ลานธรรมจักร http://dhammajak.net/forums/ |
|
เหตุปัจจัยในปฏิจจสมุปบาท http://dhammajak.net/forums/viewtopic.php?f=66&t=53379 |
หน้า 1 จากทั้งหมด 2 |
เจ้าของ: | ลุงหมาน [ 12 พ.ย. 2016, 10:36 ] | ||
หัวข้อกระทู้: | เหตุปัจจัยในปฏิจจสมุปบาท | ||
เหตุปัจจัย ในปฏิจจสมุปบาท และกรรม บางส่วนของปฏิจจสมุปบาท ที่ควรสังเกตเป็นพิเศษ ปฏิจจสมุปบาท เป็นเรื่องของกฎธรรมชาติจึงเป็นเรื่องใหญมีความ กว้างขวางลึกซึ้ง และมีแง่ด้านต่างๆ มากมาย ละเอียดซับซ้นอย่างยิ่่ง ไม่ต้องพูดถึงว่าจะยาก ต่อการที่จะเข้าใจให้ทั่วถึง แม้แต่พูดให้ครบถ้วนก็ยากที่จะทําได้ ด้วยเหตุการศึกษาทั่วๆ ไป เมื่อเรียนรู้หลักพื้นฐานแล้ว ก็อาจจะ ศึกษาบางแง่บางจุดที่น่าสนใจเป็นพิเศษ โดยเฉพาะส่วนที่เกื้อหนุนความเข้าใจทั่วไป และส่วนที่จะนํามาใช้ประโยชน์ในการดําเนินชีวิตแก้ปัญหา และทําการสร้างสรรคต่างๆ ในที่นี้ใจะขอย้อนกลับไปยกข้อควรทราบสําคัญ ที่กล่าวถึงข้างต้น ขึ้น มาขยายความอีกเล็กน้อย พอให้เข้าใจชัดเจนมากขึ้น และเห็นทางนําไปใช้ ประโยชน์ได้ง่ายขึ้น โดยเฉพาะในแง่ของหลักกรรม ที่เป็นธรรมสืบเนื่องออกไป อย่างไรก็ตาม เนื่องจากหัวข้อนี้เป็นเพียงคําอธิบายเสริม การขยายความจึงทําได้เพียงโดยย่อ ในหนังสือพุทธธรรม (ฉบับเดิม) หน้า ๘๕ ได้เขียนข้อความสั้นๆนั้นแทรก ไว้พอเป็นที่สังเกตุดังต่อไปนี้ “ข้อควรทราบที่สําคัญอีกอย่างหนึ่ง คือ • ความเป็นปัจจัยแก่กันขององค์ประกอบเหล่านี้มิใช่มีความหมายตรง กับคำว่า “เหตุ” ทีเดียวเช่น ปัจจัยให้ต้นไม้งอกขึ้นมิใช่หมายเพียงเมล็ดพืช แต่หมายถึง ดิน นํ้า ปุ๋ย อากาศอุณหภูมิเป็นต้น เป็นปัจจัยแต่ละอย่างและการเป็นปัจจัย แก่กันนี้เป็นความสัมพันธ์ที่ ไม่จำต้องเป็นไปตามลำดับก่อนหลัง โดยกาละหรือเทศะ เช่น พื้นกระดาน เป็นปัจจัยแก่การตั้งอยู่ของโต๊ะ เป็นต้น” ข้อความนี้บอกให้ทราบว่า ปฏิจจสมุปบาท เป็นหลักความจริงของ ธรรมชาติที่แสดงถึงความสัมพันธเป็นเหตุปัจจัยแก่กันของสิ่งทั้งหลาย
|
เจ้าของ: | ลุงหมาน [ 12 พ.ย. 2016, 14:35 ] | ||
หัวข้อกระทู้: | Re: เหตุปัจจัยในปฏิจจสมุปบาท | ||
ความหมายของ เหตุและ ปัจจัย เบื้องแรกควรเข้าใจความหมายของถ้อยคําเป็นพื้นไว้ก่อน ในที่ทั่วไป หรือเมื่อใช้ตามปกติคําว่า “เหตุ” กับ “ปัจจัย” ถือว่าใช้แทนกันได้ แต่ในความหมายที่เคร่งครัด ท่านใช้ “ปัจจัย” ในความหมายที่กว้าง แยกเป็นปัจจัยต่างๆได้หลายประเภท ส่วนคําว่า“เหตุ”เป็นปัจจัยอย่างหนึ่ง ซึ่งมีความหมายจํากัดเฉพาะ กล่าวคือ “ปัจจัย” หมายถึง สภาวะที่เอื้อ เกื้อหนุน คํ้าจุน เปิดโอกาส เป็นที่ อาศัย เป็นองค์ประกอบรวม หรือเป็นเงื่อนไขอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่จะให้สิ่ง นั้นๆ เกิดมีขึ้น ดําเนินต่อไป หรือเจริญงอกงาม ส่วนคำว่า “เหตุ” หมายถึง ปัจจัยจําเพาะ ที่เป็นตัวก่อให้เกิดผลนั้นๆ “เหตุ” มีลักษณะที่พึงสังเกต นอกจากเป็นปัจจัยเฉพาะ และเป็นตัว ก่อให้เกิดผลแล้ว ก็มีภาวะตรงกับผล (สภาวะ) และเกิดสืบทอดลําดับ คือ ตามลําดับก่อนหลังด้วย ส่วน “ปัจจัย” มีลักษณะเป็นสาธารณะ เป็นตัวเกื้อหนุนหรือเป็นเงื่อนไข เป็นต้น อย่างที่กล่าวแล้ว อีกทั้งมีภาวะต่างๆ (ปรภาวะ) และไม่เกี่ยวกับ ลําดับ (อาจเกิดก่อน หลัง พร้อมกัน ร่วมกัน หรือต้องแยกกัน-ไม่ร่วมกัน ก็ได้) ตัวอย่างเช่น เม็ดมะม่วงเป็น “เหตุ”ให้เกิดต้นมะม่วง และพร้อมกันนั้น ดิน น้ำ อุณหภูมิ โอชา(ปุ๋ย) เป็นต้นก็เป็น “ปัจจัย” ให้ต้นมะม่วงนั้นเกิดขึ้นมา มีเฉพาะเหตุคือเม็ดมะม่วง แต่ปัจจัยที่เกี่ยวข้องไม่พร้อม หรือไม่อำนวย ผลคือต้นมะม่วงก็ไม่เกิดขึ้น
|
เจ้าของ: | ลุงหมาน [ 12 พ.ย. 2016, 15:40 ] | ||
หัวข้อกระทู้: | Re: เหตุปัจจัยในปฏิจจสมุปบาท | ||
ในเวลาอธิบายเรื่องเหตุปจจัย มีอีกคําหนึ่งที่ทานนิยมใชแทนคําวา เหตุปัจจัย คือคําวา “การณะ” หรือ “การณ” ซึ่งก็แปลกันวาเหตุ ในพระอภิธรรม ทานจําแนกความสัมพันธของสิ่งทั้งหลาย ที่เปนเหตุ ปัจจยแก่กันนี้ไวถึง ๒๔ แบบ เรียกวา ปจจัย ๒๔ เหตุ เปนปจจัยอยางหนึ่งใน ๒๔ นั้น ทานจัดไวเปนปจจัยขอแรกเรียกว่า “เหตุปจจัย” ปัจจยอื่นอีก ๒๓ อยางจะไมกลาวไวทั้งหมดที่นี่ เพราะจะทําใหฟน เฝอแกผูเริ่มศึกษา เพียงขอยกตัวอยางไว เชน ปจจัยโดยเปนที่อาศัย (นิสสยปจจัย) ปัจจยโดยเป็นตัวหนุนหรือกระตุ้น (อุปนิสสยปัจจย) ปัจจัยโดย ประกอบร่วม (สัมปยุตตปัจจัย) ปัจจยโดยมีอยู คือตองมีสภาวะนั้น สิ่งนี้จึง เกิดมีได (อัตถิปจจัย) ปัจจยโดยไม่มีอยู คือตองไมมีสภาวะนั้น สิ่งนี้จึงเกิด ขึ้นได (นัตถิปจจัย) ปัจจยโดยเกิดกอน (ปุเรชาตปัจจัย) ปัจจยโดยเกิดทีหลัง (ปัจฉาชาตปัจจัย) ฯลฯ ที่ว่านี้รวมทั้งหลักปลีกย่อยที่ว่า อกุศลเป็นปัจจยแก่กุศล (ชั่วเป็นปัจจยให้เกิดดี) ก็ไดกุศลเปนปจจัย แกอกุศล (ดีเปนปจจัยใหเกิดชั่ว) ก็ไดดวยปัจจยข้ออื่น เมื่อแปลความหมายเพียงสั้นๆ ผูอานก็คงพอเขาใจไดไมยาก แตปัจฉาชาตปัจจัย คือปจจัยเกิดทีหลัง คนทั่วไปจะรูสึกแปลกและคิดไมออก จึงขอยกตัวอยางงายๆ ดานรูปธรรม เชน การสรางตึกที่จะดําเนินการภายหลัง เปนปจฉาชาตปจจัยแกการสรางนั่งรานที่เกิดขึ้นกอน สวนในทางสภาวธรรมดานนาม ทานยกตัวอยางวา จิตและเจตสิกซึ่งเกิดทีหลัง เป็นปัจจัยแกรางกายนี้ที่เกิดขึ้นกอนขอสรุปความตอนนี้วาตามหลักธรรม ซึ่งเปนกฎธรรมชาติ การที่สิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือปรากฏการณอยางใดอยางหนึ่ง จะเกิดมีขึ้นไดตองอาศัยเหตุปจจัยตางๆ หลากหลายประชุมกันพรั่งพรอม (ปจจัยสามัคคี)
|
เจ้าของ: | ลุงหมาน [ 13 พ.ย. 2016, 05:37 ] | ||
หัวข้อกระทู้: | Re: เหตุปัจจัยในปฏิจจสมุปบาท | ||
๓. ผลหลากหลายจากปัจจยอเนก ตามหลักแห่งความเปนไปในระบบสัมพันธนี้ยังมีขอควรทราบแฝงอยูอีก โดยเฉพาะ ขณะที่เราเพิ่งดูเฉพาะผลอยางหนึ่ง วาเกิดจากปจจัยหลากหลาย พรั่งพรอมนั้น ตองทราบดวยวา ที่แทนั้นตองมองใหครบทั้งสองดาน คือ ๑. ผลแตละอยาง เกิดโดยอาศัยปจจัยหลายอยาง ๒. ปัจจย (ที่รวมกันใหเกิดผลอยางหนึ่งนั้น) แตละอยาง หนุนใหเกิดผลหลายอยาง ในธรรมชาติที่เปนจริงนั้น ความสัมพันธและประสานสงผลตอกัน ระหว่างปัจจยทั้งหลายมีความละเอียดซับซ้อนมากจนต้องพูดรวมๆ วา “ผลหลากหลายเกิดจากเหตุ (ุปัจจย)หลากหลาย” หรือ “ผลอเนกเกิดจากเหตุอเนก ” เชน จากปจจัยหลากหลาย มีเมล็ดพืช ดิน นํ้า อุณหภูมิเปนตน ปรากฏ ผลอเนก มีตนไมพรอมทั้งรูป สีกลิ่น เปนตน ย้ำวํา ความเปนเหตุปจจัยนั้น มิใชมีเพียงการเกิดกอน-หลังตาม ลำดับกาละหรือเทศะเทานั้น แตมีหลายแบบ รวมทั้งเกิดพรอมกันหรือตองไมเกิดดวยกัน ดังกลาวแลว เมื่อเห็นสิ่งหรือปรากฏการณอยางหนึ่ง เชนตัวหนังสือบนกระดาน ป้ายแลว มองดูโดยพินิจ ก็จะเห็นวาที่ตัวหนังสือตัวเดียวนั้น มีเหตุปจจัย แบบตางๆ ประชุมกันอยูมากมาย เชน คนเขียน (เจตนา+การเขียน) ชอลก แผนป้าย สีที่ตัดกัน ความชื้น เปนตน แลวหัดจําแนกวาเปนปจจัยแบบไหนๆ นอกจากเรื่องปัจจจัย ๒๔ แบบ ที่เพียงใหตัวอยางไวแลว ขอใหดูตัว อยางคําอธิบายของทานสักตอนหนึ่งวาแท้จริงนั้น จากเหตุเดียว ในกรณนี้ จะมีผลหนึ่งเดึ่ยวก็หาไม่ (หรือ) จะมีผลอเนกก็หาไม่ (หรือ) จะมีผลเดียวจากเหตุอเนกก็หาไม่; แต่ยอมมีผลอเนก จากเหตุอันอเนก
|
เจ้าของ: | ลุงหมาน [ 13 พ.ย. 2016, 06:48 ] | ||
หัวข้อกระทู้: | Re: เหตุปัจจัยในปฏิจจสมุปบาท | ||
ตามหลักการนี้ทานสอนไวดวยวา ในปฏิจจสมุปบาทที่พระพุทธเจา ตรัสวา “เพราะอวิชชา (อย่างนั้น) เป็นปัจจย สังขาร (อย่างนั้น) จงมึเพราะสังขาร (อยางนั้น) เป็นปัจจยวิญญาณ (อย่างนั้น)จงมึ ฯลฯ” ดังนี้ - จะต้องไม่เขาใจผิดไปวาพระองคตรัสเหตุเดียว-ผลเดียว หรือปจจัย อยางหนึ่ง/ผลอยางหนึ่งเทานั้น - ที่จริงนั้น ในทุกคูทุกตอน แตละเหตุแตละผล มีปัจจัยอื่นและผลอื่นเกิดดวย ถ้าอย่างนั้น เหตุใดจึงตรัสชวงละปจจัย ชวงละผล ทีละคู? ตอบวา การที่ตรัสเหตุ/ปจจัย และผล เพียงอยางเดียวนั้น มีหลัก คือ บางแหงตรัส เพราะเปนปจจัยหรือเปนผล ตัวเอกตัวประธาน บางแหงตรัส เพราะเปนปจจัยหรือเปนผล ตัวเด่น บางแหงตรัส เพราะเปนปจจัยหรือเปนผล จำเพาะ (อสาธารณะ) บางแหงตรัส ตามความเหมาะกับทํานองเทศนา (เชนคราวนั้น กรณี นั้น จะเนน หรือมุงใหผูฟงเขาใจแงไหนจุดใด) หรือใหเหมาะกับเวไนยคือผู รับคำสอน(เชนยกจุดไหน ประเด็นใดขึ้นมาแสดง บุคคลนั้นจึงจะสนใจและเขาใจไดดี) ในที่นี้ตรัสอย่างนั้น เพราะจะทรงแสดงปจจัยและผล ที่เปนตัวเอกตัวประธาน เชนในชวง “เพราะผัสสะเป็นปัจจย เวทนาจงมึ" ตรัสอยางนี้เพราะ ผัสสะเปนปจจัยตัวประธานของเวทนา (กําหนดเวทนาตามผัสสะ) และ เพราะเวทนาเปนผลตัวประธานของผัสสะ (กําหนดผัสสะตามเวทนา) หลักความจริงนี้ปฏิเสธลัทธิเหตุเดียว ที่เรียกวา“เอกการณวาท”ซึ่งถือว่าสิ่งทั้งหลาย เกิดจากตนเหตุอยางเดียว โดยเฉพาะลัทธิที่ถือวามีมูลการณ เชน มีพระผูสร้าง อย๋า อิสสรวาท (=อิศวรวาท คือลัทธิพระผู้เป็นเจ้าบันดาล ) ปชาปติวาท (ลัทธิถือวาเทพประชาบดีเปนผูสรางสรรพสัตว) ปกติวาท (ลัทธิ สางขยะ ที่ถือวาสิ่งทั้งปวงมีกําเนิดจากประกฤติ) เปนตน แม้แต่ในสมัยปจจุบัน คนก็ยังติดอยูกับลัทธิเหตุเดียวผลเดียว ตลอด จนลัทธิผลเดียว และประสบปญหามากจากความยึดติดนี้
|
เจ้าของ: | ลุงหมาน [ 13 พ.ย. 2016, 09:25 ] | ||
หัวข้อกระทู้: | Re: เหตุปัจจัยในปฏิจจสมุปบาท | ||
ดังปรากฎชัดวงการวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่มุงผลเปาหมายอยางใดอยางหนึ่ง แลว ศึกษาและนําความรูความเขาใจในเหตุปจจัยมาประยุกตใหเกิดผลที่ตองการ แต่เพราะมองอยู่คูู่ผล เป้าหมายไม่ได้มองผลหลากหลายที่เกิดจากปัจจยอเนก ให้ท่วถึง (และยังไมมีความสามารถเพียงพอที่จะมองเห็นอยางนั้นดวย) จึงปรากฏบ่อยๆว่าหลังจากทำผลเป้าหมายสำเร็จผ่านไปบางที ๒๐–๓๐ ปจึง รู้ตัวว่า ผลรายที่พ่วงมากระทบหมู่มนุษย์อย่างรุนแรง จนกลายเป็น ไม่เทาเสีย วงการแพทยสมัยใหม แมจะถูกบังคับจากงานเชิงปฏิบัติการ ใหเอา ใจใส่ตอผลขางเคียงตางๆ มากสักหนอย แตความรูเขาใจตอความสัมพันธ เชิงเหตุผลของปรากฏการณตางๆ โดยสวนใหญ ก็ยังเปนเพียงการสังเกต แบบคลุมๆุ ไมสามารถแยกปจจัยแตละอยางที่สัมพันธตอไปยังผลแตละดาน ใหเห็นชัดได พูดโดยรวม แมวามนุษยจะพัฒนาความรูในธรรมชาติไดกาวหนามา มาก แตความรูนั้นก็ยังหางไกลจากการเขาถึงธรรมชาติอยางแทจริง อยางไรก็ตาม ในดานนามธรรม มนุษยควรใชประโยชนจากความรูใน ความจริงของระบบปัจจัยสัมพันธที่เรียกวาปฏิจจสมุปบาทนี้ไดมาก โดยเฉพาะในการดําเนินชีวิตของตน คือในระดับกฎแหงกรรม ความ เขาใจหลัก“ผลหลากหลาย จากปจจัยอเนก”จะชวยใหจัดการกับชีวิตของตน ให้พัฒนาทั้งภายใน และดําเนินไปในโลกอยางสําเร็จผลดี ๔. วิธีปฏิบัติตอกรรม เมื่อพูดถึงหลักกรรม ปญหาที่พูดกันมากที่สุดก็คือ ทำดีไดดีจริงหรือไม ? ทำไมฉันทําดีแลว ไมเห็นไดดี ถ้าเขาใจปฏิจจสมุปบาท ในเรื่องเหตุปจจัยอยางที่พูดไปแลว ปญหา อย่างนั้นจะหมดไป แตจะกาวขึ้นไปสูคําถามใหมที่เปนประโยชนและควรจะ ถามมากกวาวา ทากรรมอย่างไรจึงจะไดผลดีและไดผลดียิ่งขึ้นไป? อีกปญหาหนึ่งคือ กรรมเกามีผลตอชีวิตของเราแคไหน? และเราควรจะปฏิบัติต่อกรรมเก่าอย่างไร ?
|
เจ้าของ: | ลุงหมาน [ 14 พ.ย. 2016, 07:19 ] | ||
หัวข้อกระทู้: | Re: เหตุปัจจัยในปฏิจจสมุปบาท | ||
แมวาเรื่องกรรมจะละเอียดซับซอนมาก แตก็พอจะใหหลักในการ พิจารณาที่สำคัญได้(ขอใหทบทวนตามหลักใหญที่ไดพูดไปแลว) ดังนี้ ๑. รูหลักความตรงกันของเหตุกับผล ต้องถามตัวเอง หรือจับใหชัดกอน วา กรรมคือความดีที่เราทํานี้ เปนปจจัยตัวเหตุ ที่จะใหเกิดผลอะไร ที่เปน ผลโดยตรงของมัน (ผลโดยตรงของเหตุ) เชน การปลูกเม็ดมะมวง ทําให เกิดตนมะมวง (ไมใชไดตนมะปราง ไมใช ไดเงิน เปนตน) การศึกษา ทําใหได ปญญาและเปนอยูหรือจัดการกับชีวิตของตนและปฏิบัติตอสิ่งทั้งหลายไดดี ขึ้น (ไมใชไดเงิน ไมใชไดงาน เปนตน) การเรียนแพทย ทําใหสามารถบําบัด โรครักษาคนไข (ไมใชไดตําแหนง ไมใชรํ่ารวย เปนตน) ๒. กําหนดผลดีที่ตองการใหชัด จะเห็นว่า เพียงแคตามหลักความจริง ของธรรมชาติวา “ผลหลากหลาย จากปจจัยอเนก” การแยกปจจัยแยกผล ก็ซับซอนอยูแลว เมื่อพูดถึงสังคมมนุษย ความซับซอนก็ยิ่งเพิ่มมากขึ้น เพราะมีกฎมนุษยและปจจัยทางสังคม ซอนขึ้นมาบนกฎธรรมชาติอีกชั้น หนึ่ง ขอยกตัวอยางงายๆ กฎธรรมชาติ: การทําสวนเปนเหตุตนไมเจริญงอกงามเปนผล กฎมนุษย: การทําสวนเปนเหตุ ไดเงินเดือน ๗,๐๐๐ บาทเปนผล หรือ การทําสวนเปนเหตุขายผลไมไดเงินมากเปนผล ผลโดยตรงของเหตุ เปนผลตามกฎธรรมชาติ ซึ่งเปนไปตามความ สมพันธแหงเหตุปจจัยที่เที่ยงตรง อย่างไรก็ดี ผลที่คนพูดถึงกันมาก มักไมใชผลโดยตรงของเหตุที่เปน ไปตามกฎธรรมชาตินั้น แตคนมักพูดกันถึงผลตามกฎมนุษย กฎมนุษยเปนกฎสมมติซึ่งขึ้นตอเงื่อนไขคือสมมติ(=สํ-รวมกัน + มติ- การยอมรับ, ขอตกลง /สมมติ=การตกลงหรือยอมรับรวมกัน) ซ฿่งผันแปร ไดและยังมีปจจัยอื่นๆ ที่นอกเหนือกฎมนุษยนั้นอีก เชน คานิยมของสังคม และความถูกใจพอใจของบุคคล เปนตน โดยมีความตองการเปนตัวกําหนดที่สําคัญ
|
เจ้าของ: | eragon_joe [ 14 พ.ย. 2016, 08:02 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: เหตุปัจจัยในปฏิจจสมุปบาท |
![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() |
เจ้าของ: | ลุงหมาน [ 14 พ.ย. 2016, 08:21 ] | ||
หัวข้อกระทู้: | Re: เหตุปัจจัยในปฏิจจสมุปบาท | ||
eragon_joe เขียน: :b8: ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ขอบคุณที่ติดตามอ่าน
|
เจ้าของ: | ลุงหมาน [ 14 พ.ย. 2016, 08:24 ] | ||
หัวข้อกระทู้: | Re: เหตุปัจจัยในปฏิจจสมุปบาท | ||
จะเห็นวา ความหมายของคําไทยวา “ดี” หรือ “ไมดี” นี้ มักจะ กำกวม “ดี” นี้ เรามักใชในความหมายวานาปรารถนา ตรงกับความพอใจ ชอบใจ หรือแมกระทั่งเปนไปตามคานิยม ดังนั้นจึงตองมีการแยกแยะ เชน วา ดีตรงไปตรงมาตามความจริงของธรรมชาติ ดีตอชีวิต ดีในเชิงสังคมเปนตน ยกตัวอย่างที่แสนจะงาย ใกลๆ ตัว เชน เรากินอาหารอยางหนึ่ง ที่มี ผลดีตอชีวิต ทําใหมีสุขภาพดีแตอาจจะไมดีในเชิงสังคม ไมสนองคานิยมให รู้สึกโกเกบางคนอาจจะดูถูกวาเราตํ่าตอย หรือวาไมทันสมัย แตชีวิตเราก็ดี ในทางตรงขาม มีคนอื่นมาใหของกินอยางหนึ่งแกเรา อาจจะเปน ขนมก็ได้ราคาแพง มีกลองใส หออยางสวยหรูโกเกมาก ดีเหลือเกินในเชิง สังคมเราอาจจะลิงโลดดีใจที่ไดรับ แตถากินเขาไป ของนั้นกลับไมดีตอชีวิต ของเรา จะบั่นทอนสุขภาพ หรอืก่อใหเกิดโรค นี่เปนตัวอยาง ซึ่งคงนึกขยายเองได้ เพราะฉะนั้น คําวา “ผลดี” ที่พูดถึงหรือนึกถึงนั้น จะตองวิเคราะห หรือกําหนดใหชัดกับตัวเองวา ผลดีทีเราตองการนั้น “ดี” ในแงไหน เชน เปน นักกิฬาเตะตะกรอ ๑. ผลดีตามกฎธรรมชาติ(=รางกายแข็งแร็งเคลื่อนไหวแคลวคลอง) ได้ผลแน่นอน เทากับผลรวมหักลบแลวของเหตุปจจัย ๒. ผลดีตามนิยามและนิยมของมนุษย ในแงกระแสสังคม (=ผูคนชื่นชมนิยมยกยอง) ปจจัยภายนอก: ไมเอื้อ คนสนใจนอย ไดรับการยกยองในวงแคบ ในแงอาชีพ (=เป็นทางหารายได้มีเงินเลี้ยงชีวิตและรํ่ารวย) ปัจจยภายนอก : ไม่เอื้อแม้เป็นสัมมาชีพ แต่หาเงินยาก อาจฝืดเคอง ในแงวัฒนธรรม (=ชวยรักษาสมบัติทางวัฒนธรรมของชาติ) ปจจัยภายใน: ถาทําใจถูกตองรู้สึกวาไดทําประโยชนภูมิใจ สุขใจ แต ปัจจยภายนอก : เงื่อนไขกาลเทศะ คนอาจจะไม่เห็นคุณค่าขึ้นต่อสภาพสังคม-การเมือง
|
เจ้าของ: | ลุงหมาน [ 14 พ.ย. 2016, 13:02 ] | ||
หัวข้อกระทู้: | Re: เหตุปัจจัยในปฏิจจสมุปบาท | ||
นี้เป็นเพียงตัวอย่างของการที่จะตองวิเคราะหหรือกําหนดใหชัดกับตัว เองวา ผลดีที่เราตองการนั้น “ดี” ตามสภาวะของมัน ดีที่เปนความดีตาม หลักการแทๆ (เชน ดีเพื่อความดี) หรือดีตอชีวิตของเรา หรือดีในแงสังคม โดยการยอมรับ โดยระบบ โดยคานิยม ฯลฯ เมื่อชัดกับตัวเองแลววา เราตองการผลดีในความหมายใด ก็ วิเคราะหตอไปวา ผลดีแบบที่เราตองการนั้น จะเกิดขึ้นได นอกจากตัวการ กระทาดํ ีที่เปนเหตุตรงแลว จะตองมีปจจัยอะไรอีกบาง ปจจัยเหลานั้นมีอยู หรือเอื้ออํานวยหรือไม มีปจจัยประกอบอะไรอีกที่เราจะตองทําเพื่อให ครบถวนที่จะออกผลที่เราตองการ ถาต องการผลดีที่ปจจัยไมเอื้อ ผลยากที่ จะมา จะยอมรับหรือไม ฯลฯ ขอยํ้าวา ผลดีตามสภาวะ หรือตามกฎธรรมชาตินั้น เปนของแนนอน ตามเหตุปจจัยของธรรมชาติเอง แตผลดีตามนิยามและนิยมของมนุษยขึ้น ตอเจตจํานง เกี่ยวเนื่องกับความตองการของมนุษยตามกาละและเทศะ เปนต น ซึ่งจะตองใชปญญาวิเคราะหสืบคนออกมา หลักปฏิบัติที่ถูกตอง ก็คือ ไมวาจะอยางไรก็ตาม พึงมุงผลดีตาม สภาวะเปนแกนหรือเปนหลักไวกอน ซึ่งเมื่อทําก็ยอมได สวนผลดีเชิงสังคม เปนตน พึงถือเปนเรื่องรองหรือเปนสวนประกอบ จะไดหรือไม ก็แลวแต ปัจจยที่เกี่่ยวของ ไดก็ดีไมไดก็แลวไป เชนทําดีเพื่อใหเกิดความดีใครจะยก ยองสรรเสริญหรือไม ก็ไมมัวติดของ หรือทําดีเพื่อฝกตน เพื่อใหชีวิตและ สังคมเจริญงอกงาม โดยไมตองคิดจะเอาหรือจะไดอะไรจากสังคม แตถามุงเอาผลดีดานสังคมเปนตน โดยไมทําใหเกิดผลดีตามสภาวะ ถึงจะได้ผลที่ตองการ แตจะกลายเปนการหลอกลวง ซึ่งมีแตจะทําใหชีวิต และสังคมเสื่อมทรามลงไป ไมเร็วก็ชา
|
เจ้าของ: | ลุงหมาน [ 15 พ.ย. 2016, 08:31 ] | ||
หัวข้อกระทู้: | Re: เหตุปัจจัยในปฏิจจสมุปบาท | ||
๓. ทําเหตุปจจัยใหครบที่จะใหเกิดผลที่ตองการ ตามหลักความพรั่ง พร้อมของปัจจัย อะไรจะปรากฏเปนผลขึ้น ตองมีปจจัยพรั่งพรอม ตรงนี้จะ ช่วยให้ไมไปติดในลัทธิเหตุเดียวผลเดียว หลักหรือกฎไม่ได้บอกวา เมื่อเอาเม็ดมะมวงไปปลูกแลว ตนมะมวงจะ ต้องงอกขึ้นมา ทานพูดแตเพียงวา จากเม็ดมะมวง ตนไมที่จะงอกขึ้นมา ก็เปนมะมวง นี้คือ เหตุ / ผล หรือ ปัจจัยตัวตรงสภาว / ผล การที่เม็ดมะม่วงจะงอกขึ้นมาเปนตนมะมวงนั้น ไมใชมีแตเม็ดมะมวง อยางเดียวแลวจะไดตนมะมวง ตองมีดิน มีปุยในดิน มีนํ้า มีแกส (เชน ออกซิเจน คารบอนไดออกไซด) มีอุณหภูมิพอเหมาะ เปนตน พูดสั้นๆ วา เมื่อปจจัยพรั่งพรอมแลว ตนมะมวงจึงจะงอกขึ้นมาได นอกจากผลที่เรามองจะเกิดจากปจจัยหลายอยางพรั่งพรอมแลว ปัจจยแตละอยางที่มาพรั่งพรอมนั้น ก็สัมพันธไปสูผลอยางอื่นที่เราไมไดมอง ขณะนั้นดวย ดงไดั พูดแลวขางตน ไดบอกแลววา ใหมุงผลดีตามสภาวะเปนหลักหรือเปนแกนไวกอน ตอนนี้ก็มองดูวามีปจจัยตัวไหนบางที่จะตองทําใหครบที่จะเกิดผลนี้ ตอจาก นั้น เมื่อยังตองการผลดีดานไหนอีก เชนในทางสังคม เปนตน ก็พิจารณาให ครบ แลวทํากรรมดีใหไดเหตุปจจัยพรั่งพรอมที่จะเกิดผลดีตามที่ตองการนั้น ๔. ฝกฝนปรับปรุงตนใหทํากรรม(ไดผล)ดียิ่งขึ้นไป ตามหลักความไม ประมาท โดยเฉพาะความไมประมาทในการศึกษา เราจะตองฝกกาย วาจา จิตใจ และปญญา (เรียกรวมวา ไตรสิกขา คอื ศีล สมาธิ ปญญา) ให สามารถทํากรรมที่ดียิ่งขึ้นๆ เชน จากกรรมชั่ว เปลี่ยนมาทํากรรมดี จาก กรรมดีก็กาวไปสูกรรมดีที่ประณีตหรือสูงยิ่งขึ้นๆ ใหชีวิตกาวไปในมรรค คือ ในวิถีชีวิตประเสริฐ ที่เรียกวา พรหมจริยะ/พรหมจรรย (ถ้าใช คำศัพทก็คือ กาวจากอกุศลมากกุศลนอย ไปสูอกุศลนอยกุศล มาก จากกามาวจรกุศล ไปสูรูปาวจรกุศล ไปสูอรูปาวจรกุศล และไปสูโลกุตตรกุศล ) ถ้าใช้สํานวนพูดใหเหมาะกับคนสมัยนี้ก็คือ พัฒนากรรมใหดียิ่งขึ้น
|
เจ้าของ: | ลุงหมาน [ 16 พ.ย. 2016, 13:06 ] | ||
หัวข้อกระทู้: | Re: เหตุปัจจัยในปฏิจจสมุปบาท | ||
เพราะฉะนั้น เมื่อทํากรรมดีตามหลักในขอกอนไปแลว ถาผลดีใน ความหมายหรือในแงที่เราตองการไมออกมา ก็วิเคราะหสืบสาววา ทํากรรม นั้นแลว แตสำหรับผลดีแงนี้ๆ ปัจจยอะไรบางขาดไป หรือยังบกพรองสวน ไหน จะได้แกไขปรับปรุง เพื่อวาคราวตอไปจะไดทําใหตรง ใหถูกแง ใหครบ นี่คือความไมประมาทในการศึกษา ที่จะใช้ปัญญาพิจารณาแกปญหา และ พัฒนากรรมให้ดีและใหไดผลยิ่งขึ้น ยกตัวอย่าง เชน นายชูกิจไดยินขาวสารจากวิทยุ เปนตน พูดถึง ปัญหาของบ้านเมือง ที่วาปาลดนอยลงจนนากลัว จะตองชวยกันปลูกตนไม ให้มากๆ และมีขาวดวยวา บางแหงคนมากมายชวยกันปลูกตนไมมีการนํา มายกยอง บางทีมีการใหรางวัลดวย นายชูกิจไดยินไดฟงขาวแลว ก็เกิดศรัทธา เที่ยวดูสถานที่เหมาะๆ ใกล้หมู่บ้านของเขา แลวหาตนไมเหมาะๆ มาปลูก ตนไมก็ขึ้นงอกงามดีเขา ปลูกไปไดหลายตน เวลาผานไประยะหนึ่ง เขามานึกดูวา เขาทําความดีนี้มาก็นานแลว ไม่เห็นมีใครสนใจ ก็เลยชักจะทอ และนอยใจวา “เราอุตสาหทําดีเหนื่อยไป มากมาย ไมเห็นไดดีอะไร” พอมองลึกลงไปในใจของคุณชูกิจ ปรากฏวาเขาอยากไดความนิยม ยกยอง และหวังจะไดรางวัลดวย เมื่อวิเคราะหตามหลักความสัมพันธสืบทอดเหตุปจจัยสูผลตางๆ ที่ตรงกัน ก็เห็นไดวา ผลตามกฎธรรมชาติหรือผลตามธรรม ก็เกิดขึ้นแลว คือ เขาปลูก ตนไมเมื่อทําเหตุปจจัยของมันครบ ตนไมก็ขึ้นมา ผลตามธรรมแก่ตัวเขาเองที่เป็นผู้ทำการนั้น เขาก็ได้แลวเช่น เกิด และเพิ่มความรู้ความเข้าใจความชำนาญที่เรี่ยกกันว่าทักษะ ในเรื่องต้นไม้และ การปลูกตนไมตลอดจนผลพวง เชน รางกายแข็งแรง เสริมสุขภาพ ตามธรรมแกสังคม คือ ทองถิ่นของเขา ตลอดถึงโลกมนุษยทั้ง หมด ไดสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติที่ดีงามเพิ่มขึ้น
|
เจ้าของ: | ลุงหมาน [ 16 พ.ย. 2016, 13:08 ] | ||
หัวข้อกระทู้: | Re: เหตุปัจจัยในปฏิจจสมุปบาท | ||
แต่ผลที่ตัวเขาวา “ดี” ที่เขาไมไดคือผลทางสังคม (=ผลที่จะไดแกตัว เขา จากสังคม) ไดแก เสียงยกยอง และรางวัล หรือเงินทองของตอบแทน ซงมึ่ ใชิ เปนผลที่ตรงตามเหตุปจจัยของการปลูกตนไม ถ้าคุณชูกิจตองการผลทางสังคมที่วานี้ ก็ตองดูและทําปจจัยเหลานั้น ด้ย เริ่มตั้งแตดูวา การทําความดีดวยการปลูกตนไมนี้ เขากับกระแสนิยม ของทองถิ่นของตนเองหรือไม (พิจารณาโดยกาล-เทศะ หรือโดยคติ และ กาละ) ถ้าจะใหไดรับคํายกยองและรางวัล จะตองทําปจจัยอะไรประกอบ เพิ่มเข้ามากับการทําความดีคือการปลูกตนไมนั้น แลวทําใหครบ ที่จริง ถาคุณชูกิจมุงหวังผลดีที่แทคือผลตามธรรมที่วาขางตน ไมมัว ห่วงผลทางสังคม(แกตัวตน) เขาจะไดผลตามธรรมเพิ่มอีกอยางหนึ่งดวย คือ ปิติความเอิบอิ่มใจและความสุข ในการทำความดี และในการที่ได้เห็นผลดี ตามธรรมดานตางๆ เพิ่มขยายคลี่คลายขึ้นมาเรื่อยๆ ตลอดเวลา แตความ หวังผล‘ดี’แก่ตัวตน ไดปดกั้นปติสุขนี้เสีย และหนําซํ้า ทําใหเขาไดรับความ ผิดหวังและความชํ้าใจเขามาแทน ยิ่งกว่านั้น ถาเขาฉลาดในความดีและฉลาดในการทําประโยชน เมื่อ เขาจะเริ่มหรือกําลังทําการนั้นอยู เขาอาจจะชักชวนคนอื่นๆ ใหรูเขาใจมอง เห็นประโยชนของการปลูกตนไมแลวมารวมกับเขาบาง หรือตางคนก็ไปทํา ของตนบาง แพรขยายการปลูกตนไมใหกวางออกไป นอกจากผลตามธรรม ทุกด้านจะเพิ่มพูนแลว ผลทางสังคมแกตัวเขาก็อาจจะพลอยตามมาดวย จะตองชัดกับตนเองวา ผลดีตามธรรมของกรรมดีนั้นๆ คืออะไร และ ควรฝกตนใหตองการผลตามธรรมนั้นกอนผลอยางอื่น แลวนอกจากนั้นเรา ต้องการผลดีอยางไหนอีก และเพื่อใหเกิดผลดีนั้นๆ จะตองทําปจจัยอะไร เพิ่มอีกบ้าง เมื่อจะทําก็ทําเหตุปจจัยใหครบ เมื่อทําไปแลวก็ตรวจสอบใหรู ปัจจยที่ยี่งและหยอนสําหรับผลดีแตละดานนั้นๆ เพื่อทําใหครบและดียิ่งขึ้นในครั้งตอไป อนึ่ง ผลดีทางสังคม หรือผลดีจากสังคมแกตัวตนนั้น อาจจะไมสอด คล้องกับผลดีตามธรรมก็ได บางครั้ง บางเรื่องอาจจะถึงกับตรงกันขามเลยก็ได้
|
เจ้าของ: | ลุงหมาน [ 16 พ.ย. 2016, 13:11 ] | ||
หัวข้อกระทู้: | Re: เหตุปัจจัยในปฏิจจสมุปบาท | ||
ทั้งนี้ขึ้นตอปจจัยทางสังคมเปนตน ที่เนื่องดวยกาลเทศะ เชน ในกาละ และเทศะที่ธรรมวาทอ่อนกำลัง และอธรรมวาทมีกำลัง ดังนั้น จงต้องพิจารณา ด้วยว่าผลที่วาดนั้เป็นของสมควรหรือไม่ เราจะเอาธรรมไวหรอจะไปกับตัวตน จะตองไมประมาทในการศึกษาและพัฒนากรรมกันอยางนี้ จึงจะถูก ตองนี่ก็คือการพัฒนาตัวเราเอง และพัฒนาสังคมไปดวย ไมใชทําอะไรไป แลว ก็มองแงเดียวชั้นเดียววาไดผลที่ตนตองการ หรือไมได พอไมไดก็เอา แตโวยวายโอดครวญว่าทําดีไมไดดีเลยไมไปไหน แตตองขอเตือนไวดวยวา คนที่ตองการผลดีตอบุคคล (คือแค่ที่ถูกใจ ตนหรือตัวเองชอบใจ) และผลดีตามกระแสหรือคานิยมของสังคมนั้น ถาไม มองใหถึงผลดีตามสภาวะ คือผลดีตามธรรม ซึ่งเปนผลที่ดีอยางแทจริงตอ ชวีติ ตอหลักการ และตอความดีงามที่แทของสังคมแลว แมจะทํากรรมเพื่อ ผลดีที่ตนตองการนั้นไดเกง แตก็คือทํากรรมไมดีหรืออกุศลซอนไวซึ่งตัวเอง อาจจะมีปญญารูไมทันผลแงอื่น เพราะมัวแตมองเพียงผลดีแบบที่ตัว ตองการอยางเดียวดานเดียว แล้วในไม่ชา หรือในที่สุด อกุศลที่แฝงไวนั้นก็จะออกผลใหโทษตอไป จึงได้ ยาไวข้างตนวา ไมวาจะตองการผลดีขางเคียงอะไรก็ตาม ขอให ทํากรรมดีเพื่อผลดีที่ตรงตามสภาวะหรือผลดีตามธรรมเปนหลักเปนแกนไว กอนถ้าปฏิบัติตามนี้ จะได้ผลดีทีแทและปลอดภัยในระยะยาวดีทั้งแก่ชีวิต แก่สังคม แก่ตนและแก่ผู้อื่น เราคงจะมุงเอาผลดีตอตัวตนของบุคคล ผลดีตามกระแสสังคม หรือ ผลดีเชิงคานิยมกันมากไป จึงมองไมเห็นผลดีที่ตรงไปตรงมาตามธรรม ถา อยางนี้ก็จะตองบนเรื่อง “ทําดีไมเห็นไดดีแตทําชั่วไดดีมีถมไป” กันอยูอยาง นเรี้ อยๆ ื่ และคงจะแกปญหาของสังคมไดยาก เพราะความคิดของเราเองก็ เปนกรรมไม่ดีเปนปจจัยรวมใหเกิดผลอยางนั้นดวย ถ้ามองกันอยูแคนี้ ก็จะไมมีคนอยางพระโพธิสัตวที่ถึงแมจะถูกเขาทํา รายหรือฆา ก็ยังเขมแข็งอยูในการทําความดี เพราะมุงผลดีที่ตรงไปตรง มาตามความจริงของมัน
|
หน้า 1 จากทั้งหมด 2 | เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง |
Powered by phpBB © 2000, 2002, 2005, 2007 phpBB Group http://www.phpbb.com/ |