วันเวลาปัจจุบัน 29 มี.ค. 2024, 02:42  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


“อภิธรรม (สันสกฤต: abhidharma) หรืออภิธัมมะ (บาลี: abhidhamma) เป็นชื่อปิฎกศาสนาพุทธฉบับหนึ่งในปิฎกทั้งสามฉบับที่รวมเรียก "พระไตรปิฎก" อภิธรรมแปลว่าธรรมอันยิ่ง ปิฎกฉบับอภิธรรมนั้นเรียก "พระอภิธรรมปิฎก" ซึ่งว่าด้วยประมวลหลักธรรมและคำอธิบายที่เป็นหลักวิชาล้วนๆ ไม่มีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์และบุคคลเลย”



กลับไปยังกระทู้  [ 4 โพสต์ ]    Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 ส.ค. 2022, 04:49 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




arise-home-kids-74eacd87.png
arise-home-kids-74eacd87.png [ 469.42 KiB | เปิดดู 992 ครั้ง ]
การรักษาคือเป็นประโยชน์ต่อการเจริญกัมมัฏฐาน

สีลมยํ ปุญฺญกิริยวตฺถุ จินฺตามยิยา จ ปญฺญาย โยนิโส จ มนสิการสฺส
สาธารณํ ปทฎฺธานํ สีลมยํ ปุญฺญกิริยวตฺถุ บุญกิริยวัตถุที่เป็นศึล ปทฎฺฐานํ เป็น
ปทัฏฐาน สาธารณํ อย่างหนึ่ง จินฺตามยิยา จ ปญฺญาย แก่จินตามยปัญญา หรือ

จินตามยญาณ โยนิโส จ มนสิการสุส แค่โยนิโสมนสิการ(การพิจารณาโดยเทตุ
ผล)ในที่นี้ได้แก่ กมฺมฏฺฐานานุโยค การเจริญ (อนุโยค) กัมมัฏฐาน
เพราะฉะนั้น ถามว่า การเจริญกัมมัฏฐานควรรักษาศีอหรือไม่?
ดอบว่า - ควรรักษา เพราะศีลก็เป็นปทัฏฐานอย่างหนึ่งที่ทำให้การเจริญ
กัมมัฏฐานเป็นไปโดยราบรื่น แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าผู้ที่ไม่เคยรักษาศีลไม่
สามารถเจริญกัมมัฏฐานได้ ข้อนี้ขึ้นอยู่กับผู้ที่เจริญด้วยบางคนฆ่าสัตว์มาทั้งชีวิต
แต่ในบั้นปลายก็ยังบรรลุได้ บางคนเห็นว่าต้องรักษาศึลสถานเดียวจึงจะเจริญ
กัมมัฏฐานได้ จริง ๆ แล้วการรักษาศีลเป็นบุญที่ทรงพลัง เป็นการกระทำที่ถูก
ต้องและดีมาก ๆ แต่ถ้าในกรณีที่ถามว่าผู้ที่ไม่เคยรักษาศีลมาก่อนจะสามารถ
เจริญได้ไหม ขอตอบว่าก็สามารถจริญได้ แต่ว่าไม่สะควกเหมือนกับผู้ที่มีศีล
บริสุทธิ์ หรือหากต้องการจะตัดความกังวลใจก็สามารถสมาทานในขณะที่จะ
เจริญได้

ภาวนามยํปุญฺญกิริยวตฺถุ ภาวนามยา จ ปญฺญาย
สมฺมาทิฏฺฐิยา จ สาธารณํ ปทฏฺฐานํ


ภาวนามยํ ปุญฺกิริยวตฺถุ บุญกิริยาวัตถุที่เป็นการ
เจริญภาวนา ปทฎฺฐานํ เป็นปทัฏฐาน สาธารณํ อย่างหนึ่ง
ภาวนามยิยา จ ปญฺญาย แก่ภาวนามยปัญญาด้วย สมฺมาทิฏฺฐิยา
จ แก่สัมมาทิฏฐิด้วย

สัมมาทิฏฐิในที่นี้หมายเอาสัมมาทิฏฐิในอริยมรรคเพราะว่ามีความเกี่ยว
ข้องกับการทำภาวนา ไม่ใช่ส้มมาทิฏฐิที่ได้จากการฟังธรรม บุญกิริยาวัตถุกล่าว
คือการเจริญภาวนานี้ เป็นปทัฏฐานอย่างหนึ่ง แก่สัมมาทิฏฐิ ก็คำว่า สาธารณะ
อย่างหนึ่งนี้ ชี้ให้เห็นว่า สัมมาทิฏฐิข้งมีปทัฏฐานอย่างอื่นอีก

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 ส.ค. 2022, 04:54 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




arise-hpme-community-1ab4247f.png
arise-hpme-community-1ab4247f.png [ 443.19 KiB | เปิดดู 985 ครั้ง ]
อนึ่ง สัมมาทิฏฐิแท้ ไม่ไช่สัมมาทิฏฐิที่ได้มาจากคำอธิบายของคนอื่นแล้ว
เกิดมีความเห็นตรง แต่ส้มมาทิฏฐิในที่นี่เป็นสัมมาทิฏฐิตัวจริง เป็นสัมมาทิกฐิที่
เกิดขึ้นแล้วก็ไม่มีการทวนกลับไปเป็นมิจฉาทิฏฐิอีก เป็นสัมมาทิฏฐิที่อยู่ใน
อริยมรรค

ปติรูปเทสวาโส -การอยู่ในสถานที่เหมาะที่สบายสัปปายะ ที่สมควร ที่มี
การแสดงพระสัทธรรม ที่มีการพีงธรรม ก็สถานที่ที่ถึงพร้อมด้วยสิ่งเหล่านี้ ท่าน
เรียกว่า ปติรูปเทส (โปรดดูในมงคลสูตร ท่านจะอธิบายไว้โดยละเอียด)

ปติรูปเทสวาโส

วิเวกสฺส จ สมาธิสฺส จ สาธารณํ ปทฎฺฐานํ

ปติรูปเทสวาโส -การอยู่ในปติรูปเทส ปทฏฺฐาน่ .เป็น
ปหัฏฐาน สาธารณํ -อย่างหนึ่ง วิเวกสุส จ -แก่วิเวก ความสงัด
ความสงบ กายวิเวก สงบกาย จิตฺตวิเวก สงบจิด) สมาธิสฺส จ
-และแก่สมาธิ
อย่างเช่น ถ้ำจะเจริญสมาธิ ถ้ำไม่มีสถานที่สบาย บางครั้งก็อาจจะเจริญไม่
ได้ ฉะนั้น ก็ต้องหาสถานที่ที่เหมาะกับการเจริญกัมมัฏฐาน หมายถึงที่สัปปายะ
(สบาย) เหมาะแก่วิเวก ฉะนั่น สถานที่จึงเป็นส่วนสำคัญอย่างหนึ่งต่อการเจริญ
ภาวนา แต่ก็ไม่ได้หมายความว่า ความวิเวกก็ดี สมาธิก็ดี จะเกิดจากการอยู่ใน
ปดิรูปเทสอย่างเดียว ปติรูปเทสนั้นเป็นเพียงเหตุปังจัยหนึ่งเท่านั้นเอง เพราะ
ฉะนั้น การที่จะ ได้วิเวกจำเป็นต้องอาศัยปัจจัยเหตุอย่างอื่นด้วย

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 ส.ค. 2022, 05:37 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




arise-hpme-community-1ab4247f.png
arise-hpme-community-1ab4247f.png [ 482.02 KiB | เปิดดู 975 ครั้ง ]
,,,,,,,,

สปฺปุริสูปนิสฺสโย ติณฺณญฺจ อเวจฺจปฺปสาทานํ สมถสฺส จ สาธารณํ
ปทฎฺธานํ -เป็นปทัฏฐานอย่างหนึ่ง ติณฺณญฺจ อเวจุจปุปลาทาน แก่ความเสื่อมไส
ด้วยปัญญาในวัตถุ ๓ ประการ" สมถสฺส จ -และแก่สมถะ คือ สมาธิ

อตฺตสมฺมาปณิธานํ -การวางตนไว้โดยชอบ อตฺต ในที่นี้หมายถึง การตั้ง
จิตไว้โดยถูกต้อง (อตตสม์มาปณิธานํ เท่ากับ อตฺตสมฺมาปนิธิ) การตั้งจิตไว้ใน
ทางที่ชอบโคยถูกตรง สาธารณํ ปทฎฺฐนํ เป็นปทัฏฐานอย่างหนึ่ง หึริยา จ แก่
หิริ วิปสฺสนาย จ แก่วิปัสสนา
อกุสลปริจฺจาโค การละอกุศล อกุสลปริจฺจาโค ในที่นี้หมายถึง ปหาน-
ปริญญา คือ การกำหนดละ ละสิ่งที่เป็นอกุศล สาธารณํ ปทฎฺธานํ เป็นปพัฏฐาน
อย่างหนึ่ง กุสลวีมํสาย จ แก่ปัญญาที่พิจารณาในสิ่งที่เป็นกุศล สมาธินฺทริยสฺส จ
-แก่สมาธินทรีย์
ตามที่ท่านอธิบายไว้ว่า กุสลวีมํสาทติ ปฏิสงฺขานุปสฺสนาย ได้แก่ ปัญญา
ที่พิจารณา อันนี้หมายถึงที่เป็นปทัฏฐานอย่างหนึ่ง การไม่ทำบาปก็ทำให้เราคิด
เป็นบุญ ทำให้เป็นปทัฏฐานแก่สมาธินทรีย์ ซึ่งสมาธินทรีย์ ในที่นี้ท่านหมายเอา
มัคคสมาธินทรีย์ ได้แก่ สมาธิที่มีอยู่ในอริยมรรค

ธมฺมสฺวากุขาตตา กุสลมูลโรปนาย จ ผลสมาปตฺติยา จ
สาธารณํ ปทฎฺฐานํ.


.....??......?....?....?...........??.

* อเวจฺจปฺปสาท ความเสื่อมใสในพระรัตนตรัย(พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์) ซึ่งเป็นคใสวามเลื่อมใส
แบบพระอริยะกล่าวคือไม่หวั่นไหวหรือขึ้น ๆ ลง ๆ
อเวจฺจ หมายถึง พิจารณาด้วยปัญญาแล้วว่า สิ่งนี้ดีจริงจึงเกิดความเลื่อมใส อันนี้เรียกว่า "อเวจฺจปฺปสาท"
(เลื่อมใสแบบไม่หวั่นไหว)

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 ส.ค. 2022, 06:37 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




download-african-people-png-african-people-cut-out-png-image-with-no-background-pngkeycom.png
download-african-people-png-african-people-cut-out-png-image-with-no-background-pngkeycom.png [ 347.98 KiB | เปิดดู 965 ครั้ง ]
............

ธมฺมสฺวากฺขาตตา ความเป็นธรรมที่ตรัสไว้แล้ว เคือ
การตรัสธรรมไว้ถูกต้อง เป็นปทฏฺฐานอย่างหนึ่ง) กุสลมูล
โรปนาย จ แก่การทำกุศลมูล (โรปนะ หมายถึง การเพาะปลูก
เมลีดบุญคือกุศล คือ ถ้เราอ่านธรรมะที่ถูกต้องสมบูรณ์ทั้ง
อรรถะพยัญชนะก็สามารถทำให้เกิดบุญได้ คือ สามารถปลูก
เมล็ดกุศลมูล ผลสมาปตฺติยา จ แก่ผลสมาบัติ

อันนี้ก็ยากอยู่ เพราะว่า คำว่า ธมฺมสฺวากฺขาตตา เป็นคำพูดอย่างกว้าง ๆ
คือการที่ธรรมของพระพุทธเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว นอกจากจะทำให้เกิดบุญ เกิดกุศล
จิตแล้วยังก่อให้เกิดผลสมาบัติอีก ตรงกันข้ามหากเป็นสัทธรรมปฏิรูปก็ไม่อางที่
จะก่อให้เกิดบุญใด ๆ ได้ ก็เกิดขึ้น (คำว่า ผลสมาปตฺดิยา แปลว่า "แก่ผลสมาบัติ"
ไม่ใช่การถึงพร้อมแห่งผลธรรมดาทั่วไป)

สงฺฆสุปฺปฏิปนฺนตา -การที่พระสงฆ์ปฏิบัติ(ชอบ) คือการปฏิบัติถูกต้อง
ตามพระวินัย สาธารณํ ปทฎฺฐานํ -เป็นปทัฏฐานอย่างหนึ่ง สํฆสุฎฺฐุตาย -แก่
ความเป็นหมู่คณะที่ดี ความดีแก่สงฆ์เอง คือเป็นเหตุให้ภาพพจน์ของสงฆ์ดี

สตฺถุสมฺปทา อปฺปสนฺนญฺจ ปสาทาย ปสนฺนานญฺจ ภิยฺโยภาวาย สาธารณํ
ปทฏฺฐานํ สตฺถุสมฺปทา -ความถึงพร้อมแห่งพระศาสดา(สตฺถุ -พระศาสดาที่เป็น
บรมครู) สาธารณํ ปทฏฺฐานํ เป็นปทัฏฐานอย่างหนึ่ง อปฺปสนฺนานญฺจ ปสาทาย -
แก่ความเสื่อมใสของผู้ที่ขังไม่เลื่อมใส (ข้อนี้แสดงให้เห็นถึงความสำคัญของผู้
สอน) เราสามารถเทียบได้กับคนธรรมดา ที่พูดไม่เป็น ก็ไม่ทำให้คนเลื่อมใส แต่
ถ้าพระศาสนามีพระศาสดาผู้รู้สรรพสิ่งมีความสามารถทำให้ผู้ยังไม่เสื่อมใสให้
เกิดความเลื่อมใส ปสนฺนานฺจ ภิยฺโยภาวาย -ทำผู้ที่เลื่อมใสแล้วให้เกิดความ
เสื่อมใสยิ่งๆ ขึ้นไป (คำว่า"ปสนฺนานํ"ทำผู้ที่เลื่อมใสแล้ว ในที่นี้หมายถึง เลื่อมใส

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 4 โพสต์ ] 

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 18 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร