วันเวลาปัจจุบัน 29 มี.ค. 2024, 01:34  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


“อภิธรรม (สันสกฤต: abhidharma) หรืออภิธัมมะ (บาลี: abhidhamma) เป็นชื่อปิฎกศาสนาพุทธฉบับหนึ่งในปิฎกทั้งสามฉบับที่รวมเรียก "พระไตรปิฎก" อภิธรรมแปลว่าธรรมอันยิ่ง ปิฎกฉบับอภิธรรมนั้นเรียก "พระอภิธรรมปิฎก" ซึ่งว่าด้วยประมวลหลักธรรมและคำอธิบายที่เป็นหลักวิชาล้วนๆ ไม่มีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์และบุคคลเลย”



กลับไปยังกระทู้  [ 28 โพสต์ ]  ไปที่หน้า 1, 2  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 เม.ย. 2012, 12:45 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




cats.jpg
cats.jpg [ 41.62 KiB | เปิดดู 7403 ครั้ง ]
cats.jpg
cats.jpg [ 16.62 KiB | เปิดดู 7403 ครั้ง ]
(\ /)
( . .)´¯✿´¯✿´¯✿
c(")(")____/)_____./¯"""/')
¯¯¯¯¯¯¯¯¯\)¯¯¯¯¯'\_„„„„\)

อกุศลจิต ๑๒ ดวง มี(โลภะมูลจิต ๘ ดวง โทสะมูลจิต ๒ ดวง โมหะมูลจิต ๒ ดวง)

แสดงสังคหนัย
คือการนับจำนวนเจตสิกที่อยู่ในจิตตามที่ประกอบได้

โลภะมูลจิตดวงที่ ๑ มีเจตสิกประกอบอยู่ ๑๙ ดวง คือ
อัญญสมานาเจตสิก ๑๓

กลุ่มที่ ๒ มี ๖ ดวงคือ
โมจตุกเจตสิก ๔ โลภะเจตสิก ๑ ทิฏฐิเจตสิก ๑

หรือดังนี้
๑. ผัสสะ ๒. เวทนา ๓. สัญญา ๔. เจตนา ๕. เอกัคคตา ๖. ชีวิตินทรีย์ ๗. มนสิการ
๘. วิตก ๙. วิจาร ๑๐. อธิโมกข์ ๑๑. วิริยะ ๑๒. ปิติ ๑๓. ฉันทะ
๑๔. โมหะ ๑๕. อหิริกะ ๑๖. อโนตตัปปะ ๑๗. อุทธัจจะ
๑๘. โลภะ ๑๙. ทิฎฐิ

ดวงที่ ๑ ตามบาลีอ่านว่า : โสมนสฺสสหคตํ ทิฎฺฐิคตสมฺปยุตฺตํ อสงฺขาริกํ
ซึ่งแปลว่า : จิตที่เกิดขึ้นโดยไม่มีการชักชวน พร้อมกับความดีใจ ประกอบด้วยความเห็นผิด

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น


แก้ไขล่าสุดโดย ลุงหมาน เมื่อ 20 เม.ย. 2012, 13:31, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 เม.ย. 2012, 12:54 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




cats.jpg
cats.jpg [ 16.62 KiB | เปิดดู 7435 ครั้ง ]
อกุศลจิต ๑๒ ดวง มีโลภะมูลจิต ๘ ดวง โทสะมูลจิต ๒ ดวง โมหะมูลจิต ๒ ดวง

แสดงสังคหนัย
คือการนับจำนวนเจตสิกที่อยู่ในจิตตามที่ประกอบได้

โลภะมูลจิตดวงที่ ๒ มีเจตสิกประกอบอยู่ ๒๑ ดวง คือ
อัญญสมานาเจตสิก ๑๓

กลุ่มที่ ๒ มี ๘ คือ
โมจตุกเจตสิก ๔โลภะเจตสิก ๑ ทิฏฐิเจตสิก ๑ ถีนะมิทธะ ๒

หรือดังนี้
๑. ผัสสะ ๒. เวทนา ๓. สัญญา ๔. เจตนา ๕. เอกัคคตา ๖. ชีวิตินทรีย์ ๗. มนสิการ
๘. วิตก ๙. วิจาร ๑๐. อธิโมกข์ ๑๑. วิริยะ ๑๒. ปิติ ๑๓. ฉันทะ
๑๔. โมหะ ๑๕. อหิริกะ ๑๖. อโนตตัปปะ ๑๗. อุทธัจจะ
๑๘. โลภะ ๑๙. ทิฎฐิ ๒๐. ถีนะ ๒๑. มิทธะ

ดวงที่ ๒ ตามบาลีอ่านว่า : โสมนสฺสสหคตํ ทิฎฺฐิคตสมฺปยุตฺตํ สสงฺขาริกํ
ซึ่งแปลว่า : จิตที่เกิดขึ้นโดยมีการชักชวน พร้อมกับความดีใจ ประกอบด้วยความเห็นผิด

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 เม.ย. 2012, 12:57 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




cats.jpg
cats.jpg [ 16.62 KiB | เปิดดู 7435 ครั้ง ]
อกุศลจิต ๑๒ ดวง มี (โลภะมูลจิต ๘ ดวง โทสะมูลจิต ๒ ดวง โมหะมูลจิต ๒ ดวง )

แสดงสังคหนัย
คือการนับจำนวนเจตสิกที่อยู่ในจิตตามที่ประกอบได้

โลภะมูลจิตดวงที่ ๓ มีเจตสิกประกอบอยู่ ๑๙ ดวง คือ
อัญญสมานาเจตสิก ๑๓

กลุ่มที่ ๒ มี ๖ คือ
โมจตุกเจตสิก ๔โลภะเจตสิก ๑ มานะเจตสิก ๑

หรือดังนี้
๑. ผัสสะ ๒. เวทนา ๓. สัญญา ๔. เจตนา ๕. เอกัคคตา ๖. ชีวิตินทรีย์ ๗. มนสิการ
๘. วิตก ๙. วิจาร ๑๐. อธิโมกข์ ๑๑. วิริยะ ๑๒. ปิติ ๑๓. ฉันทะ

๑๔. โมหะ ๑๕. อหิริกะ ๑๖. อโนตตัปปะ ๑๗. อุทธัจจะ
๑๘. โลภะ ๑๙. มานะ

ดวงที่ ๓ ตามบาลีอ่านว่า : โสมนสฺสสหคตํ ทิฎฺฐิคตวิปฺปยุตฺตํ อสงฺขาริกํ
ซึ่งแปลว่า : จิตที่เกิดขึ้นโดยไม่มีการชักชวน พร้อมกับความดีใจ ไม่ประกอบด้วยความเห็นผิด

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 เม.ย. 2012, 12:59 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




cats.jpg
cats.jpg [ 16.62 KiB | เปิดดู 7435 ครั้ง ]
อกุศลจิต ๑๒ ดวง มี (โลภะมูลจิต ๘ ดวง โทสะมูลจิต ๒ ดวง โมหะมูลจิต ๒ ดวง )

แสดงสังคหนัย
คือการนับจำนวนเจตสิกที่อยู่ในจิตตามที่ประกอบได้

โลภะมูลจิต ดวงที่ ๔ มี เจตสิกประกอบอยู่ ๒๑ ดวง คือ
อัญญสมานาเจตสิก ๑๓

กลุ่มที่ ๒ มี ๘ คือ
โมจตุกเจตสิก ๔โลภะเจตสิก ๑ มานะเจตสิก ๑ ถีนะเจตสิก ๑ มิทธะเจตสิก ๑

หรือดังนี้
๑. ผัสสะ ๒. เวทนา ๓. สัญญา ๔. เจตนา ๕. เอกัคคตา ๖. ชีวิตินทรีย์ ๗. มนสิการ
๘. วิตก ๙. วิจาร ๑๐. อธิโมกข์ ๑๑. วิริยะ ๑๒. ปิติ ๑๓. ฉันทะ

๑๔. โมหะ ๑๕. อหิริกะ ๑๖. อโนตตัปปะ ๑๗. อุทธัจจะ
๑๘. โลภะ ๑๙. มานะ
๒๐. ถีนะ ๒๑. มิทธะ

ดวงที่ ๓ ตามบาลีอ่านว่า : โสมนสฺสสหคตํ ทิฎฺฐิคตวิปฺปยุตฺตํ สสงฺขาริกํ
ซึ่งแปลว่า : จิตที่เกิดขึ้นโดยมีการชักชวน พร้อมกับความดีใจ ไม่ประกอบด้วยความเห็นผิด

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 เม.ย. 2012, 13:05 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




cats.jpg
cats.jpg [ 16.62 KiB | เปิดดู 7435 ครั้ง ]
อกุศลจิต ๑๒ ดวง มี (โลภะมูลจิต ๘ ดวง โทสะมูลจิต ๒ ดวง โมหะมูลจิต ๒ ดวง )

แสดงสังคหนัย
คือการนับจำนวนเจตสิกที่อยู่ในจิตตามที่ประกอบได้

โลภะมูลจิตดวงที่ ๕ มีเจตสิกประกอบอยู่ ๑๘ ดวง คือ
อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปิติ)

กลุ่มที่ ๒ มี ๖ คือ
โมจตุกเจตสิก ๔โลภะเจตสิก ๑ ทิฏฐิเจตสิก ๑

หรือดังนี้
๑. ผัสสะ ๒. เวทนา ๓. สัญญา ๔. เจตนา ๕. เอกัคคตา ๖. ชีวิตินทรีย์ ๗. มนสิการ
๘. วิตก ๙. วิจาร ๑๐. อธิโมกข์ ๑๑. วิริยะ ๑๒. ฉันทะ (เว้นปีติ)

๑๓. โมหะ ๑๔. อหิริกะ ๑๕. อโนตตัปปะ ๑๖. อุทธัจจะ
๑๗. โลภะ ๑๘. ทิฏฐิ

ดวงที่ ๕ ตามบาลีอ่านว่า : อุเบกขาสสหคตํ ทิฎฺฐิคตสัมฺปยุตฺตํ อสงฺขาริกํ
ซึ่งแปลว่า : จิตที่เกิดขึ้นโดยไม่มีการชักชวน พร้อมกับความเฉยๆ ประกอบด้วยความเห็นผิด

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 เม.ย. 2012, 13:07 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




cats.jpg
cats.jpg [ 16.62 KiB | เปิดดู 7435 ครั้ง ]
อกุศลจิต ๑๒ ดวง มี (โลภะมูลจิต ๘ ดวง โทสะมูลจิต ๒ ดวง โมหะมูลจิต ๒ ดวง )

แสดงสังคหนัย
คือการนับจำนวนเจตสิกที่อยู่ในจิตตามที่ประกอบได้

โลภะมูลจิตดวงที่ ๖ มีเจตสิกประกอบอยู่ ๒๐ ดวง คือ
อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปิติ)

กลุ่มที่ ๒ มี ๘ คือ
โมจตุกเจตสิก ๔โลภะเจตสิก ๑ ทิฏฐิเจตสิก ๑ ถีนะเจตสิก ๑ มิทธะเจตสิก ๑

หรือดังนี้
๑. ผัสสะ ๒. เวทนา ๓. สัญญา ๔. เจตนา ๕. เอกัคคตา ๖. ชีวิตินทรีย์ ๗. มนสิการ
๘. วิตก ๙. วิจาร ๑๐. อธิโมกข์ ๑๑. วิริยะ ๑๒. ฉันทะ (เว้นปีติ)

๑๓. โมหะ ๑๔. อหิริกะ ๑๕. อโนตตัปปะ ๑๖. อุทธัจจะ
๑๗. โลภะ ๑๘. ทิฏฐิ
๑๙. ถีนะเจตสิก ๒๐ มิทธะเจตสิก

ดวงที่ ๖ ตามบาลีอ่านว่า : อุเบกขาสสหคตํ ทิฎฺฐิคตสัมฺปยุตฺตํ สสงฺขาริกํ
ซึ่งแปลว่า : จิตที่เกิดขึ้นโดยมีการชักชวน พร้อมกับความเฉยๆ ประกอบด้วยความเห็นผิด

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 เม.ย. 2012, 13:08 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




cats.jpg
cats.jpg [ 16.62 KiB | เปิดดู 7435 ครั้ง ]
อกุศลจิต ๑๒ ดวง มี (โลภะมูลจิต ๘ ดวง โทสะมูลจิต ๒ ดวง โมหะมูลจิต ๒ ดวง )

แสดงสังคหนัย
คือการนับจำนวนเจตสิกที่อยู่ในจิตตามที่ประกอบได้

โลภะมูลจิตดวงที่ ๗ มีเจตสิกประกอบอยู่ ๑๘ ดวง คือ
อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปิติ)

กลุ่มที่ ๒ มี ๖ คือ
โมจตุกเจตสิก ๔ โลภะเจตสิก ๑ มานะเจตสิก ๑

หรือดังนี้
๑. ผัสสะ ๒. เวทนา ๓. สัญญา ๔. เจตนา ๕. เอกัคคตา ๖. ชีวิตินทรีย์ ๗. มนสิการ
๘. วิตก ๙. วิจาร ๑๐. อธิโมกข์ ๑๑. วิริยะ ๑๒. ฉันทะ (เว้นปีติ)

๑๓. โมหะ ๑๔. อหิริกะ ๑๕. อโนตตัปปะ ๑๖. อุทธัจจะ
๑๗. โลภะ ๑๘. มานะ

ดวงที่ ๗ ตามบาลีอ่านว่า : อุเบกขาสสหคตํ ทิฎฺฐิคตวิปฺปยุตฺตํ อสงฺขาริกํ
ซึ่งแปลว่า : จิตที่เกิดขึ้นโดยไม่มีการชักชวน พร้อมกับความเฉยๆ ไม่ประกอบด้วยความเห็นผิด

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 เม.ย. 2012, 13:10 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




cats.jpg
cats.jpg [ 16.62 KiB | เปิดดู 7435 ครั้ง ]
อกุศลจิต ๑๒ ดวง มี (โลภะมูลจิต ๘ ดวง โทสะมูลจิต ๒ ดวง โมหะมูลจิต ๒ ดวง )

แสดงสังคหนัย
คือการนับจำนวนเจตสิกที่อยู่ในจิตตามที่ประกอบได้

โลภะมูลจิตดวงที่ ๘ มีเจตสิกประกอบอยู่ ๒๐ ดวง คือ
อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปิติ)

กลุ่มที่ ๒ มี ๘ คือ
โมจตุกเจตสิก ๔ โลภะเจตสิก ๑ มานะเจตสิก ๑ ถีนะเจตสิก ๑ มิทธะเจตสิก ๑

หรือดังนี้
๑. ผัสสะ ๒. เวทนา ๓. สัญญา ๔. เจตนา ๕. เอกัคคตา ๖. ชีวิตินทรีย์ ๗. มนสิการ
๘. วิตก ๙. วิจาร ๑๐. อธิโมกข์ ๑๑. วิริยะ ๑๒. ฉันทะ (เว้นปีติ)

๑๓. โมหะ ๑๔. อหิริกะ ๑๕. อโนตตัปปะ ๑๖. อุทธัจจะ
๑๗. โลภะ ๑๘. มานะ
๑๙. ถีนะ ๒๐. มิทธะ

ดวงที่ ๘ ตามบาลีอ่านว่า : อุเบกขาสสหคตํ ทิฎฺฐิคตวิปฺปยุตฺตํ สสงฺขาริกํ
ซึ่งแปลว่า : จิตที่เกิดขึ้นโดยมีการชักชวน พร้อมกับความเฉยๆ ไม่ประกอบด้วยความเห็นผิด

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 เม.ย. 2012, 13:12 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




cats.jpg
cats.jpg [ 16.62 KiB | เปิดดู 7435 ครั้ง ]
อกุศลจิต ๑๒ ดวง มี (โลภะมูลจิต ๘ ดวง โทสะมูลจิต ๒ ดวง โมหะมูลจิต ๒ ดวง )

แสดงสังคหนัย
คือการนับจำนวนเจตสิกที่อยู่ในจิตตามที่ประกอบได้

โทสะมูลจิตดวงที่ ๑ มีเจตสิกประกอบอยู่ ๒๐ ดวง คือ
อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปิติ)

กลุ่มที่ ๒ มี ๘ คือ
โมจตุกเจตสิก ๔ โทจตุกเจตสิก ๔

หรือดังนี้
๑. ผัสสะ ๒. เวทนา ๓. สัญญา ๔. เจตนา ๕. เอกัคคตา ๖. ชีวิตินทรีย์ ๗. มนสิการ
๘. วิตก ๙. วิจาร ๑๐. อธิโมกข์ ๑๑. วิริยะ ๑๒. ฉันทะ (เว้นปีติ)

๑๓. โมหะ ๑๔. อหิริกะ ๑๕. อโนตตัปปะ ๑๖. อุทธัจจะ
๑๗. โทสะ ๑๘. อิสสา ๑๙. มัจฉริยะ ๒๐. กุกกุจจะ

ดวงที่ ๑ ตามบาลีอ่านว่า : โทมนสฺสหคตํ ปฏิฆสมฺปยุตฺตํ อสงฺขาริกํ
ซึ่งแปลว่า : จิตที่เกิดขึ้นโดยไม่มีการชักชวน พร้อมด้วยความเสียใจ ประกอบด้วยความโกรธ

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 เม.ย. 2012, 13:14 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




cats.jpg
cats.jpg [ 16.62 KiB | เปิดดู 7435 ครั้ง ]
อกุศลจิต ๑๒ ดวง มี (โลภะมูลจิต ๘ ดวง โทสะมูลจิต ๒ ดวง โมหะมูลจิต ๒ ดวง )

แสดงสังคหนัย
คือการนับจำนวนเจตสิกที่อยู่ในจิตตามที่ประกอบได้

โทสะมูลจิตดวงที่ ๒ มีเจตสิกประกอบอยู่ ๒๒ ดวง คือ
อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปิติ)

กลุ่มที่ ๒ มี ๘ คือ
โมจตุกเจตสิก ๔ โทจตุกเจตสิก ๔ ถีทุกะ ๒

หรือดังนี้
๑. ผัสสะ ๒. เวทนา ๓. สัญญา ๔. เจตนา ๕. เอกัคคตา ๖. ชีวิตินทรีย์ ๗. มนสิการ
๘. วิตก ๙. วิจาร ๑๐. อธิโมกข์ ๑๑. วิริยะ ๑๒. ฉันทะ (เว้นปีติ)

๑๓. โมหะ ๑๔. อหิริกะ ๑๕. อโนตตัปปะ ๑๖. อุทธัจจะ
๑๗. โทสะ ๑๘. อิสสา ๑๙. มัจฉริยะ ๒๐. กุกกุจจะ
๒๑. ถีนะ ๒๒. มิทธะ

ดวงที่ ๒ ตามบาลีอ่านว่า : โทมนสฺสหคตํ ปฏิฆสมฺปยุตฺตํ สสงฺขาริกํ
ซึ่งแปลว่า : จิตที่เกิดขึ้นโดยมีการชักชวน พร้อมด้วยความเสียใจ ประกอบด้วยความโกรธ

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 เม.ย. 2012, 13:17 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




cats.jpg
cats.jpg [ 16.62 KiB | เปิดดู 7435 ครั้ง ]
อกุศลจิต ๑๒ ดวง มี (โลภะมูลจิต ๘ ดวง โทสะมูลจิต ๒ ดวง โมหะมูลจิต ๒ ดวง )

แสดงสังคหนัย
คือการนับจำนวนเจตสิกที่อยู่ในจิตตามที่ประกอบได้

โมหะมูลจิตดวงที่ ๑ มีเจตสิกประกอบอยู่ ๑๕ ดวง คือ
อัญญสมานาเจตสิก ๑๐ (เว้น อธิโมกข์,ปิติ, ฉันทะ)

กลุ่มที่ ๒ มี ๕ คือ
โมจตุกเจตสิก ๔ วิจิกิจฉา ๑

หรือดังนี้
๑. ผัสสะ ๒. เวทนา ๓. สัญญา ๔. เจตนา ๕. เอกัคคตา ๖. ชีวิตินทรีย์ ๗. มนสิการ
๘. วิตก ๙. วิจาร ๑๐. วิริยะ (เว้น อธิโมกข์.ปีติ. ฉันทะ)

๑๑. โมหะ ๑๒. อหิริกะ ๑๓. อโนตตัปปะ ๑๔. อุทธัจจะ
๑๕. วิจิกิจฉา

ดวงที่ ๑ ตามบาลีอ่านว่า : อุเปกฺขาสหคตํ วิจิกิจฺฉาสมฺปยุตฺตํ
ซึ่งแปลว่า : จิตที่เกิดขึ้นพร้อมด้วยความเฉยๆ ประกอบด้วยความสงสัย

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 เม.ย. 2012, 13:38 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




cats.jpg
cats.jpg [ 16.62 KiB | เปิดดู 7435 ครั้ง ]
อกุศลจิต ๑๒ ดวง มี (โลภะมูลจิต ๘ ดวง โทสะมูลจิต ๒ ดวง โมหะมูลจิต ๒ ดวง )

แสดงสังคหนัย
คือการนับจำนวนเจตสิกที่อยู่ในจิตตามที่ประกอบได้

โมหะมูลจิตดวงที่ ๒ มีเจตสิกประกอบอยู่ ๑๕ ดวง คือ
อัญญสมานาเจตสิก ๑๑ (เว้น ปิติ, ฉันทะ)

กลุ่มที่ ๒ มี ๔ คือ
โมจตุกเจตสิก ๔

หรือดังนี้
๑. ผัสสะ ๒. เวทนา ๓. สัญญา ๔. เจตนา ๕. เอกัคคตา ๖. ชีวิตินทรีย์ ๗. มนสิการ
๘. วิตก ๙. วิจาร ๑๐. อธิโมกข์ ๑๑. วิริยะ (เว้น ปีติ. ฉันทะ)
๑๒. โมหะ ๑๓. อหิริกะ ๑๔. อโนตตัปปะ ๑๕. อุทธัจจะ

ดวงที่ ๒ ตามบาลีอ่านว่า : อุเปกฺขาสหคตํ อุทฺธจฺจสมฺปยุตฺตํ
ซึ่งแปลว่า : จิตที่เกิดขึ้นพร้อมด้วยความเฉยๆ ประกอบด้วยความฟุ้งซ่าน

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 08 ก.ค. 2013, 11:27 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




cats.jpg
cats.jpg [ 17.13 KiB | เปิดดู 7434 ครั้ง ]
อเหตุกจิต ๑๘

อเหตุกอกุศลวิปากจิต ๗ คือเป็นผลของอกุศลจิต ๑๒
อเหตุกกุศลวิปากจิต ๘ คือเป็นผลของมหากุศลจิต ๘
อเหตุกกิริยาจิต ๓ ดวง เป็นจิตของพระอรหันต์ที่ไม่เป็นอกุศลและกุศลเป็นเพียงกิริยาจิต(ไม่เป็นผลบุญเป็นผลบาป)

ดวงที่ ๑.๒.๓.๔.๕ มีเจตสิกเกิดร่วม ๗ ดวง คือ สัพพจิตตสาธารณะจิต ๗ ได้แก่
๑. ผัสสะ ๒. เวทนา ๓. สัญญา ๔. เจตนา ๕. เอกัคคตา ๖. ชีวิตินทรีย์ ๗. มนสิการ
ดวงที่ ๑ ตามบาลีอ่านว่า: อุเปกขาสหคตํ อกุศลวิปากํ จกฺขุวิญฺญาณํ = จิตที่อาศัยจักขุวัตถุเกิด เกิดขึ้นพร้อมด้วยความเฉยๆ เป็นผลของอกุศลกรรม เห็นรูปารมณ์ที่ไม่ดี
ดวงที่ ๒ ตามบาลีอ่านว่า: อุเปกขาสหคตํ อกุศลวิปากํ โสตวิญฺญาณํ = จิตที่อาศัยโสตวัตถุเกิด เกิดขึ้นพร้อมด้วยความเฉยๆเป็นผลของอกุศลกรรม ได้ยินเสียงที่ไม่ดี
ดวงที่ ๓ ตามบาลีอ่านว่า: อุเปกขาสหคตํ อกุศลวิปากํ ฆานวิญฺญาณํ = จิตที่อาศัยฆานวัตถุเกิด เกิดขึ้นพร้อมด้วยความเฉยๆเป็นผลของอกุศลกรรม รู้กลิ่นที่ไม่ดี
ดวงที่ ๔ ตามบาลีอ่านว่า: อุเปกขาสหคตํ อกุศลวิปากํ ชิวฺหาวิญฺญาณํ = จิตที่อาศัยชิวหาวัตถุเกิด เกิดขึ้นพร้อมด้วยความเฉยๆเป็นผลของอกุศลกรรม รู้รสที่ไม่ดี
ดวงที่ ๕ ตามบาลีอ่านว่า: ทุกขสหคตํ อกุศลวิปากํ กายวิญฺญาณํ = จิตที่อาศัยกายวัตถุเกิด เกิดขึ้นพร้อมด้วยความทุกขเวทนา เป็นผลของอกุศลกรรมรู้สึกสัมผัสที่ไม่ดี
ดวงที่ ๖. มีเจตสิกเกิดร่วม ๑๐ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๐ (เว้นวิรียะ. ปิติ. ฉันทะ)
๑. ผัสสะ ๒. เวทนา ๓. สัญญา ๔. เจตนา ๕. เอกัคคตา ๖. ชีวิตินทรีย์ ๗. มนสิการ ๘.วิตก ๙. วิจาร ๑๐. อธิโมกข์
ดวงที่ ๖ ตามบาลีอ่านว่า: อุเปกขาสหคตํ อกุศลวิปากํ สมฺปฏิจฺฉนจิตฺตํ = จิตที่รับปัญจารมณ์ที่ไม่ดี เกิดขึ้นพร้อมด้วยความเฉยๆ เป็นผลของอกุศลกรรม

ดวงที่ ๗ มีเจตสิกเกิดร่วม ๑๐ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๐ (เว้น วิรียะ. ปีติ. ฉันทะ)
๑. ผัสสะ ๒. เวทนา ๓. สัญญา ๔. เจตนา ๕. เอกัคคตา ๖. ชีวิตินทรีย์ ๗. มนสิการ ๘. วิตก ๙. วิจาร ๑๐. อธิโมกข์
ดวงที่ ๗ ตามบาลีอ่านว่า: อุเปกฺขาสหคตํ อกุศลวิปากํ สนฺตีรณจิตฺตํ= จิตที่ไต่สวนปัญจารมณ์ที่ไม่ดี เกิดขึ้นพร้อมด้วยความเฉยๆ เป็นผลของอกุศลกรรม

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 02 พ.ย. 2015, 10:00 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




cats.jpg
cats.jpg [ 17.13 KiB | เปิดดู 7432 ครั้ง ]
ดวงที่ ๘.๙.๑๐.๑๑.๑๒. มีเจตสิกเกิดร่วม ๗ ดวง คือ สัพพจิตตสาธารณะจิต ๗ ได้แก่
๑. ผัสสะ ๒. เวทนา ๓. สัญญา ๔. เจตนา ๕. เอกัคคตา ๖. ชีวิตินทรีย์ ๗. มนสิการ
ดวงที่ ๘ ตามบาลีอ่านว่า: อุเปกขาสหคตํ กุศลวิปากํ จกฺขุวิญฺญาณํ = จิตที่อาศัยจักขุวัตถุเกิด เกิดขึ้นพร้อมด้วยความเฉยๆ เป็นผลของกุศลกรรม เห็นรูปารมณ์ที่ดี
ดวงที่ ๙ ตามบาลีอ่านว่า: อุเปกขาสหคตํ กุศลวิปากํ โสตวิญฺญาณํ = จิตที่อาศัยโสตวัตถุเกิด เกิดขึ้นพร้อมด้วยความเฉยๆ เป็ผลของกุศลกรรม ได้ยินเสียงที่ดี
ดวงที่ ๑๐ ตามบาลีอ่านว่า: อุเปกขาสหคตํ กุศลวิปากํ ฆานวิญฺญาณํ = จิตที่อาศัยฆานวัตถุเกิด เกิดขึ้นพร้อมด้วยความเฉยๆ เป็นผลของกุศลกรรม รู้กลิ่นที่ดี
ดวงที่ ๑๑ ตามบาลีอ่านว่า: อุเปกขาสหคตํ กุศลวิปากํ ชิวฺหาวิญฺญาณํ = จิตที่อาศัยชิวหาวัตถุเกิด เกิดขึ้นพร้อมด้วยความเฉยๆ เป็นผลของกุศลกรรม รู้รสที่ดี
ดวงที่ ๑๒ ตามบาลีอ่านว่า: สุขสหคตํ กุศลวิปากํ กายวิญฺญาณํ = จิตที่อาศัยกายวัตถุเกิด เกิดขึ้นพร้อมด้วยความสุขเวทนา เป็นผลของกุศลกรรม รู้สึกสัมผัสที่ดี
ดวงที่ ๑๓. มีเจตสิกเกิดร่วม ๑๐ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๐ (เว้นวิรียะ. ปิติ. ฉันทะ)
๑. ผัสสะ ๒. เวทนา ๓. สัญญา ๔. เจตนา ๕. เอกัคคตา ๖. ชีวิตินทรีย์ ๗. มนสิการ ๘.วิตก ๙. วิจาร ๑๐. อธิโมกข์
ดวงที่ ๑๓ ตามบาลีอ่านว่า: อุเปกขาสหคตํ กุศลวิปากํ สมฺปฏิจฺฉนจิตฺตํ = จิตที่เกิดขึ้นพร้อมด้วยความเฉยๆ เป็นผลของกุศลกรรม ทำหน้าที่รับอารมณ์ ทั้ง ๕ ที่ดี

ดวงที่ ๑๔ มีเจตสิกเกิดร่วม ๑๐ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๐ (เว้น วิรียะ. ปีติ. ฉันทะ)
๑. ผัสสะ ๒. เวทนา ๓. สัญญา ๔. เจตนา ๕. เอกัคคตา ๖. ชีวิตินทรีย์ ๗. มนสิการ ๘. วิตก ๙. วิจาร ๑๐. อธิโมกข์
ดวงที่ ๑๔ ตามบาลีอ่านว่า: อุเปกฺขาสหคตํ กุศลวิปากํ สนฺตีรณจิตฺตํ= จิตที่เกิดขึ้นพร้อมด้วยความเฉยๆ เป็นผลของกุศลกรรม ทำหน้าที่พิจารณาอารมณ์ทั้ง ๕ ที่ดี

ดวงที่ ๑๕ มีเจตสิกเกิดร่วม ๑๑ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๑ (เว้น วิรียะ. ฉันทะ)
๑. ผัสสะ ๒. เวทนา ๓. สัญญา ๔. เจตนา ๕. เอกัคคตา ๖. ชีวิตินทรีย์ ๗. มนสิการ ๘. วิตก ๙. วิจาร ๑๐. อธิโมกข์ ๑๑. ปีติ
ดวงที่ ๑๕ ตามบาลีอ่านว่า: โสมนสฺสสหคตํ กุศลวิปากํ สนฺตีรณจิตฺตํ= จิตที่เกิดขึ้นพร้อมด้วยความยินดี เป็นผลของกุศลกรรม ทำหน้าที่พิจารณาอารมณ์ทั้ง ๕ ที่ดียิ่ง

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 02 พ.ย. 2015, 10:01 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




cats.jpg
cats.jpg [ 17.13 KiB | เปิดดู 7432 ครั้ง ]
ดวงที่ ๑๖( มีเจตสิกเกิดร่วม ๑๐ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๐ (เว้น วิริยะ.ปีติ. ฉันทะ)
๑. ผัสสะ ๒. เวทนา ๓. สัญญา ๔. เจตนา ๕. เอกัคคตา ๖. ชีวิตินทรีย์ ๗. มนสิการ ๘. วิตก ๙. วิจาร ๑๐. อธิโมกข์
ดวงที่ ๑๖ ตามบาลีอ่านว่า: อุเปกฺขาสหคตํ ปญฺจทวาราวชฺนจิตฺตํ = จิตที่เกิดขึ้นพร้อมด้วยความเฉยๆ เพื่อพิจารณาอารมณ์ทางปัญจทวาร
หมายความว่า จิตดวงนี้ เป็นจิตที่ทำหน้าที่พิจารณาอารมณ์ที่มากระทบทวารนั้นๆ อุปมาเหมือนนายทวารที่รักษาประตูพระราชวัง ที่คอยเปิดประตูให้แขก
ผ่านมาตามฐานะของบุคคล ไม่ได้ติดตามไปทำหน้าที่อย่างอื่นเลย

ดวงที่ ๑๗( มีเจตสิกเกิดร่วม ๑๑ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๑ (เว้น ปีติ. ฉันทะ)
๑. ผัสสะ ๒. เวทนา ๓. สัญญา ๔. เจตนา ๕. เอกัคคตา ๖. ชีวิตินทรีย์ ๗. มนสิการ ๘. วิตก ๙. วิจาร ๑๐. อธิโมกข์ ๑๑.วิรียะ
ดวงที่ ๑๗ ตามบาลีอ่านว่า: อุเปกฺขาสหคตํ มโนทวาราวชฺนจิตฺตํ = จิตที่เกิดขึ้นพร้อมด้วยความเฉยๆ พิจารณาอารมณ์ทางมโนทวาร
เป็นจิตที่มีหน้าที่พิจารณาอารมณ์ ๖ หรือเป็นจิตที่ทำหน้าที่ตัดสินปัญจารมณ์ทางปัญจทวาร

ดวงที่ ๑๘( มีเจตสิกเกิดร่วม ๑๒ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้น ฉันทะ)
๑. ผัสสะ ๒. เวทนา ๓. สัญญา ๔. เจตนา ๕. เอกัคคตา ๖. ชีวิตินทรีย์ ๗. มนสิการ ๘. วิตก ๙. วิจาร ๑๐. อธิโมกข์ ๑๑.วิรียะ ๑๒. ปีติ
ดวงที่ ๑๘ ตามบาลีอ่านว่า: โสมนสฺสหคตํ หสิตุปฺปาทจิตฺตํ = จิตที่เกิดการยิ้มของพระอรหันต์ที่เกิดขึ้น เพราะการเห็นเปรต หรือเทพยานางฟ้าที่กำลังได้รับทุกข์อยู่ เป็นการเห็นด้วยกิริยาอภิญญาจิต ที่เป็นไปพร้อมด้วยการพิจารณาว่า สภาพเช่นนี้ไม่ปรากฎกับท่านอีกแล้ว เป็นการพิจารณาด้วยมหากิริยาญาณสัมปยุตจิตก่อน เมื่อพิจารณาแล้วหสิตุปาทจิตจึงเกิดขึ้น



จบการแสดงสังคหนัย หมายความว่า การนับจำนวนเจตสิกที่ประกอบกับจิตนั้นๆ ตามสมควรที่ประกอบได้ในอเหตุกจิต 18 ดวง

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 28 โพสต์ ]  ไปที่หน้า 1, 2  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 16 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร