ลานธรรมจักร
http://dhammajak.net/forums/

หลักสูตรชั้นจูฬอาภิธรรมิกเอก
http://dhammajak.net/forums/viewtopic.php?f=66&t=44988
หน้า 2 จากทั้งหมด 5

เจ้าของ:  ลุงหมาน [ 26 มี.ค. 2013, 07:33 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: หลักสูตรชั้นจูฬอาภิธรรมิกเอก

ตติยบท : อสงฺกิลิฏฺฐอสงฺกิเลสิกา ธมฺมา.
สภาวธรรมทั้งหลายที่ไม่ถูกทำให้กิเลสเศร้าหมองเร่าร้อน และไม่เป็นที่อาศัยเกิดของกิเลส
หรือไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสได้ มีอยู่
องค์ธรรมของตติยบท
ได้แก่ โลกุตตรจิต ๘ เจตสิก ๓๖. นิพพาน. ธรรมเหล่านี้เมื่อจำแนกโดยขันธ์ อายตนะ ธาตุ สัจจะแล้ว
ได้ขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๒ สัจจะ ๒

ขันธ์ ๔ คือ ในเจตสิก ๓๖ นั้น เวทนาเจตสิก เป็นเวทาขันธ์. สัญญาเจตสิก เป็นสัญญาขันธ์. เจตสิกที่เหลือ ๓๔ เป็นสังขารขันธ์. โลกุตตรจิต ๘ เป็นวิญญาณขันธ์. นิพพานเป็นขันธวิมุต

อายตนะ ๒ คือ โลกุตตรจิต ๘ เป็นมนายตนะ. เจตสิก ๓๖ นิพพาน เป็นธัมมายตนะ.

ธาตุ ๒ คือ โลกุตตรจิต ๘ เป็นมโนวิญญาณธาตุ. เจตสิก ๓๖ นิพพาน เป็นธัมมธาตุ.

สัจจะ ๒ คือ โลกุตตรจิต ๘ เจตสิก ๓๖ เป็นทุกขสัจจ์ มรรคมีองค์ ๘ ที่ในปฐมฌานมรรคมีองค์ ๗ (เว้นสังกัปปะมรรค) ที่ในทุติยฌานมรรคขึ้นไปเป็นมรรคสัจจ์. มัคคจิตตุปบาทที่เหลือ ๒๙ นิพพาน เป็นสัจจวิมุต

เจ้าของ:  ลุงหมาน [ 27 มี.ค. 2013, 07:16 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: หลักสูตรชั้นจูฬอาภิธรรมิกเอก

๖. สวิตกฺกติก

ปฐมบท : สวิตกฺกสวิจารา ธมฺมา.
สภาวธรรมทั้งหลายที่เกิดพร้อมด้วยวิตก และวิจาร มีอยู่
องค์ธรรมของปฐมบท :-
ได้แก่ สวิตักกสวิจารจิต ๕๕ คือ กามจิต ๔๔ (เว้นทวิปัญจวิญญาณจิต ๑๐) ปฐมฌานจิต ๑๑ เจตสิกที่ประกอบ ๕๐ (เว้น วิตก วิจาร) ธรรมเหล่านี้เมื่อจำแนกโดยขันธ์ อายตนะ ธาตุ สัจจะแล้ว
ได้ขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๓ สัจจะ ๓

ขันธ์ ๔ คือ ในเจตสิก ๕๐ นั้น เวทนาเจตสิก เป็นเวทาขันธ์. สัญญาเจตสิก เป็นสัญญาขันธ์. เจตสิกที่เหลือ ๔๘ เป็นสังขารขันธ์. สวิตักกสวิจารจิต ๕๕ คือ กามจิต ๔๔ (เว้นทวิปัญจวิญญาณจิต ๑๐) ปฐมฌานจิต ๑๑ เป็นวิญญาณขันธ์.

อายตนะ ๒ คือ สวิตักกสวิจารจิต ๕๕ เป็นมนายตนะ. เจตสิก ๕๐ เป็นธัมมายตนะ.

ธาตุ ๓ คือ ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ สัมปฏิจฉนจิต ๒เป็นมโนธาตุ. สวิตักกสวิจารจิต ที่เหลือ ๕๒ เป็นมโนวิญญาณธาตุ. เจตสิก ๕๐ เป็นธัมมธาตุ.

สัจจะ ๓ คือ โลกียสวิตักกสวิจารจิต ๔๗ เจตสิก ๔๙ (เว้นโลภะ) เป็นทุกขสัจจ์. โลภะเจตสิก เป็นสมุทัยสัจจ์ มรรคมีองค์ ๗ (เว้นสังกัปปะ) ที่ในมัคคสวิตักกสวิจารจิต ๔ เป็นมรรคสัจจ์. มัคคจิตตุปบาทที่เหลือ ๒๘ ผลจิตตุปบาท ๓๕ เป็นสัจจวิมุต.

ไฟล์แนป:
1481249450862.jpg
1481249450862.jpg [ 64.26 KiB | เปิดดู 5960 ครั้ง ]

เจ้าของ:  ลุงหมาน [ 28 มี.ค. 2013, 06:58 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: หลักสูตรชั้นจูฬอาภิธรรมิกเอก

ทุติยบท : อวิตกฺกวิจารมตฺตา ธมฺมา.
สภาวธรรมทั้งหลายที่ไม่มีวิตก มีแต่วิจารเท่านั้น มีอยู่
องค์ธรรมของทุติยบท :-
ได้แก่ ทุติยฌานจิต ๑๑ เจตสิกที่ประกอบ ๓๖ (เว้น วิจาร) และวิตกเจตสิก ๕๕ ที่ในสวิตักกสวิจารจิต ๕๕. รรมเหล่านี้เมื่อจำแนกโดยขันธ์ อายตนะ ธาตุ สัจจะแล้ว
ได้ขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๒ สัจจะ ๒

ขันธ์ ๔ คือ ในเจตสิก ๓๖ นั้น เวทนาเจตสิก เป็นเวทาขันธ์. สัญญาเจตสิก เป็นสัญญาขันธ์. เจตสิกที่เหลือ ๓๔ และวิตกเจตสิก ๕๕ เป็นสังขารขันธ์. ทุติยฌานจิต ๑๑ เป็นวิญญาณขันธ์.

อายตนะ ๒ คือ ทุติยฌาน ๑๑ เป็นมนายตนะ. เจตสิก ๓๖ เป็นธัมมายตนะ.

ธาตุ ๒ คือ ทุติยฌานจิต ๑๑ เป็นมโนวิญญาณธาตุ. เจตสิก ๓๖ เป็นธัมมธาตุ.

สัจจะ ๒ คือ โลกียทุติยฌานจิต ๓ เจตสิก ๓๓ และโลกียวิตกเจตสิก ๔๗ เป็นทุกขสัจจ์ มรรคมีองค์ ๗ (เว้นสัมมาสังกัปปะ) ที่ในทุติยฌานมัคคจิต ๔ และสัมมาสังกัปปมรรค คือ วิตกเจตสิก ๔ ที่ในปฐมฌานมรรคจิต ๔ เป็นมรรคสัจจ์. มัคคจิตตุปบาทที่เหลือ ๒๘ ผลจิตตุปบาท ๓๕ และวิตกเจตสิก ๔ ที่ในปฐมฌานผลจิต ๔ เป็นสัจจวิมุต.

เจ้าของ:  ลุงหมาน [ 29 มี.ค. 2013, 18:27 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: หลักสูตรชั้นจูฬอาภิธรรมิกเอก

ตติยบท : อวิตกฺกอวิจารา ธมฺมา.
สภาวธรรมทั้งหลายที่ไม่มีวิตกและวิจารเท่านั้น มีอยู่
องค์ธรรมของตติยบท :-
ได้แก่ อวิตักกอวิจารจิต ๕๕ คือ ทวิปัญจวิญญาณจิต ๑๐ ตติยฌานจิต ๑๑ จตุตถฌานจิต ๑๑ ปัญจมฌานจิต ๒๓ เจตสิกที่ประกอบ ๓๖ และวิจารเจตสิก ๑๑ ที่ในทุติยฌานจิต ๑๑ รูป ๒๘ นิพพาน.ธรรมเหล่านี้เมื่อจำแนกโดยขันธ์ อายตนะ ธาตุ สัจจะแล้ว
ได้ขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๗ สัจจะ ๓

ขันธ์ ๕ คือ รูป ๒๘ เป็นรูปขันธ์. ในเจตสิก ๓๖ นั้น เวทนาเจตสิก เป็นเวทาขันธ์. สัญญาเจตสิก เป็นสัญญาขันธ์. เจตสิกที่เหลือ ๓๔ และวิจารเจตสิก ๑๑ เป็นสังขารขันธ์. อวิตักกอวิจารจิต ๕๕ เป็นวิญญาณขันธ์. นิพพานเป็นขันธวิมุต.

อายตนะ ๑๒ คือ ในรูป ๒๘ นั้น จักขุปสาท เป็น จักขายตนะ. โสตปสาท เป็น โสตายตนะ. ฆานปสาท เป็น ฆานายตนะ. ชิวหาปสาท เป็น ชิวหายตนะ. กายปสาท เป็น กายายตนะ. รูปารมณ์ เป็น รูปายตนะ. สัทธารมณ์ เป็น สัททายตนะ. คันธารมณ์ เป็น คันธายตนะ. รสารมณ์ เป็นรสายตนะ.(ปถวี เตโช วาโย) โผฏฐัพพารมณ์ เป็น โผฏฐัพพายตนะ. อวิตักกอวิจารจิต ๕๕ เป็น มนายตนะ. เจตสิก ๓๖ สุขุมรูป ๑๖ และวิจารเจตสิก ๑๑ นิพพาน เป็นธัมมายตนะ

ธาตุ ๑๗ คือ ในรูป ๒๘ นั้น โอฬาริกรูป ๑๒ เป็นฬาริกธาตุ ๑๐ ทวิปัญจวิญญาณจิต ๑๐ เป็นวิญญธาตุ ๕ อวิตักกอวิจารจิตที่เหลือ ๔๕ เป็นมโนวิญญาณธาตุ. เจตสิก ๓๖ และวิจารเจตสิก ๑๑ สุขุมรูป ๑๖ นิพพาน เป็นธัมมธาตุ.


สัจจะ ๓ คือ โลกียอวิตักกอวิจารจิต ๓๑ เจตสิก ๓๓ และโลกียวิจารเจตสิก ๓ รูป ๒๘ เป็นทุกขสัจจ์. นิพพาน เป็นนิโรธสัจจ์ มรรคมีองค์ ๗ (เว้นสัมมาสังกัปปะ) ที่ในมัคคอวิตักกอวิจารจิต ๑๒ เป็นมรรคสัจจ์. มัคคจิตตุปบาทที่เหลือ ๒๘ ผลจิตตุปบาท ๓๕ และวิจารเจตสิก ๘ ที่ในโลกุตตรทุติยฌานจิต ๘ เป็นสัจจวิมุต.

วิจารเจตสิก ๕๕ ที่ในสวิตักกสวิจารจิต ๕๕ เป็นติกวิมุต
ติกะ นี้ชื่อว่า อาทิทฺธนามติก และชื่อว่า สปฺปเทสติก

เจ้าของ:  ลุงหมาน [ 30 มี.ค. 2013, 07:28 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: หลักสูตรชั้นจูฬอาภิธรรมิกเอก

๗. ปิติติก

ปฐมบท : ปิติสหคตา ธมฺมา.
สภาวธรรมทั้งหลายที่เกิดขึ้นพร้อมปีติ มีอยู่
องค์ธรรมของปฐมบท
ได้แก่ ปีติสหคตจิต ๕๑ คือ กามโสมนัสสหคตจิต ๑๘ ปฐมฌานจิต ๑๑ ทุติยฌานจิต ๑๑ ตติยฌานจิต ๑๑ เจตสิกที่ประกอบ ๔๖ (เว้นปีติ) ธรรมเหล่านี้เมื่อจำแนกโดย ขันธ์ อายตนะ ธาตุ สัจจะแล้ว
ได้ ขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๒ สัจจะ ๓

ขันธ์ ๔ คือ ในเจตสิก ๔๖ นั้น เวทนาเจตสิก เป็นเวทาขันธ์. สัญญาเจตสิก เป็นสัญญาขันธ์. เจตสิกที่เหลือ ๔๔ เป็นสังขารขันธ์. ปีติสหคตจิต ๕๑ เป็นวิญญาณขันธ์.

อายตนะ ๒ คือ ปีติสหคตจิต ๕๑ เป็นมนายตนะ. เจตสิก ๔๖ เป็นธัมมายตนะ.

ธาตุ ๒ คือ ปีติสหคตจิต ๕๑ เป็นมโนวิญญาณธาตุ. เจตสิก ๔๖ เป็นธัมมธาตุ.

สัจจะ ๓ คือ โลกียปีติสหคตจิต ๒๗ เจตสิกที่ประกอบ ๔๕ (เว้นโลภะ) เป็นทุกขสัจจ์. โลภะเจตสิก เป็น สมุทัยสัจจ์. มรรคมีองค์ ๘ มรรคมีองค์ ๗ ที่ในมัคคปีติสหคตจิต ๑๒ เป็นมรรคสัจจ์. มัคคจิตตุปบาทที่เหลือ ๒๘ ผลจิตตุปบาท ๓๖ เป็นสัจจวิมุต

ไฟล์แนป:
1481249973162.jpg
1481249973162.jpg [ 68.03 KiB | เปิดดู 5960 ครั้ง ]

เจ้าของ:  ลุงหมาน [ 30 มี.ค. 2013, 08:30 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: หลักสูตรชั้นจูฬอาภิธรรมิกเอก

ทุติยบท : สุขสหคตา ธมฺมา.
สภาวธรรมทั้งหลายที่เกิดขึ้นพร้อมสุขเวทนา มีอยู่
องค์ธรรมของทุติยบท
ได้แก่ สุขสหคตจิต ๖๓ เจตสิกที่ประกอบ ๔๖ (เว้นเวทนา) ธรรมเหล่านี้เมื่อจำแนกโดย ขันธ์ อายตนะ ธาตุ สัจจะแล้ว
ได้ ขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๓ สัจจะ ๓

ขันธ์ ๔ คือ ในเจตสิก ๔๖ นั้น เวทนาเจตสิก เป็นเวทาขันธ์. สัญญาเจตสิก เป็นสัญญาขันธ์. เจตสิกที่เหลือ ๔๔ เป็นสังขารขันธ์. สุขสหคตจิต ๖๓ เป็นวิญญาณขันธ์.

อายตนะ ๒ คือ สุขสหคตจิต ๖๓ เป็นมนายตนะ. เจตสิก ๔๖ เป็นธัมมายตนะ.

ธาตุ ๓ คือ สุขสหคตกายวิญญาณจิต ๑ เป็นมกายวิญญาณธาตุ. สุขสหคตจิตที่เหลือ ๖๒ มโนวิญญาณธาตุ. เจตสิก ๔๖ เป็นธัมมธาตุ.

สัจจะ ๓ คือ โลกียสุขสหคตจิต ๓๑ เจตสิกที่ประกอบ ๔๕ (เว้นโลภะ) เป็นทุกขสัจจ์. โลภะเจตสิก เป็น สมุทัยสัจจ์. มรรคมีองค์ ๘ มรรคมีองค์ ๗ ที่ในมัคคปีติสหคตจิต ๑๒ เป็นมรรคสัจจ์. มัคคจิตตุปบาทที่เหลือ ๒๘ ผลจิตตุปบาท ๓๖ เป็นสัจจวิมุต

เจ้าของ:  ลุงหมาน [ 30 มี.ค. 2013, 08:49 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: หลักสูตรชั้นจูฬอาภิธรรมิกเอก

ตติยบท : อุเปกฺขาสหคตา ธมฺมา.
สภาวธรรมทั้งหลายที่ที่เกิดพร้อมด้วยอุเบกขาเวทนา มีอยู่
องค์ธรรมของตติบท.
ได้แก่ อุเบกขาสหคตจิต ๕๕ เจตสิกที่ประกอบ ๔๖ (เว้นเวทนา) ธรรมเหล่านี้เมื่อจำแนกโดยขันธ์ อายตนะ ธาตุ สัจจะแล้ว ได้ขันธ์ ๓ อายตนะ ๒ ธาตุ ๗ สัจจะ ๓

ขันธ์ ๓ คือ ในเจตสิก ๔๖ นั้น สัญญาเจตสิกเป็นสัญญาขันธ์ เจตสิกที่เหลือ ๔๕ เป็นสังขารขันธ์. อุเบกขาสหคตจิต ๕๕ เป็นวิญญาณขันธ์.

อายตนะ ๒ คือ อุเบกขาสหคตจิต ๕๕ เป็น มนายตนะ เจตสิก ๔๖ เป็นธัมมายตนะ

ธาตุ ๗ คือ ในอุเบกสหคจิต ๕๕ นั้น จักขุวิญญาณจิต ๒ เป็นจักขุวิญญาณธาตุ. โสตวิญญาณจิต ๒ เป็นโสตวิญญาณธาตุ. ฆานวิญญาณจิต ๒ เป็นฆานวิญญาณธาตุ. ชิวหาวิญญาณจิต ๒ เป็น ชิวหาวิญญาณธาตุ. กายวิญญาณจิต ๒ เป็นกายวิญญาณธาตุ. ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ สัมปฏิจฉนจิต ๒ เป็นมโนธาตุ. อุเบกขาสหคตจิตที่เหลือ ๔๔ เป็นมโนวิญญาณธาตุ. เจตสิก ๔๖ เป็นธัมมธาตุ.

สัจจ์ ๓ คือ โลกียอุเบกขาสหคตจิต ๔๗ เจตสิก ๔๕ (เว้นโลภะ)เป็นทุกขสัจจ์.
โลภะเจตสิก เป็นสมุทัยสัจจ์ มรรคมีองค์ ๗ (เว้นสัมมาสังกัปปะ) ที่ในมัคคอุเบกขาสหคตจิต ๔ เป็นมัคคสัจจ์. มัคคจิตตุปบาทที่เหลือ ๒๖ ผลจิตตุปบาท ๓๓ เป็นสัจจวิมุต.

โทสมูลจิต ๒ ทุกขสหคตกายวิญญาณจิต ๑ เจตสิกที่ประกอบ ๒๒ สุขเวทนาเจตสิก ๑๒ ที่ในสุขสหคตกายวิญญาณจิต ๑ จตุตถฌานจิต ๑๑ อุเบกขาเวทา ๕๕ ที่ในอุเบกขาสหคตจิต ๕๕ รูป ๒๘ นิพพาน. เป็นติกวิมุต

ติกะนี้ชื่อ อาทิลทฺธนามติก และ สปฺปเทสติก

เจ้าของ:  ลุงหมาน [ 31 มี.ค. 2013, 06:24 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: หลักสูตรชั้นจูฬอาภิธรรมิกเอก

๘. ทสฺสนติก


ปฐมบท : ทสฺสเนน ปหาตพฺพา ธมฺมา.
สภาวธรรมทั้งหลายที่พึงประหาณ โดยปัตตมรรค มีอยู่
องค์ธรรมของปฐมบท
ได้แก่ ทิฏฐิคตสัมปยุตตจิต ๔ วิจิกิจฉาสัมปยุตตจิต ๑ เจตสิกที่ประกอบ ๒๒ อันโสดาปัตติมรรคพึงละได้โดยเด็ดขาด(สมุทเฉทปหาณ)ทิฏฐิคตวิปปยุตตจิต ๔ โทสมูลจิต ๒ เจตสิกที่ประกอบ ๒๕ นำไปสู่อบาย (อปายคมนิย)อันโสดาปัตติมรรคพึงละได้ โดยสามารถทำให้เบาบางลง(ตรุกรปหาน) ธรรมเหล่านี้เมื่อจำแนกโดยขันธ์ อายตนะ ธาตุ สัจจะแล้ว ได้ ขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๒ สัจจะ ๒

ขันธ์ ๔ คือ ในเจตสิก ๒๗ นั้น เวทนาเจตสิก เป็นเวทาขันธ์. สัญญาเจตสิก เป็นสัญญาขันธ์. เจตสิกที่เหลือ ๒๕ เป็นสังขารขันธ์. อกุศลจิต ๑๑ เป็นวิญญาณขันธ์.

อายตนะ ๒ คือ อกุศลจิต ๑๑ เป็นมนายตนะ. เจตสิก ๒๗ เป็นธัมมายตนะ.

ธาตุ ๒ คือ อกุศลจิต ๑๑ เป็นมโนวิญญาณธาตุ. เจตสิก ๒๗ เป็นธัมมธาตุ.

สัจจะ ๒ คือ อกุศลจิต ๑๑ เจตสิก ๒๖ (เว้นโลภะ)เป็นทุกขสัจจ์. โลภะเจตสิก เป็นสมุทัยสัจจ์

ไฟล์แนป:
1481250134979.jpg
1481250134979.jpg [ 73.87 KiB | เปิดดู 5960 ครั้ง ]

เจ้าของ:  ลุงหมาน [ 01 เม.ย. 2013, 07:57 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: หลักสูตรชั้นจูฬอาภิธรรมิกเอก

ทุติยบท : ภาวนาย ปหาตพฺพา ธมฺมา.
สภาวธรรมทั้งหลายที่พึงประหาณ โดยอริยมรรคเบื้องบน ๓ มีอยู่
องค์ธรรมของทุติยบท
ได้แก่ ทิฏฐิคตวิปปยุตตจิต ๔ โทสมูลจิต ๒ เจตสิกที่ประกอบ ๒๕ ที่เป็นอย่างหยาบ(โอฬาริก) อันสกทาคามิมรรคพึงละโดยสามารถทำให้เบาบางลง(ตรุกรปหาน) ทิฎฐิคตวิปปยุตตจิต ๔ ซึ่งเกี่ยวกับกามราคะ โทสมูลจิต ๒ เจตสิกที่ประกอบ ๒๕ อันอนาคามิมรรคพึงละได้เด็ดขาด(สมุทเฉทปหาณ) ทิฏฐิคตวิปปยุตตจิต ๔ ซึ่งเกี่ยวกับรูปราคะ อรูปราคะ อุทธัจจสัมปยุตตจิต ๑ เจตสิกที่ประกอบ ๒๑ อันอรหันตตมรรคพึงละได้โดยเด็ดขาด (สมุทเฉทปหาณ) ธรรมเหล่านี้เมื่อจำแนกโดยขันธ์ อายตนะ ธาตุ สัจจะแล้ว ได้ ขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๒ สัจจะ ๒

ขันธ์ ๔ คือ ในเจตสิก ๒๕ นั้น เวทนาเจตสิก เป็นเวทนาขันธ์. สัญญาเจตสิก เป็นสัญญาขันธ์. เจตสิกที่เหลือ ๒๓ เป็นสังขารขันธ์. อกุศลจิต ๑๑ เป็นวิญญาณขันธ์.

อายตนะ ๒ คือ อกุศลจิต ๗ เป็นมนายตนะ. เจตสิก ๒๕ เป็นธัมมายตนะ.

ธาตุ ๒ คือ อกุศลจิต ๗ เป็นมโนวิญญาณธาตุ. เจตสิก ๒๕ เป็นธัมมธาตุ.

สัจจะ ๒ คือ อกุศลจิต ๗ เจตสิก ๒๔ (เว้นโลภะ)เป็นทุกขสัจจ์. โลภะเจตสิก เป็นสมุทัยสัจจ์

เจ้าของ:  ลุงหมาน [ 02 เม.ย. 2013, 06:26 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: หลักสูตรชั้นจูฬอาภิธรรมิกเอก

ตติยบท : เนว ทสฺสเนน น ภาวนาย ปหาตพฺพา ธมฺมา.
สภาวธรรมทั้งหลายที่ไม่พึงประหาณโดยโสดาปัตติมรรคและอริยมรรคเบื้องบน ๓ มีอยู่
องค์ธรรมของตติยบท
ได้แก่ กุศลจิต ๒๑ วิปากจิต ๓๖ กริยาจิต ๒๐ เจตสิก ๓๘ รูป ๒๘ นิพพาน. ธรรมเหล่าเมื่อจำแนกโดยขันธ์ อายตนะ ธาตุ สัจจะแล้ว ได้ขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ สัจจะ ๓

ขันธ์ ๕ คือ รูป ๒๘ เป็นรูปขันธ์ ในเจตสิก ๓๘ นั้น เวทนาเจตสิก เป็นเวทาขันธ์ สัญญาเจตสิก เป็นสัญญาขันธ์ เจตสิกที่เหลือ ๓๖ เป็นสังขารขันธ์. กุศลจิต ๒๑ วิปากจิต ๓๖ กริยาจิต ๒๐ เป็นวิญญาณขันธ์. นิพพาน. เป็นขันธวิมุต

อายตนะ ๑๒ คือ ในรูป ๒๘ นั้น จักขุปสาท เป็น จักขายตนะ. โสตปสาท เป็น โสตายตนะ. ฆานปสาท เป็น ฆานายตนะ. ชิวหาปสาท เป็น ชิวหายตนะ. กายปสาท เป็น กายายตนะ. รูปารมณ์ เป็น รูปายตนะ. สัทธารมณ์ เป็น สัททายตนะ. คันธารมณ์ เป็น คันธายตนะ. รสารมณ์ เป็นรสายตนะ.(ปถวี เตโช วาโย) โผฏฐัพพารมณ์ เป็น โผฏฐัพพายตนะ. กุศลจิต ๒๑ วิปากจิต ๓๓ กริยาจิต ๒๐ เป็น มนายตนะ เจตสิก ๓๘ สุขุมรูป ๑๖ นิพพาน. เป็นธัมมายตนะ

ธาตุ ๑๘ คือ ในรูป ๒๘ นั้น จักขุปสาท เป็น จักขุธาตุ. โสตปสาท เป็น โสตธาตุ. ฆานปสาท เป็น ฆานธาตุ. ชิวหาปสาท เป็น ชิวหาธาตุ. กายปสาท เป็น กายธาตุ. รูปารมณ์ เป็น รูปธาตุ. สัทธารมณ์ เป็น สัททธาตุ. คันธารมณ์ เป็น คันธาตุ. รสารมณ์ เป็นรสธาตุ.(ปถวี เตโช วาโย) โผฏฐัพพารมณ์ เป็น โผฏฐัพพธาตุ. จักขุวิญญาณจิต ๒ เป็นจักขุวิญญาณธาตุ. โสตวิญญาณจิต ๒ เป็นโสตวิญญาณธาตุ. ฆานวิญญาณจิต ๒ เป็นฆานวิญญาณธาตุ. ชิวหาวิญญาณจิต ๒ เป็น ชิวหาวิญญาณธาตุ. กายวิญญาณจิต ๒ เป็นกายวิญญาณธาตุ. ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ สัมปฏิจฉนจิต ๒ เป็นมโนธาตุ. กูศลจิต ๒๑ วิปากจิตที่เหลือ ๒๔ และกริยาจิตที่เหลือ ๑๙ เป็นมโนวิญญาณธาตุ. เจตสิก ๓๘ สุขุมรูป ๑๖ นิพพาน เป็นธัมมธาตุ.

สัจจะ ๓ คือ โลกียกุศลจิต ๑๗ โลกียวิปากจิต ๓๒ กริยาจิต ๒๐ เจตสิก ๓๘ รูป ๒๘ เป็นทุกขสัจจ์. นิพพาน เป็นนิโรธสัจจ์. มรรคมีองค์ ๘หรือ ๗ ที่ในมรรคจิต ๔ เป็นมรรคสัจจ์. มัคคจิตตุปบาทที่เหลือ ๒๙ ผลจิตตุปบาท ๓๗ นิพพาน เป็นสัจจวิมุต

ติกนี้ชื่อว่า อาทิลทฺธนามติก และ นิปฺปเทสติก

เจ้าของ:  ลุงหมาน [ 03 เม.ย. 2013, 05:13 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: หลักสูตรชั้นจูฬอาภิธรรมิกเอก

๙. ทสฺสนเหตุติก

ปฐมบท :- ทสฺสเนน ปหาตพฺพเหตุกา ธมฺมา.
สภาวธรรมทั้งหลายที่มีเหตุอันพึงประหาณโดยโสดาปัตติมรรค มีอยู่
องค์ธรรมของปฐมบท
ได้แก่ ทิฏฐิคตสัมปยุตตจิต ๔ วิจิกิจฉาสัมปยุตตจิต ๑ เจตสิกที่ประกอบ ๒๒ (เว้นโมหเจตสิกที่ในวิจิกิจฉาสัมปยุตตจิต ๑)อันโสดาปัตติมรรคพึงละได้โดยเด็ดขาด(สมุทเฉทปหาณ)
ทิฏฐิคตวิปปยุตตจิต ๔ โทสมูลจิต ๒ เจตสิกที่ประกอบ ๒๕ นำไปสู่อบาย (อปายคมนิย)อันโสดาปัตติมรรคพึงละได้ โดยสามารถทำให้เบาบางลง(ตรุกรปหาน) ธรรมเหล่านี้เมื่อจำแนกโดยขันธ์ อายตนะ ธาตุ สัจจะแล้ว ได้ ขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๒ สัจจะ ๒

ขันธ์ ๔ คือ ในเจตสิก ๒๗ นั้น เวทนาเจตสิก เป็นเวทาขันธ์. สัญญาเจตสิก เป็นสัญญาขันธ์. เจตสิกที่เหลือ ๒๕ เป็นสังขารขันธ์. อกุศลจิต ๑๑ เป็นวิญญาณขันธ์.

อายตนะ ๒ คือ อกุศลจิต ๑๑ เป็นมนายตนะ. เจตสิก ๒๗ เป็นธัมมายตนะ.

ธาตุ ๒ คือ อกุศลจิต ๑๑ เป็นมโนวิญญาณธาตุ. เจตสิก ๒๗ เป็นธัมมธาตุ.

สัจจะ ๒ คือ อกุศลจิต ๑๑ เจตสิก ๒๖ (เว้นโลภะ)เป็นทุกขสัจจ์. โลภะเจตสิก เป็นสมุทัยสัจจ์

ไฟล์แนป:
1481250362443.jpg
1481250362443.jpg [ 68.72 KiB | เปิดดู 5960 ครั้ง ]

เจ้าของ:  ลุงหมาน [ 03 เม.ย. 2013, 05:27 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: หลักสูตรชั้นจูฬอาภิธรรมิกเอก

ทุติยบท : ภาวนาย ปหาตพฺพเหตุกา ธมฺมา.
สภาวธรรมทั้งหลายที่พึงประหาณ โดยอริยมรรคเบื้องบน ๓ มีอยู่
องค์ธรรมของทุติยบท
ได้แก่ ทิฏฐิคตวิปปยุตตจิต ๔ โทสมูลจิต ๒ เจตสิกที่ประกอบ ๒๕ ที่เป็นอย่างหยาบ(โอฬาริก) อันสกทาคามิมรรคพึงละโดยสามารถทำให้เบาบางลง(ตรุกรปหาน) ทิฎฐิคตวิปปยุตตจิต ๔ ที่เกี่ยวกับกามราคะ โทสมูลจิต ๒ เจตสิกที่ประกอบ ๒๕ อันอนาคามิมรรคพึงละได้เด็ดขาด(สมุทเฉทปหาณ) ทิฏฐิคตวิปปยุตตจิต ๔ ซึ่งเกี่ยวกับรูปราคะ อรูปราคะ อุทธัจจสัมปยุตตจิต ๑ เจตสิกที่ประกอบ ๒๑ (เว้นโมหเจตสิกที่ในอุทธัจจสัมปยุตตจิต ๑)อันอรหันตตมรรคพึงละได้โดยเด็ดขาด (สมุทเฉทปหาณ) ธรรมเหล่านี้เมื่อจำแนกโดยขันธ์ อายตนะ ธาตุ สัจจะแล้ว ได้ ขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๒ สัจจะ ๒

ขันธ์ ๔ คือ ในเจตสิก ๒๕ นั้น เวทนาเจตสิก เป็นเวทนาขันธ์. สัญญาเจตสิก เป็นสัญญาขันธ์. เจตสิกที่เหลือ ๒๓ เป็นสังขารขันธ์. อกุศลจิต ๑๑ เป็นวิญญาณขันธ์.

อายตนะ ๒ คือ อกุศลจิต ๗ เป็นมนายตนะ. เจตสิก ๒๕ เป็นธัมมายตนะ.

ธาตุ ๒ คือ อกุศลจิต ๗ เป็นมโนวิญญาณธาตุ. เจตสิก ๒๕ เป็นธัมมธาตุ.

สัจจะ ๒ คือ อกุศลจิต ๗ เจตสิก ๒๔ (เว้นโลภะ)เป็นทุกขสัจจ์. โลภะเจตสิก เป็นสมุทัยสัจจ์

เจ้าของ:  ลุงหมาน [ 03 เม.ย. 2013, 05:34 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: หลักสูตรชั้นจูฬอาภิธรรมิกเอก

ตติยบท : เนว ทสฺสเนน น ภาวนาย ปหาตพฺพเหตุกา ธมฺมา.
สภาวธรรมทั้งหลายที่ไม่พึงประหาณโดยโสดาปัตติมรรคและอริยมรรคเบื้องบน ๓ มีอยู่
องค์ธรรมของตติยบท
ได้แก่ กุศลจิต ๒๑ วิปากจิต ๓๖ กริยาจิต ๒๐ เจตสิกที่ประกอบ ๓๘ และโมหเจตสิกที่ในโมหมูลจิต ๒ รูป ๒๘ นิพพาน. ธรรมเหล่าเมื่อจำแนกโดยขันธ์ อายตนะ ธาตุ สัจจะแล้ว ได้ขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ สัจจะ ๓

ขันธ์ ๕ คือ รูป ๒๘ เป็นรูปขันธ์ ในเจตสิก ๓๘ นั้น เวทนาเจตสิก เป็นเวทาขันธ์ สัญญาเจตสิก เป็นสัญญาขันธ์ เจตสิกที่เหลือ ๓๖ เป็นสังขารขันธ์. กุศลจิต ๒๑ วิปากจิต ๓๖ กริยาจิต ๒๐ เป็นวิญญาณขันธ์. นิพพาน. เป็นขันธวิมุต

อายตนะ ๑๒ คือ ในรูป ๒๘ นั้น จักขุปสาท เป็น จักขายตนะ. โสตปสาท เป็น โสตายตนะ. ฆานปสาท เป็น ฆานายตนะ. ชิวหาปสาท เป็น ชิวหายตนะ. กายปสาท เป็น กายายตนะ. รูปารมณ์ เป็น รูปายตนะ. สัทธารมณ์ เป็น สัททายตนะ. คันธารมณ์ เป็น คันธายตนะ. รสารมณ์ เป็นรสายตนะ.(ปถวี เตโช วาโย) โผฏฐัพพารมณ์ เป็น โผฏฐัพพายตนะ. กุศลจิต ๒๑ วิปากจิต ๓๓ กริยาจิต ๒๐ เป็น มนายตนะ เจตสิก ๓๘ สุขุมรูป ๑๖ นิพพาน. เป็นธัมมายตนะ

ธาตุ ๑๘ คือ ในรูป ๒๘ นั้น จักขุปสาท เป็น จักขุธาตุ. โสตปสาท เป็น โสตธาตุ. ฆานปสาท เป็น ฆานธาตุ. ชิวหาปสาท เป็น ชิวหาธาตุ. กายปสาท เป็น กายธาตุ. รูปารมณ์ เป็น รูปธาตุ. สัทธารมณ์ เป็น สัททธาตุ. คันธารมณ์ เป็น คันธาตุ. รสารมณ์ เป็นรสธาตุ.(ปถวี เตโช วาโย) โผฏฐัพพารมณ์ เป็น โผฏฐัพพธาตุ. จักขุวิญญาณจิต ๒ เป็นจักขุวิญญาณธาตุ. โสตวิญญาณจิต ๒ เป็นโสตวิญญาณธาตุ. ฆานวิญญาณจิต ๒ เป็นฆานวิญญาณธาตุ. ชิวหาวิญญาณจิต ๒ เป็น ชิวหาวิญญาณธาตุ. กายวิญญาณจิต ๒ เป็นกายวิญญาณธาตุ. ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ สัมปฏิจฉนจิต ๒ เป็นมโนธาตุ. กูศลจิต ๒๑ วิปากจิตที่เหลือ ๒๔ และกริยาจิตที่เหลือ ๑๙ เป็นมโนวิญญาณธาตุ. เจตสิก ๓๘ สุขุมรูป ๑๖ นิพพาน เป็นธัมมธาตุ.

สัจจะ ๓ คือ โลกียกุศลจิต ๑๗ โลกียวิปากจิต ๓๒ กริยาจิต ๒๐ เจตสิก ๓๘ และโมหเจตสิกที่ในโมหมูลจิต ๒ รูป ๒๘ เป็นทุกขสัจจ์. นิพพาน เป็นนิโรธสัจจ์. มรรคมีองค์ ๘ หรือ ๗ ที่ในมรรคจิต ๔ เป็นมรรคสัจจ์. มัคคจิตตุปบาทที่เหลือ ๒๙ ผลจิตตุปบาท ๓๗ นิพพาน เป็นสัจจวิมุต

ติกนี้ ชื่อว่า อาทิลทฺธนามติก และ นิปฺปเทสติก

เจ้าของ:  ลุงหมาน [ 03 เม.ย. 2013, 05:47 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: หลักสูตรชั้นจูฬอาภิธรรมิกเอก

๑๐. อาจยคามิติก

ปฐมบท :- อาจยมิโน ธมฺมา
สภาวธรรมทั้งหลายที่เป็นเหตุให้ถึงจุติและปฏิสนธิ มีอยู่
("อาจย"เป็นธรรมอันเป็นกรรมและกิเลสสั่งสมไว้ ปฏิสนธิจิตและกัมมชรูป วนเวียนอยู่ในวัฏฏทุกข์)
องค์ธรรมของปฐมบท
ได้แก่ อกุศลจิต ๑๒ โลกียกุศลจิต ๑๗ เจตสิกที่ประกอบ ๕๒. ธรรมเหล่านี้เมื่อจำแนกโดยขันธ์ อายตนะ ธาตุ สัจจะแล้ว ได้ ขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๒ สัจจะ ๒

ขันธ์ ๔ คือ ในเจตสิก ๕๒ นั้น เวทนาเจตสิก เป็นเวทนาขันธ์. สัญญาเจตสิก เป็นสัญญาขันธ์. เจตสิกที่เหลือ ๕๐ เป็นสังขารขันธ์. อกุศลจิต ๑๒ โลกียกุศลจิต ๑๗ เป็นวิญญาณขันธ์.

อายตนะ ๒ คือ อกุศลจิต ๑๒ โลกียกุศลจิต ๑๗ เป็นมนายตนะ. เจตสิก ๕๒ เป็นธัมมายตนะ.

ธาตุ ๒ คือ อกุศลจิต ๑๒ โลกียกุศลจิต ๑๗ เป็นมโนวิญญาณธาตุ. เจตสิก ๕๒ เป็นธัมมธาตุ.

สัจจะ ๒ คือ อกุศลจิต ๑๒ โลกียกุศลจิต ๑๗ เจตสิก ๕๑ (เว้นโลภะ)เป็นทุกขสัจจ์. โลภะเจตสิก เป็นสมุทัยสัจจ์

ไฟล์แนป:
1481250538756.jpg
1481250538756.jpg [ 63.61 KiB | เปิดดู 5960 ครั้ง ]

เจ้าของ:  ลุงหมาน [ 03 เม.ย. 2013, 06:14 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: หลักสูตรชั้นจูฬอาภิธรรมิกเอก

ทุติยบท :- อปจยมิโน ธมฺมา
สภาวธรรมทั้งหลายที่เป็นเหตุให้ถึงพระนิพพาน มีอยู่
("อปจย"เป็นธรรมที่พ้นจากการเกิดการตาย)
องค์ธรรมของปฐมบท
ได้แก่ มัคคจิต ๔ เจตสิกที่ประกอบ ๓๖. ธรรมเหล่านี้เมื่อจำแนกโดยขันธ์ อายตนะ ธาตุ สัจจะแล้ว ได้ ขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๒ สัจจะ ๑

ขันธ์ ๔ คือ ในเจตสิก ๓๖ นั้น เวทนาเจตสิก เป็นเวทนาขันธ์. สัญญาเจตสิก เป็นสัญญาขันธ์. เจตสิกที่เหลือ ๓๔ เป็นสังขารขันธ์. มัคคจิต ๔ เป็นวิญญาณขันธ์.

อายตนะ ๒ คือ มัคคจิต ๔ เป็นมนายตนะ. เจตสิก ๓๖ เป็นธัมมายตนะ.

ธาตุ ๒ คือ มัคคจิต ๔ เป็นมโนวิญญาณธาตุ. เจตสิก ๓๖ เป็นธัมมธาตุ.

สัจจะ ๑ คือ มรรคมีองค์ ๘ หรือ ๗ ที่ในมัคคจิต ๔ เป็นมัคคสัจจ์. มัคคจิตตุปบาทที่เหลือ ๒๙ เป็นสัจจวิมุต

หน้า 2 จากทั้งหมด 5 เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง
Powered by phpBB © 2000, 2002, 2005, 2007 phpBB Group
http://www.phpbb.com/