวตาม เช่น สฺวากฺขาโต อ่านว่า สะหวาก-ขา-โต
เขียนโดย พรพรหมธารา


แก้ไขล่าสุดโดย jintana63 เมื่อ 11 ต.ค. 2009, 22:26, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ต.ค. 2009, 16:53 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 01 พ.ย. 2008, 17:20
โพสต์: 1051

งานอดิเรก: อ่านหนังสือธรรมะ
อายุ: 0
ที่อยู่: Bangkok

 ข้อมูลส่วนตัว


beby ขอบคุณค่ะ คุณ jintana 63 ได้ความรู้เพิ่มอีกหนึ่งค่ะ ปกติถ้าอ่านเจอคำแบบนี้
จะข้ามไป :b32: เลยค่ะ เพราะอ่านยาก แต่หลังๆ นี้เริ่มหัดอ่านแล้วค่ะ :b32:

.....................................................
    มีสิ่งใด น่าโกรธ อย่าโทษเขา.... ต้องโทษเรา ที่ใจ ไม่เข้มแข็ง
    เรื่องน่าโกรธ แม้ว่า จะมาแรง ....ถ้าใจแข็ง เหนือกว่า ชนะมัน


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ต.ค. 2009, 18:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 06 ก.พ. 2009, 20:49
โพสต์: 3979

แนวปฏิบัติ: พอง-ยุบ
งานอดิเรก: อ่านหนังสือ
ชื่อเล่น: นนท์
อายุ: 42
ที่อยู่: นครสวรรค์

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8: :b8: :b8:

สาธุครับ

jintana63 เขียน:
ปาหุเนยฺโย อ่านว่า ปา-หุ-เนย-โย


ถ้าเป็นภาษาบาลีจะอ่านว่า ปา-หุ-ไนย-ยะ ครับ

ภาษาบาลีไม่มีสระ เอย ครับ


:b8: :b8: :b8:

.....................................................
แม้มิได้เป็นสุระแสงอันแรงกล้า ส่องนภาให้สกาวพราวสดใส
ขอเป็นเพียงแสงแห่งดวงไฟ ส่องทางให้มวลชนบนแผ่นดิน


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ต.ค. 2009, 22:24 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 6
สมาชิก ระดับ 6
ลงทะเบียนเมื่อ: 03 เม.ย. 2009, 15:36
โพสต์: 435

ที่อยู่: malaysia

 ข้อมูลส่วนตัว


ขอบคุณค่ะ คุณวรานนท์ :b8:สวัสดีค่ะคุณo.wanสบายดีนะคะ
ผิดจริงๆด้วยค่ะ :b12: :b5: :b12:
ขอโทษกัลยาณมิตรทุกๆท่านด้วยนะคะ
บังเอิญยังไม่ค่อยเก่งเท่าไหร่ค่ะ :b12:
ตอนนี้ขอเก่ง ขออนุโมทนาก่อนก็แล้วกันนะ
แล้วก็เก่งคอยอ่านด้วย :b1: :b12: :b16:
บางครั้งลูกไม่สอนให้ก็กดมั่วแหละค่ะ :b12:
:b48: ธรรมะสวัสดีค่ะ :b48:


แก้ไขล่าสุดโดย jintana63 เมื่อ 11 ต.ค. 2009, 22:43, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ต.ค. 2009, 23:31 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 4
สมาชิก ระดับ 4
ลงทะเบียนเมื่อ: 30 ส.ค. 2009, 02:56
โพสต์: 290

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8: :b8: :b8: เป็นประโยชน์มากเลยค่ะ ขอบคุณมากนะคะ

:b55: :b55: :b55: นู๋เอค่ะ

.....................................................
ข้าพเจ้าเคารพพระธรรม ที่มีอยู่ในพระพุทธเจ้า
ข้าพเจ้าเคารพพระธรรม ที่มีอยู่ในพระธรรม
ข้าพเจ้าเคารพพระธรรม ที่มีอยู่ในพระสงฆ์
ข้าพเจ้าเคารพพระธรรม ที่มีอยู่ในพระมารดาพระบิดา
ข้าพเจ้าเคารพพระธรรม ที่มีอยู่ในครูอุปัชฌาย์อาจารย์
ข้าพเจ้าเคารพพระธรรม ที่มีอยู่ในทุกสิ่งทุกอย่าง...สาธุ สาธุ สาธุ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 05 พ.ย. 2009, 14:33 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
อาสาสมัคร
อาสาสมัคร
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ม.ค. 2009, 20:45
โพสต์: 1094

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อื่มมมมมม์

มีประโยชน์มัก ๆ

อนุโมทนาครับ

:b8: :b20:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 พ.ย. 2009, 16:53 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 1
สมาชิก ระดับ 1
ลงทะเบียนเมื่อ: 23 พ.ย. 2009, 15:24
โพสต์: 28

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8: สาธุค่ะ

.....................................................
กลิ่นปุปผชาติ ก็หอมทวนลมไม่ได้
กลิ่นจันทน์ กฤษณา หรือดอกมะลิ ก็หอมทวนลมไม่ได้
แต่กลิ่น(แห่งศีล)ของสัตบุรุษ หอมทวนลมได้ สัตบุรุษย่อมหอมฟุ้งขจรไปทั่วทุกทิศ

รูปภาพ

The perfume of flower blows not againts the wind,
nor does the fragrance of sandal-wood, Tagara and jasmine,
but the fragrance of the virtuous blows against the wind the virtuous man pervades all directions.


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 พ.ย. 2009, 16:27 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 1
สมาชิก ระดับ 1
ลงทะเบียนเมื่อ: 21 ต.ค. 2009, 13:42
โพสต์: 33

แนวปฏิบัติ: กำลังศึกษาปฏิบัติธรรมะในขั้นพื้นฐาน
อายุ: 24
ที่อยู่: Malaysia

 ข้อมูลส่วนตัว


อนุโมทนา สาธุคะ :b41:

.....................................................
"ความผิดเป็นครูก็จริง แต่อย่าคิดที่จะทำผิดซ้ำๆอีก"


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 ม.ค. 2010, 01:58 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 3
สมาชิก ระดับ 3
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ธ.ค. 2009, 22:46
โพสต์: 167

แนวปฏิบัติ: buddhism
อายุ: 0
ที่อยู่: nontaburi

 ข้อมูลส่วนตัว


อาหุเนยโย
ปาหุเนยโย
ทักขิเณยโย
ไม่อ่านว่า ไนย ครับ

อ่านว่า เนย แต่ออกเสียงไว
เขาเรียก เสียงสั้น รัสสะ


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 9 โพสต์ ] 

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 3 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร