วันเวลาปัจจุบัน 28 มี.ค. 2024, 15:04  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


“อภิธรรม (สันสกฤต: abhidharma) หรืออภิธัมมะ (บาลี: abhidhamma) เป็นชื่อปิฎกศาสนาพุทธฉบับหนึ่งในปิฎกทั้งสามฉบับที่รวมเรียก "พระไตรปิฎก" อภิธรรมแปลว่าธรรมอันยิ่ง ปิฎกฉบับอภิธรรมนั้นเรียก "พระอภิธรรมปิฎก" ซึ่งว่าด้วยประมวลหลักธรรมและคำอธิบายที่เป็นหลักวิชาล้วนๆ ไม่มีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์และบุคคลเลย”



กลับไปยังกระทู้  [ 2 โพสต์ ]    Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 เม.ย. 2011, 23:24 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 30 เม.ย. 2007, 17:21
โพสต์: 4148

อายุ: 0
ที่อยู่: กทม.

 ข้อมูลส่วนตัว www


รูปภาพ

:b42: โ ล กุ ต ต ร จิ ต :b42:
นีน่า วัน กอร์คอม
แปลโดย ดวงเดือน บารมีธรรม

มูลนิธิศึกษาและเผยแพร่พระพุทธศาสนา



ก. พระอภิธรรมสอนให้เรารู้ความแตกต่างของกุศลจิตประเภทต่างๆ

มีกามาวจรจิต (กุศลจิตขั้นกามภูมิ)
รูปาวจรกุศลจิต (รูปฌาณจิต) และอรูปาวจรจิต ( อรูปฌาณจิต)

จิตเหล่านี้เป็นกุศลจิตทั้งสิ้น แต่ดับอนุสัยกิเลสไม่ได้

โลกุตตรกุศลจิต (มัคคจิต) เท่านั้น ดับอนุสัยกิเลสเป็นสมุจเฉท

เมื่อกิเลสทั้งหมดดับหมดสิ้นแล้ว สังสารวัฏฏ์ก็สิ้นสุดลง


(มีต่อ)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 เม.ย. 2011, 23:30 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 30 เม.ย. 2007, 17:21
โพสต์: 4148

อายุ: 0
ที่อยู่: กทม.

 ข้อมูลส่วนตัว www


ข. โลกุตตรจิตดับกิเลสได้เป็นสมุจเฉท ไม่เกิดอีกเลยจริงๆ หรือ

กิเลสมีมากมายเหลือเกิน
ทั้งโลภะ โทส และโมหะ
เรามีความตระหนี่ ความริษยา ความกังวล
ความสงสัย ความถือตน และกิเลสอื่นๆ อีกมากมาย

การยึดถือสิ่งต่างๆ ว่าเป็นตัวตนนั้นเหนียวแน่นเหลือเกิน
เรายึดถือกายและใจว่าเป็นของเรา


ดิฉันนึกไม่ออกเลยว่ากิเลสหล่านี้จะดับหมดไปได้อย่างไร


(มีต่อ)


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 2 โพสต์ ] 

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 14 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร