วันเวลาปัจจุบัน 19 มี.ค. 2024, 13:40  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


“อภิธรรม (สันสกฤต: abhidharma) หรืออภิธัมมะ (บาลี: abhidhamma) เป็นชื่อปิฎกศาสนาพุทธฉบับหนึ่งในปิฎกทั้งสามฉบับที่รวมเรียก "พระไตรปิฎก" อภิธรรมแปลว่าธรรมอันยิ่ง ปิฎกฉบับอภิธรรมนั้นเรียก "พระอภิธรรมปิฎก" ซึ่งว่าด้วยประมวลหลักธรรมและคำอธิบายที่เป็นหลักวิชาล้วนๆ ไม่มีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์และบุคคลเลย”



กลับไปยังกระทู้  [ 9 โพสต์ ]    Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 เม.ย. 2023, 12:20 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




6dfc842694.gif
6dfc842694.gif [ 4.17 KiB | เปิดดู 1458 ครั้ง ]
SmartSelectImage_2023-04-12-12-39-08.jpg
SmartSelectImage_2023-04-12-12-39-08.jpg [ 119.89 KiB | เปิดดู 1454 ครั้ง ]
(- จิดตสังคหะ-ปรมัตถทีปนี ๒๕๒)

อธิบายอรูปาวจรจิต ๑๒

๒๖. บัดนี้ พระอนุรุทธาจารย์จะแสดงอรูปาวจรจิต จึงกล่าวว่า อากาสานญฺจายตน
กุสลจิตตํ (กุศลจิตที่ประกอบกับอากาสานัญจายตนฌาน ดวงหนึ่ง) เป็นต้น
ในประโยคนั้น อากาศ คือ สิ่งรุ่งโรจน์ยิ่งนัก ความจริงอากาศแม้ไม่มีอยู่โดย
สภาวะของตน ก็ปรากฏเหมือนรุ่งโรจน์ยิ่งนักตัวยอานุภาพของแสงจันทร์และแสงอาทิตย์
เป็นต้น
อาจารย์ทั้งหลายกล่าวอีกอย่างหนึ่งว่า
คำว่า อกาสะ คือ สิ่งที่ไม่ถูกขีดข่วนด้วยการตัดและทำลาย
คำว่า อากาศ ก็คือ สิ่งที่ไม่ถูกขีดข่วนนั้นนั่นแหละ[โดยลง ณ ปัจจัย ในอรรถ
สกัตถ์ที่ไม่มีความหมายใดๆ]

[คำว่า อากาส มีความหมาย ๒ ประการ คือ
สิ่งรุ่งโรจน์ยิ่งนัก = ภูโส กาสติ ทิพฺพตีติ อากาโส.
(อา บทหน้า + กาส ธาตุ = รุ่งโรจน์ + ณ ปัจจัยในกัตตุสาธนะ)
- สิ่งที่ไม่ถูกขีดช่วน - อกาโส เอว อากาโส (อกาส ตัพท์ + ณ ปัจจัยในอรรถสกัตถ์)]

อากาศมี ๔ อย่าง คือ
๑. อัชฎากาศ (อากาศคือท้องฟ้า)
๒. ปริจฉินนากาศ (อากาศมีช่องประตูเป็นตัน)
๓. กสิณุคฆาฏิมากาศ (อากาศที่เกิดขึ้นด้วยการเพิกกสิณ)
๔. รูปกลาปปริจเฉทากาศ (อากาศคือช่องว่างระหว่างรูปกลาป)

พระอนุรุทธาจารย์หมายเอากสิณุคฆาฏิมากาศในที่นี้ เพราะอากาศนั้นเหมือน
ดั่งเป็นอันเดียวกันกับอัชฏากาศและถูกแผ่ไปโดยความไม่มีที่สุด อากาศอันหาที่สุดมิได้
จึงชื่อว่า อากาสานันตะ

อาจารย์บางท่านกล่าวอีกอย่างหนึ่งว่า

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 เม.ย. 2023, 13:10 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




cats__3_-removebg-preview.png
cats__3_-removebg-preview.png [ 88.31 KiB | เปิดดู 1052 ครั้ง ]
ขอบเขตคือความเกิดขึ้นหรือความดับไปย่อมไม่ปรากฏในอากาศ อากาศนั้น
จึงไม่มีที่สุด
คำว่า อากาสานัญจะ คือ อากาศอันไม่มีที่สุดนั้นนั่นแหละ เพราะสำเร็จพร้อม
ด้วย ย ปัจจัยในอรรถสกัตถ์

(คำว่า อากาสานญฺจ สำเร็จรูปมาจาก อากาสานนฺต ศัพท์ + ณฺย ปัจจัย โดยลง ณย ปัจจัย
ในอรรถสกัตถ์เหมือนคำว่า ยถาภูจฺจ (ยถาภูต ศัพท์ + ณฺย ปัจจัย) เป็นตัน เมื่อควรกล่าวว่า
อากาสานนฺตฺย ให้แปลง นุ เป็นนิคหิต และแปลง ตฺย เป็น จ ด้วยสูตรในสัททนีติปกรณ์ (สุตตมาลา
สูตร ๑๐๕) ว่า นสฺส นิคฺคหีตํ ตยานเมโก โจ (แปลง น เป็นนิคฺหิต และแปลง ๆย เป็น จ) ครั้นแล้ว
ให้แปลงนิคหิตเป็นพยัญชนะที่สุตวรรคคือ ณ อักษร จึงสำเร็จรูปว่า อากาสานญจ]

หมู่จิตและเจตสิกอันมีอากาศอันหาที่สุดมิได้เป็นที่ตั้ง ชื่อว่า อากาสานัญจายดนะ
(ฌานที่มีอากาศอันหาที่สุดมิได้เป็นที่ตั้ง)

ในเรื่องนี้ อากาศอันหาที่สุดมิได้ชื่อว่า อายตนะ (ที่ตั้ง) เพราะเป็นที่ตั้งของฌาน
และสัมปยุตตธรรมที่บรรลุอัปปนาแล้วในอากาศอันหาที่สุดมิได้ เหมือนสถานที่สถิตของ
เทวดาได้ชื่อว่า เทวายตนะ (เทวาลัย) หมู่จิตและเจตสิกอันมีอากาศอันหาที่สุดมิได้เป็น
ที่ตั้ง จึงชื่อว่า อากาสานัญจายตนะ (ฌานที่มีอากาศอันหาที่สุดมิได้เป็นที่ตั้ง) หมายถึง
หมู่จิตและเจตสิก ดังพระพุทธวจนะในคัมภีร์วิภังด์ว่า

อากาสานญฺจายตนนติ อากาสานญจายต สมาปนนสุส วา อุปปนนสุส ว
ทิฏจธมมสุขวิหาริสฺส วา จิตุตเจตสิกา ธมฺมา."ㆍ

จิตและเจตสิกธรรมทั้งหลายของบุคคลผู้เข้าอากาสานัญจายตนฌาน (อันเป็น
กุศล หรือของบุคคลผู้ปฏิสนธิ(ด้วยวิบากฌาน หรือว่าของบุคคลผู้อยู่เป็นสุขในอัตภาพ
ปัจจุบัน(ด้วยกิริยาฌาน) ชื่อว่า อากาสานัญจายตนะ"

อากาสานัญจายตนกุศลจิต คือ กุศลจิตที่เป็นไปในฌานมีอากาศอันหาที่สุด
เป็นที่ตั้ง

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 เม.ย. 2023, 19:15 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




PhotoRoom-20230413_130545.png
PhotoRoom-20230413_130545.png [ 28.53 KiB | เปิดดู 1444 ครั้ง ]
ในคำว่า วิญฺญาณญฺจายตนํ นี้ วิญญาณ คือ อากาสานัญจายตนจิตนันแหละ
จิตนั้นแม้มีที่สุดโตยการเกิดเป็นตันก็ได้ชื่อว่า อนันตะ (หาที่สุดมิได้) เพราะเบิน
ไปในอากาศที่ได้ชื่อว่าไม่มีที่สุด

อีกอย่างหนึ่ง คำว่า อนฺต มีดวามหมายว่า ส่วน จิตชื่อว่า อนันตะ เพราะไม่
ดำรงอยู่ในส่วนหนึ่งคืออุปปาทขณะ ฐิติขณะ หรือภังคขณะ]ในส่วนหลายส่วน ย่อมเป็นไป
ในการเจริญฌานซึ่งมีปฐมารุปปริญญาณป็นอารมณ์ด้วยการแผ่ไปสู่อากาศทั้งหมด

อีกอย่างหนึ่ง จิตชื่อว่า อนันตะ เพราะเป็นไปในการเจริญฌานอันมีปฐมารุปป.
วิญญาณ เป็นอารมณ์ว่าหาที่สุตมิใด้ เนื่องด้วยเปินไปในการเจริญฌานอันได้ชื่อว่าหาที่สุด
มิได้

อีกอย่างหนึ่ง พึ่งกล่าวว่า อนันตะ ด้วยการแผ่ไปของจิตในอากาศที่ได้ชื่อว่า
หาที่สุดมิได้

คำว่า วิญญาณานันตะ คือ วิญญาณอันหาที่สุดมิได้ วิญญาณอันหาที่สุดมิได้นั้น
นันแหละ ชื่อว่า วิญญาณัญตะ ด้วยนิรุตตินัย

(เมื่อลง ณฺย ปัจจัยในอรรถสกัตถ์เป็นรูปว่า วิญญาณานนฺตฺย แล้ว ให้ลบ น อักษรด้วย

นิรุตตินัยที่เรียกว่า วัณณนาสะ คือ การลบอักษร วิธีทำสำเร็จรูปอื่นจากนี้เช่นกับคำว่า อากาสานญฺจ
ที่กล่าวมาแล้ว]

คำว่า วิญญาณัญจายตนะ คือ หมูจิตและเจตสิกซึ่งมีวิญญาณอันหาที่สุดมิได้
เป็นที่ตั้ง
พึงกระทำสมาสว่า วิญญาณัญจายตนกุศล คือ กุศลจิตที่เป็นไปในหมู่จิตและ
เจตสิก คือ ฌานที่มีวิญญาณอันหาที่สุดมิได้เป็นที่ตั้ง ดังพระพุทธวจนะไนคัมภีร์วิภังค์ว่า

วิญฌาณญฺจายตนนฺติ วิญฌาณญฺจายตนํ สมาปนนสฺส วา อุปปนฺนสฺส วา ทิฏฐ
ธมฺมสุขวิหาริสฺส วา จิตตเจตสิกา ธมฺมา."

จิตและเจตสิกธรรมทั้งหลายของบุคคลผู้เข้าวิญญาณัญจายตนฌาน หรือของ

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 เม.ย. 2023, 06:09 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




PhotoRoom-20230413_194539.png
PhotoRoom-20230413_194539.png [ 145.18 KiB | เปิดดู 1216 ครั้ง ]
บุคคลผู้เข้าถึงด้วยปฏิสนธิ หรือว่าของบุคคลผู้อยู่เป็นสุขในอัตภาพปัจจุบัน ชื่อว่า วิญ
วิญญาณัญจายตนะ

(๕๕) ในคัมภีรีวิภาวนีและมหาฎีกากล่าวว่า
ทุติยารุปปวิญณาเณน อญฺจิตพฺพํ ปาปุณิตพฺพนฺติ วิญฺญาณญฺจ "
"ฌานที่พึงบรรลุด้วยทุติยารุปปวิญญาณ ได้ชื่อว่า วิญญาณัญจะ"

ข้อความนั้นไม่สอดคล้องกับพระบาลี ตังพระพุทธวจนะว่า
อนนฺตํ วิญฺญาณนฺติ ตเทว วิญฺญาณํ ญาเณน ผุฎจํ มนสิกโรติ, อนนฺดํ ผรติ. เตน
วุจฺจติ วิญฺญาณนฺตื
*คำว่า อนนฺตํ วิญฺญาณํ (วิญญาณอันหาที่สุดมิได้) มีความหมายว่า ย่อมใส่ใจ
ปฐมารุปปวิญญาณนั้นอันญาณสัมผัสแผ่ไปว่าหาที่สุดมิได้ จึงชื่อว่า วิญญาณอันหาที่
มิได้"

พระดำรัสนั้นแสดงว่า ปฐมารุปปริญญาณประกอบกับบทวิเสสนะ คือ อนันตะ
(หาที่สุตมิได้) อย่างแน่นอน

มีปาฐะว่า ตเมว อากาส่ (ท้องฟ้านั้นนั่นแหละ) บ้าง (ในที่บางแห่ง)
ในคำว่า อากิญฺจญฺญายตนํ นี้ คำว่า กิญฺจิ กิญจน มีความหมายเหมือนกันคำนี้
เป็นชื่อของส่วนเล็กน้อย
คำว่า อกิญจนะ คือ ปฐมารุปปวิญญาณอันไม่มีส่วนเล็กน้อย กล่าวคือ ไม่มีแม้
เพียงภังคขณะเป็นอย่างต่ำเหลืออยู่
คำว่า อากิญจัญญะ คือ ภาวะแห่งจิตที่ไม่มีส่วนเล็กน้อย หมายถึง นัตถิภาว-
บัญญัติที่เรียกว่าความไม่มีแห่งปฐมารุปปวิญญาณ ความจริงนัตถิภาวบัญญัติได้รับ
โดยดวามใส่ใจว่าไม่มีส่วนเล็กน้อย
คำเป็นตันว่า อากิญจัญญายตนะ คือ ฌานที่มีนัตถิภาวบัญญัติเป็นที่ตั้ง มีนัย
ที่กล่าวไว้แล้ว

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 เม.ย. 2023, 14:35 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




PhotoRoom-20230413_193631.png
PhotoRoom-20230413_193631.png [ 151.54 KiB | เปิดดู 1217 ครั้ง ]
บุคคลผู้เข้าถึงด้วยปฏิสนธิ หรือว่าของบุคคลผู้อยู่เป็นสุขในอัตภาพปัจจุบัน ชื่อว่า วิญ-
ญาณัญจายตนะ

(๕๕) ในคัมภีร์วิภาวนีและมหาฎีกากล่าวว่า
ทุติยารุปปวิญญาเณน อญฺจิตพฺพํ ปาปุนิตพฺพนฺติ วิญฺญาณญฺจํ."
"ฌานที่พึงบรรลุด้วยทุติยารุปปวิญญาณ ได้ชื่อว่า วิญญาณัญจะ
ข้อความนั้นไม่สอดคล้องกับพระบาลี ดังพระพุ ทธวจนะว่า

อนนฺตํ วิญฺฌาณนฺติ ตเทว วิญฺญาณ ญาเณน ผุฎฺฐํ มนสิกโรติ, อนนฺตํ ผรติ. เตน
"คำว่า อนนฺตํ วิญฺญาณ (วิญญาณอันหาที่สุดมิได้) มีความหมายว่า ย่อมใส่ใจ
ปฐมารุปปวิญญาณนั้นอันญาณสัมผัสแผ่ไปว่าหาที่สุดมิได้ จึงชื่อว่า วิญญาณอันหาที่สุด
มิได้"

พระดำรัสนั้นแสดงว่า ปฐมารุปปริญญาณประกอบกับบทวิเสสนะ คือ อนันตะ
(หาที่สุดมิได้) อย่างแน่นอน
มีปาฐะว่า ตเมว อากาสํ (ท้องฟ้านั้นนั่นแหละ) บ้าง (ในที่บางแห่ง]
ในคำว่า อากิญฺจญฺญายตนํ นี้ คำว่า กิญ์จิ กิญฺจน มีความหมายเหมือนกัน คำนี้
เป็นชื่อของส่วนเล็กน้อย

คำว่า อกิญจนะ คือ ปฐมารุปปวิญญาณอันไม่มีส่วนเล็กน้อย กล่าวคือ ไม่มีแม้
เพียงภังคขณะเป็นอย่างต่ำเหลืออยู่

คำว่า อากิญจัญญะ คือ ภาวะแห่งจิตที่ไม่มีส่วนเล็กน้อย หมายถึง นัตถิภาว
บัญญัติที่เรียกว่าความไม่มีแห่งปฐมารุปปวิญญาณ ความจริงนัตถิภาวบัญญัติได้รับชื่อนั้น
โดยความใส่ใจว่าไม่มีส่วนเล็กน้อย
คำเป็นตันว่า อากิญจัญญายตนะ คือ ฌานที่มีนัตถิภาวบัญญัติเป็นที่ตั้ง มีนัย
ที่กล่าวไว้แล้ว

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 เม.ย. 2023, 19:47 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




PhotoRoom-20230413_194216.png
PhotoRoom-20230413_194216.png [ 78.02 KiB | เปิดดู 1216 ครั้ง ]
..........
ในคำว่า เนวสญฺญานาสญฺญายตนํ นี้ คำว่า เนวสัญญะ คือ ฌานที่ไม่มีสัญญา(หยาบ) โดย
หมายเอาสัญญาหยาบ

คำว่า นาสัญญะ คือ ฌานที่มีสัญญา(จะเอียด โดยหมายเอาสัญญาละเอียด
คำว่า เนวสัญญานาสัญญะ คือ ฌานที่ไม่มีสัญญา(หยาบ]และมีสัญญละอียด)
โดยการกระทำทีฆะกลางบท (คือเมื่อควรกล่าวว่า เนวสัญญนาสัญญะ ให้ทำทีฆะ อ ใน ญ เป็น
อา เพื่อความสละสลวยในการออกเสียง จึงมีรูปว่า เนวสัญญานาสัญญะ) หมายถึง หมู่จิต
และเจตสิก
คำว่า เนวสัญญานาสัญญายตนะ คือ ฌานที่ไม่มีสัญญา(หยาบ]และมีสัญญา
(ละเอียด)เป็นที่ตั้ง เพราะความเป็นที่ตั้งแห่งสุขอันพิเศษของนักปฏิบัติ

พึงกระทำสมาสว่า เนวสัญญานาสัญญายตนกุศลจิต คือ กุศลจิตที่เป็นไปในฌาน
ที่ไม่มีสัญญาหยาบและมีสัญญาละเอียดเป็นที่ตั้ง(แห่งสุขอันพิเศษ]
อีกอย่างหนึ่ง สัญญานั่นแหละได้ชื่อว่า เนาสัญญา (มิไช่สัญญา) เพราะไม่มี
สัญญากิจที่ปรากฏชัด แต่จะกล่าวว่าไม่มีสัญญาก็หามิได้ เพราะมีอยู่ด้วยความเป็นสภาพ
ละเอียดอันเหลือจากสังขาร(หยาบ] จึงชื่อว่า เนวสัญญานาสัญญะ

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 เม.ย. 2023, 07:54 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




PhotoRoom-20230413_194539.png
PhotoRoom-20230413_194539.png [ 150.28 KiB | เปิดดู 1202 ครั้ง ]
พืงกระทำสมาสว่า เนวสัญญานาสัญญายตน คือ ฌานที่มีลัญญามีใข่สัญญา
(ปรากฏชัด)และมีสัญญ(ละเอียด)เป็นที่ตั้ง(แห่งสุขอันพิเศษ)

เนวสัญญานาสัญญายตนกุศล คือ กุศลจิตที่บระกอบกับฌานที่มีสัญญา มิไข่
สัญญากฎข้ต) และมีสัญญ(ละเอียด) เป็นที่สุดแห่งสุขอันพิเศษ)
บุคคลผู้สะนิวณ์ธรรมและวิตกเป็นตันอันหยาบทั้งแต่ต้นแล้ว บรรลุความละเอียด
สุขุมสูงๆ ขึ้นไปในธรรมที่เหลือด้วยอานุกาพของการเจริญฌาน ปฏิบัติอยู่ตามลำลับ ย่อม
บรรลุสมาบัติที่ถึงความเป็นยอตในโลก็ยธรรม เพราะเป็นสภาวะละเอียดสุขุม ดังนั้น แม้
จิตในจตุตถรุปปจิตก็เป็นเนวจิตตานาจิตตะ (มีจิตมีไช่จิตปรากฏชัดและมีจิตละเอียด) แม้
ผัสสะก็เป็นเนวผัสสานาผัสสะ (มีผัสละมิไช่ผัสสะปรากฏชัดและมีผัสสะละเอียด) แม้เวทนา
เป็นต้นก็เหมือนกัน เพราะเหตุนั้น การถือเอาคำว่า สญฺญา ไนคำว่า เนวสญญานาสญฺญา
ยตน นี้ จึงเป็นการยกขึ้นกล่าวพอเป็นตัวอย่างในการแสดงธรรม
(คำว่า สัญญา เป็นอุปลักขณนัย คือ การแสดงตัวอย่างไว้เป็นเครื่องสังเกตแทนสิ่งอื่นๆ
ทั้งหมต หมายความว่า แม้จิต ผัสสะ และเจตสิกอื่นในข้อนี้ ก็ลักษณะเหมือนสัญญาที่มีไข่สัญญา
ปรากฏชัตและมีสัญญาละเอียด)

ในวิปากจิต คำว่า วิญฺญาณํ ในคำว่า วิญฺญาณญฺจายตนํ นี้ คือ ปฐมารุปปกุศลจิต
พึงทราบว่า จิตนั้นเป็นไปในภพก่อนถัดมา(จากภพที่บรรลุฌาน) และความเป็นจิต
ไม่มีส่วน(คือภังตขณะ)เล็กน้อย ก็คือความไม่มีแห่งปฐมารุปปกุศลจิต
ส่วนในกิริยาจิต ปฐมารุปปวิญญาณทั้งสองที่เป็นกุศลและกิริยาได้ชื่อว่า วิญญา
และความเป็นจิตไม่มีส่วนเล็กน้อย ก็คือความไม่มีแห่งปฐมารุปปวิญญาณทั้งสอง

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 เม.ย. 2023, 10:24 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




PhotoRoom-20230413_194539.png
PhotoRoom-20230413_194539.png [ 154.25 KiB | เปิดดู 1201 ครั้ง ]
.ในอรูปาวจรจิตไม่มีนิพพาน

พระบาลีกล่าวไว้อย่างชัดเจนว่าอรูปาวจรจิตไม่มีในนิพพานไม่ว่าจะเป็น

อากาสานัญจายตนจิต : จิตที่กำหนด อากาศ ไม่มีที่สุด
เป็นอารมณ์
วิญญาณัญจายตนจิต : จิตที่กำหนด วิญญาณ ไม่มีที่สุด
เป็นอารมณ์
อากิญจัญญายตนจิต : จิตที่กำหนด ความไม่มีอะไรๆ
เป็นอารมณ์
เนวสัญญานาสัญญายตนจิต : จิตที่เข้าถึงภาวะมีสัญญา
ก็ไม่ใช่ ไม่มีสัญญาก็ไม่ไช่

ในอากาสานัญจายตนจิตนั้น ปฏิสนธิจิตเริ่มแต่ขณะที่เกิด
วืปากจิตพร้อมด้วยเจตสิกที่เกิดร่วมโดยปกติแล้วสำหรับมนุษย์
ทั่วำไปนั้น ในช่วงชีวิตระหว่างปฏิสนธิและจุติจิตจะมีทั้งกุศลจิตและ
อกุศลจิตพร้อมด้วยเจตสิกเกิดขึ้นตลอดเวลา หากได้รับการฝึกฝน
อบรมจิตจนบรรลุเป็นพระอริยบุคคล ๓ ขั้นแรกจะได้รับขนานนาม
เป็นพระเสกขะ พระเสกขะนี้หากท่านได้ปฏิสนธิเป็นอรูปพรหมใน
อากาสานัญจายตนภูมิก็อาจบรรลุอรหัตตผลสำเร็จเป็นพระอรหันต์
ณ ที่นั้น สำหรับกรณีนี้ท่านจะมีเพียงกุศลจิตและกิริยาจิตพร้อมทั้ง
เจตสิกเกิดร่วมเท่านั้น ไม่มีรูปเกิดขึ้น มีเพียงนามคือจิตและเจตสิก
ที่อยู่ในสภาพแปรเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลาเท่านั้น ในอรูปภูมินั้นมีเพีอง
นามธรรมจึงไม่ต้องมีอาหาร เครื่องนุ่งห่ม และที่อยู่อาศัย ในการ
เขียนภาพจิตรกรรมนั้น มักนิยมวาดรูปอรูปพรหมให้เห็นเพียงรูป
วิมานทำให้เข้าใจผิดได้ว่า อรูปพรหมนี้ว่าอยู่ในวิมานหรือปราสาท
ซึ่งไม่ถูกต้อง แต่ในนิพพานนี้ไม่มีทั้งรูปและไม่มีทั้งนาม

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 เม.ย. 2023, 05:08 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




1677359223578.jpg
1677359223578.jpg [ 69.78 KiB | เปิดดู 1051 ครั้ง ]
อธิบายคาถาสรุป

๓๐. ในคาถาสรุป คำว่า อาลมฺพณปฺปเภเทน (ตามประเภทแห่งอารมณ์) มีความหมาย
ว่า ตามประเภทแห่งอารมณ์ ๔ มีกสิณุคฆาฏิมากาศ (อากาศอันเกิดด้วยการเพิกกสิณ)
เป็นตันที่พึ่งยืดหน่วง ไดยแท้จริง อารมณ์ ๔ ในอรูปาวจาจิตนี้มี ๒ ประเภท คือ อารมณ์
๔ ที่พึ่งล่วงพันไป และอารมณ์ ๔ ที่พึ่งยืดหน่วง

อารมณ์ที่พึ่งส่วงพันไปในปฐมารุปปริญญาณ คือ กสิณนิมิตที่เป็นอารมณ์ของ
รูปปัญจมฌาน ส่วนอารมณ์ที่พึ่งยึดหน่วง คือ อากาศที่ได้รับเพราะเพิกกสิณนิมิต
อารมณ์ที่พึ่งล่วงพันไปในทุติยารุปปวิญญาณ คือ อากาศอันเป็นอารมณ์ของ
ปฐมารุปปริญญาณ ส่วนอารมณ์ที่พึ่งยืดหน่วง คือ ปฐมารุปปวิญญาณ
อารมณ์ที่พึ่งล่วงพันไปในตติยารุปปวิญญาณ คือ ปฐมารุปปวิญญาณ ส่วนอารมณ์
ที่พึ่งยึดหน่วงของตติยารุปปริญญาณ คือ นัตถิภาวบัญญัติ
อารมณ์ที่พึงล่วงพันไปในจตุตถารุปปวิญญาณ คือ นัตถิภาวบัญญัติ ส่วนอารมณ์
ที่พึ่งยึดหน่วง คือ ตติยารุปปริญญาณ

ในที่นั้น แม้อรูปาวจรจิตจะมี ๔ ดวงโดยจำแนกตามอารมณ์ที่พึ่งล่วงพันไป ๔
อย่าง แต่ประเภทของอรูปาวจรจิตย่อมปรากฏขัดโดยจำแนกตามอารมณ์ที่พึงยึดหน่วงซึ่ง
ปรากฏโดยตรงในเรื่องนี้ด้วยคำว่า อากาสานัญจายตน (กุศลจิตอันเป็นไปในฌานที่มี
อากาศอันหาที่สุดมิได้เป็นที่ตั้ง) เป็นตัน
พึงประกอบบทว่า อรูปาวจรจิตมี ๔ ดวงตามประเภทแห่งอารมณ์ มี ๑๒ ดวง
ตามประเภทแห่งกุศล วิบาก และกิริยา
จบการแสดงข้อความปรมัตถ์แห่งอรูปาวจรจิต

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 9 โพสต์ ] 

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 4 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร