วันเวลาปัจจุบัน 26 เม.ย. 2024, 23:48  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


“อภิธรรม (สันสกฤต: abhidharma) หรืออภิธัมมะ (บาลี: abhidhamma) เป็นชื่อปิฎกศาสนาพุทธฉบับหนึ่งในปิฎกทั้งสามฉบับที่รวมเรียก "พระไตรปิฎก" อภิธรรมแปลว่าธรรมอันยิ่ง ปิฎกฉบับอภิธรรมนั้นเรียก "พระอภิธรรมปิฎก" ซึ่งว่าด้วยประมวลหลักธรรมและคำอธิบายที่เป็นหลักวิชาล้วนๆ ไม่มีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์และบุคคลเลย”



กลับไปยังกระทู้  [ 4 โพสต์ ]    Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ก.ค. 2022, 17:20 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




monk-are-teacher-974624612-5b8223aec9e77c002447c48b.jpg
monk-are-teacher-974624612-5b8223aec9e77c002447c48b.jpg [ 142.41 KiB | เปิดดู 717 ครั้ง ]
วิธีการสำรวมก่อนที่จะเจริญภาวนา

ก่อนที่จะเจริญภาวนา ถ้าต้องการรักษาอินทรีย์สังวรให้หมดจด ในเบื้องต้น
จะต้องรักษาสติสังวร, ขันติสังรและวิริยสังวรก่อน ส่วนวิธีการรักษา พึงทราบ
ตามนัยที่มาในคัมภีร์อัฏฐสาลินี(อภิ.อฏ. 0/00๗) ดังนี้ว่า "ตสุส อิมินา นิยมิตวเสน
ปริยามิตวเสน สมุทาจารวเสน อาภูชิตวเสน จ กุสลํ นาม ชาต์ โหติ."

จำกัดขอบเขตของจิต

นักปฏิบัติที่ดีควรจำกัดความคิดของตน เป็นตันว่า เราจะคิดแต่สิ่งที่ดีและ
เป็นกุศล หรือเราจะพูดหรือกระทำแต่สิ่งที่ตีงามที่เป็นบุญเป็นกุศลเท่านั้น โดยจะ
พยายามให้กุศลจิตบังเกิดขึ้นในทวารแม้ทั้ง และพยายามตั้งสติป้องกันมิให้
อกุศลจิตบังเกิด จะต้องไม่โกรธเคืองไม่ว่ากรณีใดๆ จะต้องอดทนและอดกลั้นใน

ผู้ที่สามารถบังคับจิตได้อย่างนี้แม้บางครั้งจะเผชิญกับสิ่งที่เป็นเทตุให้อกุศลเกิด
ขาก็จะไม่แยแสต่ออารมณ์นั้น คือจะไม่ยอมคิดในแง่ที่เป็นอกุศลกับสิ่งเหล่านั้น
จินาการของเขาจะวนเวียนอยู่แต่ในวิถีแห่งกุศลเสียเป็นส่วนมากเช่นคนที่คิดหรือ
ปรารถนาจะให้ทานด้วยศรัทธาที่แรงกล้า ถ้าเขาได้ของสิ่งใดสิ่งหนึ่งแม้จะมีค่ามาก
ปานใด เขาก็จะคิดถึงการให้ทานเป็นลำดับแรกลืมคิดแม้กระทั่งเก็บไว้ใช้สำหรับตนเอง
นี้เป็นสักษณะการทำให้สังวรบริสุทธิ์หมดจด โดยวิธีการจำกัดหรือกำหนด หรือที่
เรียกเป็นภาษาบาลีว่า นิยมิตะ

เปลี่ยนอกุศลให้เป็นกุศล

ในกรณีที่อกุศลจิตบังเกิดขึ้นให้พยายามเปลี่ยนอกุศลจิตนั้นเป็นกุศลสมมติว่า
เห็นสตรีเพศแล้วเกิดกิเลสราคะ ก็ควรทำใจอย่างนี้ คือถ้าเป็นสตรีที่มีวัยรุ่นเดียว
กับมารดา ก็ให้คิดเสียว่าเธอเป็นมารดาของเรา ถ้าเป็นสตรีที่มีวัยรุ่นเดียวกับพี่สาว
หรือน้องสาว ก็ให้คิดเสียว่าเธอคือพี่สาวหรือน้องสาวแท้ๆของเรา แล้วให้พยายาม
นึกถึงความทุกข์ของเธอ แล้วทำใจให้เกิดกรุณาความสงสาร และเมตตาความ
ปรารถนาดีต่อตัวเธอ อีกนัยหนึ่ง ให้เจริญอสุภสัญญา คือ พยามยามสร้างภาพ
ในใจ ให้มองเห็นสิ่งปฏิกูลที่มีอยู่ในตัวเธอ เช่น ขี้ตา น้ำมูก น้ำลาย อุจจาระ
ปัสสาวะ เป็นต้น อีกนัยหนึ่ง ให้พยายามเปลี่ยนอารม คือ ไม่ต้องไปใส่ใจในตัว
สตรีนั้นเลยให้หันมาคิดถึงพระปริยัติที่เคยเล่าเรียนศึกษามาโดยการกระทำการถาม
การสอน การสาธยายเป็นต้น เพื่อให้อารมณ์ที่ไม่ดีเปลี่ยนไป นอกจากนี้ ยังสามารถ
เปลี่ยนจิตหรือเปลี่ยนอารมณ์ ด้วยวิธีการพิจารณา ที่เรียกว่า ปฏิสังขานนัย เช่น
พิจารณาโดยมูลปริญญาที่มีปรากฏในคัมภีร์อรรถกถาของสติปัฏฐานสูตร พิจารณา
โดยความเป็นสิ่งของที่ผ่านหูผ่านตามาเยือนชั่วคราว พิจารณาโดยความเป็น
ตาวกาลิกวัตถุ คือ เป็นสิ่งที่ชั่วครูชั่วยาม หรือโดยความเป็นชันธ์ อายตนะ ธาตุ
นี้เป็นลักษณะการทำให้สังวรบริสุทธิ์หมดจด โดยวิธีการปริณามิตะกล่าวคือการ
เปลี่ยนอารมณ์หรือเปลี่ยนจิต

สืบต่อกุศลจิตให้คงอยู่ต่อเนื่อง

ตามที่กล่าวมาแล้วข้างตัน จะเห็นว่า การเปลี่ยนจากอกุศลไปเป็นกุศลนั้นมี
อยู่หลายวิธี แต่ทั้งนี้ควรทำให้จิตอยู่ในกรอบแห่งกุศลตลอดเวลา อย่าปล่อยให้
อกุศลจิตมีโอกาสเกิดขึ้น ซึ่งถ้าหากนักปฏิบัติสามารถกระทำได้เช่นนี้ ก็จะทำให้
ทวารทั้ง ๖ กลายเป็นที่เข้าออกของกุศลธรรมเพียงอย่างเดียว นี่เป็นลักษณะการ
ทำให้สังวรบริสุทธิ์ หมดจดโดยวิธีการสมุทาจาระกล่าวคือการรักษาอารมณ์มิให้ขาด

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ก.ค. 2022, 17:44 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




old-monk-teaching-little-monks-260nw-347323895.jpg
old-monk-teaching-little-monks-260nw-347323895.jpg [ 35.31 KiB | เปิดดู 717 ครั้ง ]
เจริญโยนิโสมนสิการ[มองโลกในแง่ดี

ทุกครั้งที่เผชิญหน้ากับอารมณีใดอารมณ์หนึ่ง จะต้องเจริญโยนิโสมนสิการ
หมายความว่า "จะต้องคิดไปในทางที่ดีที่ถูกต้องด้วยเหตุผล เพื่อกุศลจิตจะได้ปังเกิด
ตัวอย่างเช่น คนที่ไม่เคยกระทำความผิดอะไรๆมาก่อน แต่กลับถูกสังคมประณาม
หรือติเตียน เขาผู้นั้นจะต้องมีโยนิโสมนสิการ(หรือการมองโลกในแง่ที่ดี" หรือมองหา
ตันเหตุ ว่า "ที่คนอื่นเขาติดเตียนเรานั้นเพราะเขาไม่รู้ข้อเท็จจริง แล้วสักแต่ว่าพูด
ออกไปตามที่พวกตนนึกคิด ซึ่งก็เป็นเรื่องธรรมดาของสังคมมีปากทีไม่ได้รับการ
ฝึกฝนให้สำรวม แต่ถ้าพวกเขาเหล่านั้นล่วงรู้ความจริงว่าอะไรคืออะไร พวกเขาก็
คงเสียใจที่ได้ประณามคนอย่างผิดๆ ส่วนสาเหตุที่ตัวเราเองทั้งๆที่ในชาตินี้
ไม่ได้กระทำผิด แต่กลับถูกคนอื่นประณามนั้น จะต้องมาจากการที่เราเคยประณาม
ผู้อื่นที่ไม่มีความผิดไว้ในชาติก่อนๆเป็นแน่ ด้วยเศษกรรมที่ได้กระทำไว้ในวัฎฏะ
จึงต้องเป็นเช่นนี้" ก็การมองโลกในแง่ที่ดี ด้วยเหตุผลอย่างนี้ ท่านเรียกว่า การเจริญ
โยนิโสมนสิการ

อีกนัยหนึ่ง ควรเจริญโยนิโสมนสิการ อย่างนี้ว่า "ชื่อว่าคนที่ประณามหรือ
ติเตียนผู้อื่น แท้จริงแล้วก็เป็นเพียงโทสจิตอุปบาทและจิตตชรูปเท่านั้น คือ
เป็นเพียงรูปนามขันธ์ห้าเท่านั้นไม่มีบุคคล ตัวตน เราเขาใดๆ ก็รูปนามขันธ์ห้านี้
โดยธรรมชาติแล้ว เป็นสิ่งที่เกิดดับอยู่ตลอดเวลา ดังนั้น รูปนามที่เป็นผู้ประณาม
ในตอนนั้น จึงดับไปหมดแล้ว เหลือแต่รูปนามใหม่ๆที่กำลังเกิดกำลังดับอยู่ จึงไม่
ควรที่เราจะไปโต้ตอบ เพราะถ้าโต้ตอบ ก็จะทำให้โต้ตอบผิด ด้วยว่า ผู้ที่ประณาม
ก็ได้ดับไปแล้ว ส่วนที่เกิดมาใหม่ ก็ไม่ใช่รูปนามตัวเดิม ดังนั้น จึงมิใช่ผู้ที่เคยด่า
ประณามเรา ซึ่งถ้าเราไปโต้ตอบ เราก็ย่อมผิดเช่นกัน ก็ในเมื่อรูปนามเดิมดับไปแล้ว
หากเราโกรธก็เท่ากับว่าโกรธผิดคน อุปมาเหมือนบุคคลที่มีความแค้นต่อพ่อแม่ของ
ผู้อื่น เมื่อพ่อแม่ของคนเหล่านั้นตายไปแล้ว เขาก็ยังมีความแค้นต่อลูกหลาน เหลน
โหลน ของผู้ตายอีด จนกระทั่งล้างแค้นสำเร็จฉันนั้น

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ก.ค. 2022, 17:57 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




7b63ccd01f388f12471c6581afee6ae5.jpg
7b63ccd01f388f12471c6581afee6ae5.jpg [ 83.65 KiB | เปิดดู 707 ครั้ง ]
ที่กล่าวมานี้ เป็นเพียงตัวอย่างเท่านั้น เพราะว่าการมนสิการนั้น มีขอบเขต
กว้างมาก จึงมิอาจที่จะนำมาแสดงหรือกล่าวได้ทั้งหมด อนึ่ง การใช้ปัญญาพิจารณา
อย่างสมเหตุสมผล เมื่อยังกุคลธรรมให้บังเกิดนั้น ล้วนเป็นโยนิโสมนสิการ
ทั้งสิ้น ซึ่งจะได้แจงประเกทของโยนิโสมนสิการไว้ในปริเฉทที่ ๔ ตอนที่ว่าด้วยเรื่อง
นีวรณธัมมานุปัสสนาอีกครั้งจึงต้องขอจบวิธีการทำให้สังวรบริสุทธิ์หมดจดโดยวิธีการ
"อาภูชิตะ" "การทำใจในแง่ที่ดี" ไว้แต่เพียงเท่านี้

ขอให้นักปฏิบัติพยายามชำระ อินทรีย์สังวรศีล ของตนให้หมดจด โดยการยัง
อกุศลจิตอย่างเดียวให้ดำเนินไปทางทวาร - ด้วยวิธีการนิยมิตะ"การจำกัดหรือ
กำหนดขอบเขตของจิต" และด้วยวิธีการอื่นๆดังที่ได้กล่าวมาแล้ว ถ้าผู้ใดมีปกติ
ปฏิบัติตามที่ว่ามานี้แล้ว เขาก็จะมีสติดีเป็นพิเศษ ซึ่งสตินี้แหละ ท่านเรียกว่า
"สติสังวร" ถ้าว่าในบางครั้งมีอกุศลเข้ามาแทรก ก็ขอให้รีบกำหนดโดยทันทีที่สติ
ระลึกได้แล้วอธิษฐานจิต ว่า "เราจะไม่คิดเช่นนี้อีกแล้ว" การอธิษฐานเช่นนี้ ก็เป็น
การชำระอินทรีย์สังวรศีลได้ โดยเปรียบเหมือนกับการออกจากอาบัติ หรือการพัน
จากโทษทางวินัยพระ ด้วยวิธีการแสดงอาบัติ(อันเป็นวิธีการปฏิญาณตนและ
อธิษฐานตั้งใจต่อหน้าผู้อื่นว่าจะไม่ทำเช่นนี้อีก โดยส่วนใหญ่แล้วผู้ปฏิบัติเช่นนี้
ถ้าได้ประสบกับอนิฏฐารมณ์อารมณ์ที่แต่ละบุคคลไม่ชอบ] ก็จะสามารถอดกลั้น
หรือวางเฉยต่ออารมณ์นั้นได้ การอดกลั้นอย่างนี้ ท่านเรียกว่า "ขันติสังวร" ส่วน
ความเพียรพยายามเพื่อมิให้อกุศลวิตก เช่น กามวิตกเกิดขึ้น และเพื่อจะละวิตกํ
เหล่านั้นที่ได้เกิดขึ้นแล้วในจิตสันดานของตน ท่านเรียกว่า "วิริยสังวร"

นัยทั้งหมดที่ได้แสดงมาแล้ว ล้วนเป็นแนวทางที่ดี ดูผิวเผินอาจจะคิดว่าง่าย
แต่ถ้าลองปฏิบัติดูแล้ว จะเห็นว่าไม่ง่ายอย่างที่คิด ที่เป็นเช่นนี้ ก็เพราะว่า ธรรมดา
จิตที่ขาดการเจริญภาวนานั้นมีสภาพที่หยาบกระด้างมาก ดื้อรั้น และมักละเมิดเข้า
ไปหาอารมณ์ที่ต้องห้ามบ่อยๆไม่ค่อยอยู่ในอำนาจคำสั่ง

มีบางคน คิดว่า การที่จะเจริญภาวนให้สมบูรณ์ได้นั้น จะต้องมีศีล ๔ ประเภท
บริสุทธิ์ และคิดว่า แม้ผู้ที่มิได้เจริญกาวนาก็สามารถทำให้อินทรีย์สังวร บริสุทธิ์ได้
จริงๆแล้ว ความคิดอย่างนี้ ไม่ตรงกับอรรถกถา ฎีกา ที่ท่านได้กำชับนักหนาว่า
"ให้ดำรงจิตมั่น ในอารมณ์สักแต่ว่าเห็นหรือได้ยิน อย่าปล่อยให้กิเลสเกิดขึ้นเพราะ
อารมณ์เหล่านั้น" นี้เป็นคำที่ท่านสั่งกำชับไว้

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ก.ค. 2022, 18:30 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




Novices-monk-vipassana-meditation-at-front-of-Buddha-statue.jpg
Novices-monk-vipassana-meditation-at-front-of-Buddha-statue.jpg [ 125.22 KiB | เปิดดู 707 ครั้ง ]
ทุกๆครั้งที่วิญญาณรับอารมณ์บุคคลที่ไม่ได้เจริญภาวนา จะไม่สามารถสำรวม
ระวังเพื่อมีให้อกุศลหรือกิเลสเกิดขึ้นได้เลย ทั้งนี้เพราะว่าแม้พลววิปัสสกบุคคล
(ผู้สำเร็จวิปัสฒนาชั้นสูง] เองก็ตาม ก็ไม่สามารถที่จะสำรวมได้ในทุกขณะจิต ที่เป็น
เช่นนี้เพราะว่า กิเลลที่บุคคลควรละด้วยยินทรีย์สังวรนั้น ไม่ใช่กิเลสประเภท
วีติกกมะ "กิเลลที่ส่วงละเมิดทางกายและวาจา" แต่เป็นประเกทปริยุฏฐาน ฟุ้งขึ้น
ทางใจ" และ อนุสัย "มีอยู่ในส่วนลึกๆของจิตใจ" เท่านั้น และตัวยินทรีย์สังวรเอง
ก็เป็นเพียงศิลโดยทางอ้อม ด่างกับปาดีโมกขสังวรศีลซึงเป็นศิลโดยตรง ส่วนองค์
ธรรมของอินทวีย์สังวรนี้ ได้แก่ สดิ ญาณ ขันติ และวิริยะ ซึ่งจัดเข้าได้ในสมาธิ
(จิดต)สิกขา และปัญญาสิกขาเท่านั้น ดังนั้น อินทวีย์สังวรนี้จึงนับเข้าในภาวนา
คังจะเห็นได้ในพระบาลีจุสนิทเทส และอรรถกถาของพระบาลีสุดคนิบาตได้อธิบาย
องค์ธรรมของคำว่ญาณสังวรด้วยมรรคณาณ ลรุปว่า การที่จะสำรวมอินทวิย์
สังวรให้บริบูรณ์ใด้นั้น จะต้องอยู่ในการเจริญภาวนา

จิตที่ถูกฝึกด้วยภาวนามาดีแล้ว ย่อมเป็นสภาวะที่ละเอียดอ่อน สุภาพว่าง่าย
และ อยู่ในความควบคุม ยิ่งถ้ภาวนาแก่กล้ามากเท่าใด อินทวีย์สังวรก็จะยิ่งหมดจด
ขึ้นไปเรื่อยๆและถ้กาวนาถึงความบริบูรณ์เมื่อใคยินทรีย์สังวรก็จะถึงความบริบูรณ์ด้วย
เช่นกัน ข้อนี้พึงดูเรื่องพระมหาดิสสเถรในวิสุทธิมรรคเป็นตัวอย่าง ก็พระมหา
ติแสเถระรูปนี้ เป็นผู้เจริญอสุกภาวนา(อสุภกัมมัฏฐาน]โดยสม่ำเสมอ วันหนึ่ง
ท่านได้เห็นสตรีผู้หนึ่งกำลังเกิคอารมณ์ชันหัวเราะเสียงคัง พอท่านมองเห็นพันของ
แตรีผู้นั้น ท่านก็เจริญอนุกสัญญากัมมัฏฐานจนได้ปฐมฌาน แล้วเจริญวิปัสสนา
กระทั่งบรรลุอรหัดณล ดังท่านบันทึกไว้เป็นร้อยกรองในวิสุทธิมรรค ดังนี้
ตสฺสา ทนุดฎจิกํ ทิสวา ปุพฺพสญฺณํ อนุสฺสรี
ตตฺเถว โส ฐิโต เถโร อรทตฺตํ อปาปุณิ.(
(วิสุทฺธิ.๑/๑๒๐)

โส เถโร - พระเกระนั้น ทิสุวา - เมื่อเห็น ทนุตฎฺฐิกํ
ซึ่งกระดูกคือพัน ตสฺสา - ของสตรีผู้นั้น อนุสฺสรี - จึงระลึกถึง
ปุพฺพสญฺญํ - ซึ่งสัญญาเก่า (คืออสุกสัญญาทีตนเคยเจริญ)
ฐิโต - ดำรงอยู่แล้ว ตตฺเถว ในกมุกสัญญานั้นนั่นเทียว
อปาปุณิ - บรรลุแล้ว อรหตฺต่ ซึ่งอรหัตตผล

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 4 โพสต์ ] 

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 69 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร