วันเวลาปัจจุบัน 28 มี.ค. 2024, 18:35  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


อ่านนิทาน จากบอร์ดเก่า
http://www.dhammajak.net/board/viewforum.php?f=5



กลับไปยังกระทู้  [ 2252 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 145, 146, 147, 148, 149, 150, 151  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 08 ม.ค. 2019, 21:15 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
บทว่า ปจฺฉา จ มนุตปฺปติ คือ ย่อมเดือดร้อนในภายหลัง.
บทว่า กูฏมิโวฑฺฑิตํ คือ เหมือนแร้วที่เขาดักไว้ในป่าเพื่อต้องการ
จะให้เนื้อในป่ามาติดฉะนั้น. บทว่า นิจฺจวิธํสการินํ แปลว่า ผู้มัก
ทำการกำจัดอยู่เป็นนิจ. บทว่า วํสกานเน แปลว่า ในป่าไผ่ นรชน
ผู้มีปัญญาเครื่องพิจารณา ควรเว้นบาปมิตร ผู้มักทำการกำจัดเสีย
เหมือนไก่ในป่าไผ่ละเว้นเหยี่ยว ฉะนั้น.

พระยาไก่นั้นครั้นกล่าวคาถาแล้ว เรียกเหยี่ยวมาขู่ว่า ถ้าเราจัก
อยู่ในที่นี้ เราจักตอบแทนการกระทำของเจ้า แม้เหยี่ยวก็ได้หนีจากที่
นั้นไปในที่อื่น.

พระศาสดาครั้นทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแสดงแล้ว ตรัสว่า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย แม้ในกาลก่อนพระเทวทัตก็พยายามฆ่าเราอย่างนี้
ดังนี้แล้วทรงประชุมชาดกว่า เหยี่ยวในครั้งนั้น ได้เป็นพระเทวทัตใน
บัดนี้ ส่วนพญาไก่ในครั้งนั้น ได้มาเป็นเราตถาคต ฉะนี้แล.
จบ อรรถกถากุกกุฏชาดกที่ ๑๐

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 08 ม.ค. 2019, 21:16 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
อรรถกถามัฏฐกุณฑลิชาดกที่ ๑๑

พระศาสดาเมื่อประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน ทรงปรารภ
กุฎุมพีผู้หนึ่งซึ่งลูกตาย จึงตรัสเรื่องนี้มีคำเริ่มต้นว่า อลงฺกโต มฏฺ€-
กุณฺฑลี ดังนี้.

ได้ยินว่า ในพระนครสาวัตถี บุตรน้อยน่ารักของกุฎุมพีผู้เป็น
พุทธอุปฐากคนหนึ่งได้ตายลง กุฎุมพีเพียบด้วยความเศร้าโศกถึงบุตร
ไม่อาบน้ำไม่บริโภคอาหาร ไม่ดูแลการงาน ไม่ไปที่บำรุงพระพุทธเจ้า
บ่นเพ้ออยู่อย่างเดียวว่า ลูกรักเจ้าจากพ่อไปก่อนแล้วเป็นต้น.

พระศาสดาตรวจดูสัตวโลกเวลาใกล้รุ่ง ทรงเห็นอุปนิสัยโสดา-
ปัตติผลของกุฎุมพีนั้น ครั้นรุ่งขึ้น พระองค์ทรงแวดล้อมไปด้วยภิกษุสงฆ์
เสด็จเที่ยวบิณฑบาตในพระนครสาวัตถี พอฉันเสร็จทรงส่งภิกษุทั้งหลาย
กลับ พระองค์ทรงมีพระอานันทเถระเป็นปัจฉาสมณะ ได้เสด็จไปที่ประตู
เรือนกุฎุมพีนั้น คนทั้งหลายบอกแก่กุฎุมพีว่า พระศาสดาเสด็จมา.

ลำดับนั้นคนในเรือนของกุฎุมพีได้ปูลาดอาสนะ แล้วนิมนต์พระศาสดา
ให้ประทับนั่ง ช่วยกันประคองกุฎุมพีมาเฝ้าพระศาสดา กุฎุมพีถวาย
บังคมแล้วนั่งอยู่ ณ ส่วนข้างหนึ่ง. พระศาสดาทรงใช้พระวาจาเยือกเย็น
กอปรด้วยพระกรุณาทักทายแล้วตรัสถามว่า อุบาสก ท่านเศร้าโศกถึง

บุตรน้อยหรือ ? เมื่อกุฎุมพีกราบทูลว่า ถูกแล้วพระเจ้าข้า พระองค์
ตรัสว่า อุบาสก โบราณกบัณฑิต เมื่อลูกตายก็เพียบด้วยความเศร้าโศก
เที่ยวไป ครั้นได้ฟังถ้อยคำของบัณฑิตรู้โดยถ่องแท้ว่า เป็นฐานะที่ไม่
ควรจะได้ แล้วก็มิได้เศร้าโศกแม้น้อยหนึ่งเลย กุฎุมพีนั้นทูลอาราธนา
ให้ตรัสเรื่องราว แล้วทรงนำเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้:-


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 08 ม.ค. 2019, 21:17 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในพระนคร
พาราณสี บุตรของพราหมณ์ผู้มีสมบัติมากคนหนึ่ง เมื่ออายุได้ ๑๕, ๑๖ ปี
ถูกพยาธิชนิดหนึ่งเบียดเบียน ตายไปเกิดในเทวโลก ตั้งแต่บุตรนั้นตาย
พราหมณ์ไปป่าช้าคุ้ยเขี่ยกองฟอนคร่ำครวญอยู่ เลิกละการงานทุกอย่าง

เฝ้าแต่เที่ยวเศร้าโศก. เทพบุตรพิจารณาดูเห็นดังนั้น ทรงดำริว่า เราจัก
ทำอุปมาอย่างหนึ่งระงับความโศก ครั้นเวลาพราหมณ์ไปป่าช้าคร่ำครวญ
อยู่จึงแปลงเพศเป็นบุตรของพราหมณ์นั้น ประดับด้วยอาภรณ์ทุกอย่าง
ยืนอยู่ ณ ประเทศแห่งหนึ่ง เอามือทั้ง ๒ ไว้เหนือศีรษะร้องไห้ด้วย

เสียงอันดัง. พราหมณ์ได้ยินเสียงจึงแลดูเทพบุตรจำแลงนั้น กลับได้
ความรักในบุตร จึงได้เข้าไปใกล้เทพบุตร เมื่อจะถามว่า พ่อมาณพ
เหตุไรเจ้าจึงมาร้องไห้คร่ำครวญอยู่กลางป่าช้านี้ จึงได้กล่าวคาถาที่ ๑
ว่า:-

ท่านประดับแล้วด้วยอาภรณ์ต่างๆ มี
ต่างหูเกลี้ยงเกลา ทัดทรงระเบียบดอกไม้
ลูบไล้กระแจะจันทน์สีเหลือง ท่านมีทุกข์
อะไรหรือ จึงมากอดอกคร่ำครวญอยู่ในกลาง
ป่า.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อลงฺกโต คือประดับแล้วด้วย
อาภรณ์ต่างๆ. บทว่า มฏฺ€กุณฺฑลี คือประกอบด้วยต่างหูอันเกลี้ยง
เกลา ซึ่งมีรูปร่างอันสำเร็จแล้ว. บทว่า มาลธารี คือทัดทรงระเบียบ
ดอกไม้อันไพจิตร. บทว่า หริจนฺทนุสฺสโท คือลูบไล้ด้วยจันทน์มีสี
ดังทอง. บทว่า วนมชฺเฌ คือในกลางป่าช้า. บทว่า กึ ทุกฺขิโต ตุวํ
ความว่า พราหมณ์กล่าวว่า ท่านมีความทุกข์อะไรหรือจงบอกมา เรา
จะให้สิ่งที่ท่านต้องการแก่ท่าน.

ลำดับนั้น มาณพเทพบุตรเมื่อจะบอกแก่พราหมณ์ จึงกล่าว
คาถาที่ ๒ ว่า:-


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 08 ม.ค. 2019, 21:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
เรือนรถงามแพรวพราว แล้วไปด้วย
ทองคำของเรามีอยู่แล้ว เราหาล้อทั้ง ๒ ของ
เรือนรถนั้นยังไม่ได้ ด้วยความทุกข์อันนั้น
เราจักตายเป็นแน่.

เมื่อพราหมณ์จะรับหาให้ จึงได้กล่าวคาถาที่ ๓ ว่า:-
ท่านต้องการรถชนิดไร รถทำด้วย
ทองคำ แก้วมณี โลหะ หรือรูปิยะ จงบอก
รถชนิดนั้นแก่เราเถิด เราจะทำรถให้แก่ท่าน
จะหาล้อทั้งคู่ใส่ให้เสร็จ.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ปาวท ความว่า ท่านต้องการรถ
ชนิดไร ? ชอบใจรถชนิดไร ? จงบอกรถชนิดนั้นเถิด เราจะทำรถให้
แก่ท่าน. บทว่า ปฏิปาทยามิ คือเราจะให้ท่านได้รับล้อทั้งคู่ที่เหมาะ
แก่เรือนรถ.
พระศาสดาผู้ตรัสรู้แล้ว ได้ตรัสด้วยคาถาที่มาณพฟังดังนั้นแล้ว
จึงได้กล่าวคาถาว่า:-

พระจันทร์และพระอาทิตย์ทั้ง ๒ งาม
ผ่องใสอยู่ในวิถีทั้ง ๒ ลอยไปในอากาศ รถ
ทองของเราย่อมงามด้วยพระจันทร์ และพระ-
อาทิตย์นั้นอันเป็นคู่ล้อ.
พราหมณ์ จึงกล่าวคาถาที่เหลือต่อจากนั้น ว่า:-
ดูก่อนมาณพ ท่านเป็นพาลแท้ ท่านได้
ปรารถนาสิ่งที่เขาไม่ปรารถนากัน เราเข้าใจ
ว่าท่านนั้นจักตายเสียเปล่า ท่านจักไม่ได้
พระจันทร์และพระอาทิตย์เลย.


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 08 ม.ค. 2019, 21:19 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
พึงทราบอธิบายในคาถาที่พราหมณ์กล่าว.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อปตฺถยํ แปลว่า อันเขาไม่พึง
ปรารถนากัน.

ลำดับนั้น มาณพ จึงได้กล่าวคาถา ว่า:-
แม้ความอุทัยแลอัสดงของพระจันทร์
และพระอาทิตย์นั้นก็ยังปรากฏอยู่ สีสรร-
วรรณะ และวิถีทางของพระจันทร์และพระ
อาทิตย์ทั้ง ๒ ก็ยังปรากฏอยู่ ส่วนบุคคลผู้
ล่วงลับไปแล้ว ย่อมไม่ปรากฏเลย บรรดาเรา
๒ คนผู้คร่ำครวญอยู่ ใครเล่าหนอจะเป็นคน
โง่เขลายิ่งกว่ากัน ?

พึงทราบอธิบายในคาถาที่มาณพกล่าว.
การขึ้นและการอัสดง ชื่อว่า คมนาคมนํ ในคาถานั้น.
สีสรรนั่นแหละ ชื่อว่า วณฺณธาตุ ในคำว่า อุภเยตฺถ วีถิโย
นี้ พึงทราบวินิจฉัยดังนี้ คือแม้ภูมิเป็นที่ไปและเป็นที่มาของพระจันทร์
และพระอาทิตย์ทั้ง ๒ ย่อมปรากฏอยู่ในอากาศว่า นี้เป็นวิถีของพระ-
จันทร์นี้เป็นวิถีของพระอาทิตย์.

บทว่า เปโต ปน ความว่า ส่วนสัตว์ผู้ไปแล้วสู่ปรโลก
ย่อมไม่ปรากฏเลย. บทว่า โก นุ โข ความว่า เมื่อเป็นเช่นนั้น
บรรดาเรา ๒ คนผู้คร่ำครวญอยู่ ใครเล่าหนอจะเป็นคนเขลายิ่งกว่ากัน.
เมื่อมาณพกล่าวอยู่อย่างนี้ พราหมณ์กำหนดความได้ จึงได้
กล่าวคาถา ว่า:-


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ม.ค. 2019, 07:16 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
แน่ะมาณพ ท่านพูดจริง บรรดาเรา
ทั้ง ๒ ผู้คร่ำครวญอยู่ เรานี่แหละเป็นคน
โง่เขลายิ่งกว่าท่าน เราปรารถนาผู้ตายไปยัง
ปรโลกแล้ว เหมือนเด็กร้องไห้อยากได้พระ-
จันทร์ฉะนั้น.

บรรดาบทเหล่านั้น สองบทว่า จนฺทํ วิย ทารโก ความว่า
เด็กชาวบ้านวัยหนุ่ม พึงร้องไห้เพื่อต้องการพระจันทร์ด้วยกล่าวว่า ท่าน
ทั้งหลายจงให้พระจันทร์แก่เราเถิด ดังนี้ฉันใด แม้เราก็ปรารถนาผู้ตาย
ไปยังปรโลกแล้วฉันนั้นเหมือนกัน.

พราหมณ์หายเศร้าโศกด้วยถ้อยคำของมาณพ เมื่อจะกล่าวชม
เชยมาณพ จึงได้กล่าวคาถาที่เหลือว่า:-
น่าสรรเสริญ ท่านมารดเราผู้เร่าร้อนให้
สงบระงับดับความกระวนกระวายทั้งปวงได้
เหมือนบุคคลดับไฟที่ติดเปรียบด้วยน้ำฉะนั้น.

ท่านได้ถอนลูกศรที่เสียบแทงหทัยของ
เราออกได้แล้ว ได้บรรเทาความโศกถึงบุตร
ของเราผู้ถูกความโศกครอบงำแล้วหนอ.
ดูก่อนมาณพ เราเป็นผู้ถอนลูกศรได้
แล้ว ปราศจากความโศก ไม่มีความขุ่นมัว เรา
จะไม่เศร้าโศก จะไม่ร้องไห้ เพราะได้ฟัง
ถ้อยคำของท่าน.

ลำดับนั้น มาณพกล่าวสอนพราหมณ์ว่า ท่านพราหมณ์ท่าน
ร้องไห้เพื่อประโยชน์แก่บุตรคนใด บุตรคนนั้นคือตัวข้าพเจ้าเป็นบุตร
ของท่าน ข้าพเจ้าเกิดในเทวโลกตั้งแต่นี้ท่านอย่าได้เศร้าโศกถึงเรา จง
ให้ทาน รักษาศีล กระทำอุโบสถกรรมดังนี้แล้ว ไปสู่วิมานของตน
แม้พราหมณ์ก็ตั้งอยู่ในโอวาทของมาณพนั้น ทำบุญมีให้ทานเป็นต้น
ตายแล้วไปเกิดในเทวโลก.

พระศาสดาครั้นทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแสดงแล้ว ทรง
ประกาศสัจธรรมเวลาจบสัจจะ กุฎุมพีดำรงอยู่ในโสดาปัตติผล พระ-
ทศพลทรงประชุมชาดกว่า เทพบุตรผู้แสดงธรรมในครั้งนั้น คือเรา
ตถาคต ฉะนี้แล.
จบ อรรถกถามัฏฐกุณฑลิชาดกที่ ๑๑

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ม.ค. 2019, 07:17 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
อรรถกถาพิลารโกสิยชาดกที่ ๑๒

พระศาสดาเมื่อประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน ทรงปรารภ
ภิกษุผู้มีทานเป็นเครื่องปลื้มใจรูป ๑ ตรัสพระธรรมเทศนานี้ มี
คำเริ่มต้นว่า อปจนฺตาปิ ดังนี้.

ได้ยินว่า ภิกษุรูปนั้นฟังพระธรรมเทศนาของพระผู้มีพระภาคเจ้า
แล้ว บวชในพระศาสนา จำเดิมแต่บวชแล้ว เป็นผู้มีทานเป็นเครื่อง
ปลื้มใจ มีอัธยาศัยยินดีในการให้ทาน ยังไม่ได้ให้บิณฑบาตที่ตกลงใน
บาตรแก่ผู้อื่นก่อนแล้วก็ไม่ฉัน โดยที่สุดได้แม้น้ำดื่มมา ยังไม่ให้แก่ผู้อื่น
แล้วก็ไม่ดื่ม ได้เป็นผู้ยินดียิ่งในทานด้วยอาการอย่างนี้.

ครั้งนั้นภิกษุทั้งหลายพากันพรรณนาคุณของภิกษุรูปนั้น ใน
ธรรมสภา พระศาสดาเสด็จมาตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บัดนี้
พวกเธอนั่งสนทนากันถึงเรื่องอะไร? เมื่อภิกษุเหล่านั้นกราบทูลให้ทรง
ทราบแล้ว รับสั่งให้เรียกภิกษุนั้นมาตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ ได้ยินว่า
เธอมีทานเป็นเครื่องปลื้มใจ มีอัธยาศัยยินดีในการให้ทาน จริงหรือ?

เมื่อภิกษุนั้นกราบทูลว่า จริงพระเจ้าข้า จึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
เมื่อก่อนภิกษุนี้ไม่มีศรัทธา ไม่มีความเลื่อมใส แม้แต่หยดน้ำมันก็ไม่
เอาปลายหญ้าคาจิ้มให้ใคร คราวนั้นเราทรมานเขาทำให้หมดพยศ ให้
ตั้งอยู่ในผลแห่งทานแม้ในภพต่อๆ มา ก็ยังละทานวัตรนั้นไม่ได้ ภิกษุ
ทั้งหลายทูลอาราธนาให้ตรัสเรื่องราว จึงทรงนำเอาเรื่องในอดีตมาสาธก
ดังต่อไปนี้:-

ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในพระนคร
พาราณสี พระโพธิสัตว์เกิดในตระกูลเศรษฐี เจริญวัยแล้วรวบรวมทรัพย์
ไว้ได้มาก ครั้นบิดาล่วงลับไปก็ได้ตำแหน่งเศรษฐี วันหนึ่งตรวจตราดู
ทรัพย์สมบัติแล้วคิดว่า ทรัพย์ยังปรากฏอยู่ แต่ผู้ที่ทำให้ทรัพย์เกิดขึ้น

ไม่ปรากฏ เราควรสละทรัพย์นี้ให้ทาน จึงให้สร้างโรงทานบำเพ็ญทาน
เป็นการใหญ่ตลอดชีวิต กาลเมื่อจะสิ้นอายุได้ให้โอวาทแก่บุตรไว้ว่า
เจ้าอย่าตัดทานวัตรนี้เสีย แล้วตายไปเกิดเป็นท้าวสักกะ ณ ดาวดึงส์
พิภพ. แม้บุตรของเศรษฐีนั้นก็ให้ทานเช่นนั้นเหมือนกัน แล้วกล่าว


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ม.ค. 2019, 07:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
สอนบุตรครั้นสิ้นอายุ ได้เกิดเป็นจันทเทพบุตร บุตรของเขาได้เกิดเป็น
สุริยเทพบุตร บุตรของเขาได้เกิดเป็นมาตลีสังคาหกเทพบุตร. บุตรของ
เขาได้เกิดเป็นคนธรรพ์เทพบุตร ชื่อปัญจสิขะ. แต่บุตรชั้นที่ ๖ เป็นคน
ไม่มีศรัทธา มีจิตกระด้างไม่รักการให้ทานเป็นคนตระหนี่. เขาให้คน
รื้อโรงทานเผาเสีย ให้โบยตีพวกยาจกไล่ไปสิ้น แม้หยาดน้ำผึ้งก็ไม่ริน
ให้แก่ใครๆ ด้วยหญ้าคา.

ในกาลครั้งนั้น ท้าวสักกเทวราชตรวจตราดูบุพกรรมของ
พระองค์ ใคร่ครวญว่า วงศ์ทานของเรายังเป็นไปอยู่หรือไม่หนอ ทรง
ทราบว่า บุตรของเราบำเพ็ญทานเกิดเป็นจันทเทพบุตร. บุตรของจันท-
เทพบุตรเกิดเป็นสุริยเทพบุตร. บุตรของสุริยเทพบุตรเกิดเป็นมาตลี
เทพบุตร บุตรของมาตลีเทพบุตรเกิดเป็นปัญจสิขเทพบุตร แต่บุตรชั้นที่

หกได้ตัดวงศ์ทานนั้นเสีย ครั้งนั้นพระองค์ได้ทรงมีพระดำริว่า เราจัก
ทรมานเศรษฐีผู้มีใจลามกนี้ให้รู้จักผลทานแล้วจักมา พระองค์จึงรับสั่ง
ให้หาจันทสุริย มาตลีและปัญจสิขเทพบุตรมาตรัสว่า ดูก่อนสหาย เศรษฐี
ที่ ๖ ในวงศ์ของพวกเราตัดวงศ์ตระกูลขาดเสียแล้ว ให้เผาโรงทาน ให้

ขับไล่พวกยาจกไปเสีย ไม่ให้อะไรแก่ใครๆ มาเถิดท่านทั้งหลาย พวก
เราจักไปทรมานเศรษฐีนั้น ดังนี้แล้วได้เสด็จไปยังกรุงพาราณสีพร้อม
ด้วยเทพบุตรทั้ง ๔ นั้น.

ขณะนั้น เศรษฐีไปเฝ้าพระราชา แล้วมาแลดูระหว่างถนน
อยู่ที่ซุ้มประตูที่ ๗ ท้าวสักกะตรัสกะเทพบุตรทั้ง ๔ ว่า เวลาเราเข้า
ไปแล้ว ท่านทั้งหลายจงตามเข้าไปโดยลำดับ ดังนี้แล้วไปยืนอยู่ในสำนัก
เศรษฐีตรัสว่า ดูก่อนมหาเศรษฐีผู้เจริญ ท่านจงให้โภชนะแก่ข้าพเจ้า

บ้าง เศรษฐีกล่าวว่า ท่านพราหมณ์ที่นี้ไม่มีภัตสำหรับท่าน ไปที่อื่นเถิด
ท้าวสักกะตรัสว่า ท่านมหาเศรษฐีผู้เจริญ เมื่อพราหมณ์ทั้งหลายขอภัต


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ม.ค. 2019, 07:19 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ท่านควรให้ เศรษฐีตอบว่า ท่านพราหมณ์ ภัตนี่หุงสุกแล้วก็ดี ที่จะ
พึงหุงก็ดี ไม่มีในเรือนของเรา ท่านจงไปที่อื่นเถิด. ท้าวสักกะตรัสว่า
ท่านมหาเศรษฐี เราจักกล่าวสรรเสริญท่านอย่างหนึ่งท่านจงฟัง เศรษฐี
ตอบว่า เราไม่ต้องการความสรรเสริญของท่าน ท่านจงไปเถิดอย่ายืน
อยู่ที่นี้เลย ท้าวสักกะทำเป็นไม่ได้ยินคำของเศรษฐี ได้ตรัสคาถา ๒
คาถาว่า:-

สัตบุรุษทั้งหลายแม้ไม่หุงกินเอง ได้
โภชนะมาแล้ว ก็ไม่ปรารถนาจะบริโภคผู้เดียว
ท่านหุงโภชนะไว้มิใช่หรือ การที่ท่านไม่ให้นั้น
ไม่สมควรแก่ท่าน.

บุคคลให้ทานไม่ได้ด้วยเหตุ ๒ อย่างนี้
คือความตระหนี่ ๑ ความประมาท ๑ บัณฑิต
ผู้รู้แจ้งเมื่อต้องการบุญพึงให้ทานแท้.

ความแห่งคาถาเหล่านั้นว่า ท่านมหาเศรษฐีผู้เจริญ สัตบุรุษ
ทั้งหลายผู้สงบแล้ว แม้ไม่หุงกินเองก็ปรารถนาจะให้โภชนะแม้ที่ได้มา
แล้วด้วยภิกขาจาร ย่อมไม่บริโภคผู้เดียว.

บทว่า กิเมว ตฺวํ ความว่า ทั้งๆ ที่ท่านหุงอยู่ก็ไม่ให้. บทว่า
น ตํ สมํ ความว่า การที่ท่านไม่ให้นั้น ไม่สมควรคือไม่เหมาะแก่ท่าน.
ก็บุคคลให้ทานไม่ได้ด้วยเหตุ ๒ อย่างคือ ความตระหนี่ ๑ ความ
ประมาท ๑. ก็มนุษย์ผู้เป็นบัณฑิต ผู้รู้แจ้ง ผู้เช่นกับด้วยท่าน เมื่อ
ต้องการบุญควรให้ทานทีเดียว.

เศรษฐีได้ฟังคำท้าวสักกะแล้วกล่าวว่า ถ้าเช่นนั้นท่านจงเข้าไป
นั่งที่เรือนเถิด จักได้หน่อยหนึ่ง ท้าวสักกะได้เข้าไปนั่งสวดสรรเสริญ
อยู่. ลำดับนั้น จันทเทพบุตรได้มาขอภัตกะเศรษฐีนั้นและเมื่อเศรษฐี
กล่าวว่า ภัตสำหรับท่านไม่มีจงไปเสียเถิด จึงกล่าวว่า ท่านมหาเศรษฐี
พราหมณ์คน ๑ นั่งอยู่แล้วภายในเรือน เห็นจะมีสวดพราหมณ์กระมัง

เราจักเข้าไปสวดบ้าง แม้เศรษฐีจะกล่าวว่า ไม่มีสวดพราหมณ์ท่าน
จงออกไป ก็กล่าวว่า ท่านมหาเศรษฐีเชิญท่านฟังบทสรรเสริญก่อน
แล้วกล่าวคาถา ๒ คาถาว่า:-


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ม.ค. 2019, 07:20 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
คนผู้ตระหนี่กลัวความยากจน ย่อมไม่
ให้อะไรๆ แก่ผู้ใดเลย ความกลัวจนนั่นแหละ
จะเป็นภัยแก่คนผู้ไม่ให้ คนตระหนี่ย่อมกลัว
ความอยากข้าวอยากน้ำ ความกลัวนั่นแหละ
จะกลับมาถูกต้องคนพาลทั้งในโลกนี้และโลก
หน้า.

เพราะเหตุนั้น บัณฑิตพึงครอบงำมลทิน
กำจัดความตระหนี่เสียแล้ว พึงให้ทานเถิด
เพราะบุญย่อมเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลายใน
โลกหน้า.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ยสฺส ภายติ ความว่า ย่อมกลัว
ความอยากข้าวอยากน้ำใดว่า เราให้แก่ชนเหล่าอื่นเสียแล้ว ก็จักกลาย
เป็นคนอยากข้าวอยากน้ำเสียเอง. บทว่า ตเมว เป็นต้น ความว่า
ความกลัว กล่าวคือความอยากข้าวอยากน้ำนั่นแหละ จะกลับมาถูกต้อง
คือเบียดเบียนคนพาลนั้น ทั้งในโลกนี้และโลกหน้าในที่ที่เขาเกิดแล้ว
เขาจะถึงความยากจนอย่างที่สุด บทว่า มลาภิภู คือครอบงำมลทินคือ
ความตระหนี่.

เศรษฐีได้ฟังคำของจันทเทพบุตรแม้นั้นแล้วกล่าวว่า ถ้าเช่นนั้น
ท่านจงเข้าไปจักได้หน่อยหนึ่ง จันทเทพบุตรเข้าไปนั่งใกล้ท้าวสักกะ
ต่อจากนั้นสุริยเทพบุตรปล่อยให้เวลาล่วงไปหน่อยหนึ่งแล้วมา เมื่อขอ
ภัตได้กล่าวคาถา ๒ คาถาว่า:-


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ม.ค. 2019, 07:21 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ทานผู้ให้ให้ได้ยาก เพราะต้องครอบงำ
ความตระหนี่ก่อนแล้วจึงให้ได้ การทำทานนั้น
ทำยากแท้ อสัตบุรุษทั้งหลาย ย่อมไม่ทำทาน
ตามที่สัตบุรุษทำแล้ว ธรรมของสัตบุรุษอันคน
อื่นรู้ได้ยาก.

เพราะเหตุนั้น การไปจากโลกนี้ของ
สัตบุรุษกับอสัตบุรุษจึงต่างกัน อสัตบุรุษย่อม
ไปนรก สัตบุรุษย่อมไปสวรรค์.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ทุทฺททํ ความว่า ขึ้นชื่อว่าทาน
บุคคลให้ได้ยาก เพราะผู้ที่จะให้ทานนั้นต้องครอบงำความตระหนี่เสีย
ก่อนจึงให้ได้. บทว่า ทุกฺกรํ ความว่า การทำทานนั้นทำยากแท้คล้าย
กับการรบศึก. บาทคาถาว่า อสนฺโต นานุกุพฺพนฺติ ความว่า พวก

อสัตบุรุษไม่รู้จักผลแห่งทาน ก็ไม่เดินตามทางที่พวกสัตบุรุษเหล่านั้น
ดำเนินไปแล้ว. บทว่า สตํ ธมฺโม ความว่า ธรรมของสัตบุรุษคือ
พระโพธิสัตว์ทั้งหลาย อันคนอื่นรู้ได้ยาก. บทว่า อสนฺโต ความว่า
พวกอสัตบุรุษไม่ให้ทานด้วยอำนาจแห่งความตระหนี่ ย่อมไปสู่นรก.


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ม.ค. 2019, 07:22 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
เศรษฐีไม่เห็นว่าจะหยิบเอาของที่ควรหยิบยื่นให้ไปได้ จึงกล่าว
ว่า ถ้าเช่นนั้น ท่านจงเข้าไปนั่งอยู่ในสำนักพราหมณ์ทั้งหลาย จักได้
หน่อยหนึ่ง. ต่อแต่นั้นมาตลีเทพบุตรปล่อยให้เวลาล่วงไปหน่อยหนึ่งแล้ว
มาขอภัต ในระหว่างที่เศรษฐีตอบว่า ไม่มีนั่นแหละ ได้กล่าวคาถาที่ ๗
ว่า:-

บัณฑิตพวก ๑ ให้ไทยธรรมแม้มีส่วน
เล็กน้อยได้ สัตว์บางพวกแม้มีไทยธรรมมากก็
ให้ไม่ได้ ทักษิณาทานที่บุคคลให้จากของเล็ก
น้อย ก็นับว่าเสมอด้วยการให้จำนวนพัน.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อปฺปมฺเปเก ปเวจฺฉนฺติ มีอธิบายว่า
ดูก่อนมหาเศรษฐี บุรุษผู้เป็นบัณฑิตบางพวก ย่อมแบ่งปัน คือย่อมให้
ไทยธรรมแม้น้อย. บทว่า พหุนา เป็นต้น ความว่า สัตว์บางพวก
แม้มีไทยธรรมมากก็ให้ไม่ได้ คือไม่ให้เลย.

ทานที่บุคคลเชื่อกรรมเชื่อผลแห่งกรรมแล้วให้ชื่อว่าทักษิณา.
บทว่า สหสฺเสน สมํ ความว่า ทักษิณาทานแม้ประมาณข้าว
สักทัพพีเดียวที่บุคคลให้แล้วอย่างนี้ ก็นับว่าเสมอกับด้วยการให้จำนวน
ตั้งพัน คือเป็นเช่นกับด้วยการให้จำนวนตั้งพันนั่นเทียว เพราะมีผลมาก.

เศรษฐีกล่าวกะมาตลีเทพบุตรแม้นั้นว่า ถ้าเช่นนั้น ท่านจงเข้า
ไปนั่งเถิด ต่อจากนั้นปัญจสิขเทพบุตร ปล่อยให้เวลาล่วงไปหน่อยหนึ่ง
แล้วมาขอภัต เมื่อเศรษฐีกล่าวว่า ไม่มีไปเสียเถิด จึงกล่าวว่า เราไม่
เลยไป ในเรือนนี้เห็นจะมีสวดพราหมณ์กระมัง เมื่อจะเริ่มธรรมกถา
แก่เศรษฐี จึงกล่าวคาถาที่ ๘ ว่า:-


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ม.ค. 2019, 07:51 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
แม้ผู้ใดเที่ยวไปขออาหารมา ผู้นั้นชื่อว่า
ประพฤติธรรม อนึ่ง บุคคลผู้เลี้ยงบุตรและ
ภรรยาของตน เมื่อไทยธรรมมีน้อย ก็เฉลี่ยให้
แก่สมณะและพราหมณ์ บุคคลนั้นชื่อว่าประ-
พฤติธรรม เมื่อคนตั้งแสนฆ่าสัตว์มาบูชาแก่
คนผู้ควรบูชาจำนวนพัน อิสรภาพนับตั้งแสน
นั้น ย่อมไม่ถึงแม้เสี้ยวแห่งผลทานของคน
เข็ญใจผู้ยังไทยธรรมให้เกิดโดยชอบให้อยู่.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ธมฺมํ ได้แก่ธรรมคือสุจริต ๓
ประการ. บทว่า สมุจฺฉกํ ความว่า แม้ผู้ใดเที่ยวไปขออาหารดิบแล
สุกตามบ้านก็ตาม นำผลาผลมาแต่ป่าก็ตาม ผู้นั้นชื่อว่าประพฤติธรรม
นั่นแล บทว่า ทารฺจ โปสํ ความว่า อนึ่ง บุคคลผู้เลี้ยงบุตรและ

ภรรยาของตน. บทว่า ททํ อปฺปกสฺมึ ความว่า แม้เมื่อไทยธรรม
มีน้อย เมื่อเฉลี่ยให้แก่สมณะและพราหมณ์ผู้ตั้งอยู่ในธรรม ชื่อว่า
ประพฤติอยู่ซึ่งธรรม. บทว่า สตสหสฺสานํ สหสฺสยาคินํ ความว่า
ยัญที่คนตั้งแสนฆ่าสัตว์อื่นมาบูชาแก่คนที่ควรบูชาจำนวนพัน คือ เมื่อ
อิสรชนตั้งแสนบูชาแก่คนที่ควรบูชาจำนวนพันอยู่.

บทว่า กลฺลํปิ นาคฺฆนฺติ ตถาวิธสฺส เต ความว่า อิสรภาพ
นับตั้งแสนนั้น คือ ยัญที่บูชาแก่คนที่ควรบูชาจำนวนพัน ย่อมไม่ถึง
เสี้ยวที่ ๑๖ แห่งผลทานของทุคคตมนุษย์ ผู้ยังไทยธรรมให้เกิดขึ้นโดย
ธรรมสม่ำเสมอให้อยู่.

ลำดับนั้น เศรษฐีได้กำหนดฟังถ้อยคำของปัญจสิขเทพบุตรแล้ว
ทีนั้นเศรษฐีเมื่อจะถามถึงเหตุแห่งการบูชาอันไร้ผล กะปัญจสิขเทพบุตร
นั้น จึงกล่าวคาถาที่ ๙ ว่า:-


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ม.ค. 2019, 07:52 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
เพราะเหตุไร ยัญนี้ก็ไพบูลย์มีค่ามาก
จึงไม่เท่าค่าแห่งผลทานที่บุคคลให้โดยชอบ
ธรรมเล่า ? ไฉนอิสรภาพนับด้วยแสนของผู้
ที่บูชามากมายหลายพันนั้น จึงไม่เท่าแม้ส่วน
เสี้ยวแห่งผลทานของคนเข็ญใจผู้ยังไทยธรรม
ให้เกิดโดยชอบให้อยู่.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ยฺโ ความว่า การให้และการ
บูชา. ชื่อว่าไพบูลย์ด้วยสามารถแห่งการบริจาคทรัพย์นับด้วยแสน และ
ชื่อว่ามีค่ามาก เพราะมีผลไพบูลย์ บทว่า สเมน ทินฺนสฺส ความว่า
เพราะเหตุไรจึงไม่เท่าค่าแห่งผลทานที่บุคคลให้โดยชอบธรรมเล่า ? บทว่า

กถํ สหสฺสานํ ความว่า ดูก่อนพราหมณ์ ไฉนอิสรภาพนับด้วยแสน
ของคนที่บูชาจำนวนพันๆ คือ ของคนจำนวนมากมายหลายพัน จึง
ไม่ถึงเสี้ยวที่ ๑๖ แห่งผลทานของทุคคตมนุษย์คนเดียว ผู้ยังไทยธรรม
ให้เกิดโดยธรรมแล้วให้อยู่.

ลำดับนั้น ปัญจสิขเทพบุตรเมื่อจะกล่าวแก่เศรษฐีนั้น ได้กล่าว
คาถาสุดท้ายว่า:-

เพราะว่าคนบางพวกตั้งอยู่ในกายกรรม
เป็นต้น อันไม่เสมอกัน ทำสัตว์ให้ลำบากบ้าง
ฆ่าให้ตายบ้าง ทำให้เศร้าโศกบ้าง แล้วจึงให้
ทาน ทักขิณาทานนั้นมีหน้าชุ่มไปด้วยน้ำตา
พร้อมทั้งอาชญา จึงไม่เท่าถึงส่วนเสี้ยวแห่งผล
ทานที่บุคคลให้แล้วโดยชอบธรรม เพราะอย่าง
นี้อิสรภาพนับด้วยแสน ของผู้ที่บูชามากมาย
หลายพันเหล่านั้น จึงไม่เท่าถึงส่วนเสี้ยวแห่ง
ผลทานของคนเข็ญใจผู้ยังไทยธรรมให้เกิดโดย
ชอบให้อยู่.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า วิสเม คือ ตั้งอยู่ในกายกรรมเป็น
ต้นอันไม่เสมอกัน. บทว่า ฆตฺวา คือ ทำสัตว์ให้ลำบาก. บทว่า วธิตฺวา
คือ ทำสัตว์ให้ตาย. บทว่า โสจยิตฺวา คือ ทำสัตว์ให้มีความเศร้าโศก.


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ม.ค. 2019, 07:52 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
เศรษฐีนั้น ฟังธรรมกถาของปัญจสิขเทพบุตรแล้ว กล่าวว่า
ถ้าเช่นนั้นไปเถิดท่านจงเข้าไปนั่งในเรือน จะได้หน่อยหนึ่ง ปัญจสิข-
เทพบุตรได้ไปนั่งในสำนักของพราหมณ์เหล่านั้น ลำดับนั้น พิลารโกสิย
เศรษฐีเรียกทาสีคน ๑ มาสั่งว่า เจ้าจงให้ข้าวลีบแก่พราหมณ์เหล่านี้
คนละทะนาน นางทาสีถือทะนานข้าวเปลือกเข้าไปหาพราหมณ์แล้ว
กล่าวว่า ท่านทั้งหลายจงเอาข้าวเปลือกเหล่านี้ไปหุงกิน ณ ที่ใดที่หนึ่ง

พราหมณ์ทั้งหลายกล่าวว่า พวกเราไม่ต้องการข้าวเปลือก พวกเรา
ไม่จับต้องข้าวเปลือก นางทาสีบอกเศรษฐีว่า ได้ยินว่าพราหมณ์ทั้งหลาย
ไม่จับต้องข้าวเปลือก เศรษฐีกล่าวว่า ถ้าเช่นนั้นเจ้าจงให้ข้าวสารแก่
พราหมณ์เหล่านั้น นางทาสีได้ถือเอาข้าวสารไปให้พวกพราหมณ์แล้ว
กล่าวว่า ท่านพราหมณ์ทั้งหลาย ขอพวกท่านจงรับเอาข้าวสารเถิด

พราหมณ์ทั้งหลายกล่าวว่า พวกเราไม่รับของดิบ นางทาสีบอกเศรษฐี
ว่า ข้าแต่นายได้ยินว่า พราหมณ์ทั้งหลายไม่รับของดิบ เศรษฐีกล่าวว่า
ถ้าเช่นนั้น เจ้าจงคดข้าวสำหรับโคกินใส่กระโหลกไปให้แก่พวก
พราหมณ์เหล่านั้น นางทาสีได้คดข้าวสุกสำหรับโคกินใส่กระโหลกไป

ให้พราหมณ์เหล่านั้นแล้ว พราหมณ์ทั้ง ๕ ปั้นข้าวเป็นคำๆ ใส่ปาก
ทำให้ข้าวติดคอแล้วกลอกตาไปมานอนทำเป็นตายหมดความรู้สึก ทาสี
เห็นดังนั้นคิดว่า พราหมณ์จักตาย จึงกลัวไปบอกเศรษฐีว่า ข้าแต่นาย
พราหมณ์เหล่านั้น ไม่อาจจะกลืนข้าวสำหรับโคได้ตายหมดแล้ว.


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 2252 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 145, 146, 147, 148, 149, 150, 151  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 7 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร