วันเวลาปัจจุบัน 20 เม.ย. 2024, 05:49  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


“อภิธรรม (สันสกฤต: abhidharma) หรืออภิธัมมะ (บาลี: abhidhamma) เป็นชื่อปิฎกศาสนาพุทธฉบับหนึ่งในปิฎกทั้งสามฉบับที่รวมเรียก "พระไตรปิฎก" อภิธรรมแปลว่าธรรมอันยิ่ง ปิฎกฉบับอภิธรรมนั้นเรียก "พระอภิธรรมปิฎก" ซึ่งว่าด้วยประมวลหลักธรรมและคำอธิบายที่เป็นหลักวิชาล้วนๆ ไม่มีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์และบุคคลเลย”



กลับไปยังกระทู้  [ 4 โพสต์ ]    Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 ส.ค. 2022, 05:00 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




road-sign-464643_1280.png
road-sign-464643_1280.png [ 44.98 KiB | เปิดดู 625 ครั้ง ]
ข้อควรทราบ

เกี่ยวกับวิปัสสนาของพระสารีบุตรเถระ ผู้ซึ่งได้ทำการกำหนดพิจารณารู้
สภาวธรรมทั้งหมดที่เป็นวิสัยของพระสาวกนั้น พึงทราบว่า สภาวธรรมทั้งหลายที่
ท่านนำมากำหนดพิจารณาในแต่ละวาระนั้น ในพระไตรปิฎกและอรรถกถาได้แสดง
ไว้อย่างมากที่สุดเพียง ๑๖ ประการเท่านั้น และในบรรดาสภาวะ ๑๖ ประการเหล่านั้น
เนื่องจากสุขกับเวทนานั้นมีองค์ธรรมช้ำกัน จึงนับโดยสภาวะจริงๆแล้วได้เพียง ๑๕
สภาวะเท่านั้น

สำหรับในคัมภีร์อภิธรรมปิฎกทั้งหลายพระพุทธองค์ได้ทรงแสดงว่า ในปฐมฌาน
จิตนั้น มีเจตสิกประกอบอยู่ ๓๕ ชนิด ซึ่งในบรรดา ๓๕ ชนิดนั้น หากหักกรุณา
และมุทิตาซึ่งเป็นเจตสิกที่ประกอบได้เป็นบางครั้งออก ก็จะเหลือเพียง ๓๓ ชนิด
เท่านั้น ดังนั้น หากเอ่ยถึงฌานจิต ก็จะต้องรู้ว่า ในปฐมฌานจิตตุปบาทมีกลุ่มธรรม
รวมอยู่ ๓๔ ชนัต ซึ่งใน ๓๔ ชนิดนั้น ตามมติของพระไตรปิฎกและอรรถกา
ของพระสูตรที่ยกมาข้างต้น พึ่งทราบว่า โยคีสามวกทำการกำหนตพิจารณา
รู้เฉพาะสภาวรรม ๑๕ ชนิดเท่านั้น ส่วนสกาวกรรม ๑๙ ชนิคที่เหลีอ ไม่ปรากฏ
ว่าท่านได้แสดงไ ว้แต่อย่างใต

ในคัมก็รัฎีกา ของพระสูตรดังกล่าว ท่านได้แสดงวาทะ(ควมเห็น)ไ ว้ ๒ วาทะ
กล่าวคือ อาจริยวาทะ กับ อปเรวาทะ ซึ่งในบรรดาวาทะ ๒ วาทะนั้น พึงทราบว่า
ตามมติของอาจริยวาทะนั้น ท่านประสงค์ให้เอาสภาวถรรม ๑๖ ประการเท่าเนั้น
มากำหนดพิจารณา เนื่องจากมีแต่สกาวถราม ๑๖ ประการเฟานั้นปรากฎเกิดขึ้น
แต่ในส่วนของอปเรวาทะ ท่านแสดงไว้ว่า "ไม่ควรมีจะสรุปว่าสภาวธรรมที่เหลีอจาก
๑๖ ประการเป็นสภาวธรรมที่ไม่ปรากฏ"

แม้จะกล่าวว่าในวาระจิตแต่ละครั้ง พระสารีบุตาสามารถกำทนดพิจารณารู้
สภาวถรรม ๑๖ ประการเท่านั้น แต่ก็เงินญาณานุภาพที่มีประสิทธิภาพโตยกรรมชาติ
ของพระเถระจึงเป็นญาณที่ควรแก่การยกย่องเป็นอย่างยิ่ง ทากท่านใดเคยเจริญ
วิปัสสนาอย่างลึกซึ้งมาก่อน ก็จะเกิดความครัทถาเสื่อมใส่ต่อญาณของพระมทา
เถระ อย่างหาสิ้นสุตไม่ได้อย่างแน่นอน ส่วนผู้ที่รู้อภิถรรมมาพกงูๆปลาๆแต่ไม่เคย
ผ่านการได้วิปัสสนาญาณจริงๆมาก่อน ก็จะหมึนว่าการพิจารณาได้แค่ ๑๖ ชนิด นั้น
น้อยไป ยังไม่สมบูรณ์พอ และเป็นการพิจารณาทีไม่ยาก ซึ่งข้อนี้ โยดีจะต้องมีสติ
ระมัดระวังเพื่อมิให้เกิดการดูหมิ่นดูแคลนเรื่องนี้โดยเด็ตขาด

โยคีบางท่านเคยศึกษาท่องจำลักษณะ จับกลุ่มของรูป(รูปกลาปะ), ลักษณะการ
ประกอบหรือสัมปยุตของจิตกับเจตสิก, ลัขณาทิจดุกกะ (ลักษณะ รสะ ปัจจุปัฏฐาน
และปทัฏฐาน)ของจิตเจตสิกเหล่านั้น และลำคับของวิถีจิตทั้งหลายมาก่อนแล้ว
ก็จะทำให้ตรึกนึกคิดไปตามที่ตนเคยได้ยินได้ฟังมานั่นแหละว่า "เพียงแค่สักว่า
พิจารณาตามที่ตนเคยศึกษาเล่าเรียนมาก็ย่อมกระทำกิจการกำหนดพิจารณาและกิจ
การรู้ด้วยวิปัสสนาญาณให้สำเร็จได้นั่นเทียว" ขอให้ใช้วิจารณญาณเปรียบเทียบ
ความคิดเห็นนี้กับพระไตรปิฎก อรรถกถาและฎีกาทั้งหลายให้ดี แล้วจะเห็นว่าใน
พระคัมภีร์พระไตรปิฎก เป็นต้นนั้น ท่านได้แสดงการที่จะเกิดวิปัสสนาได้นั้น จะต้อง
เป็นการพิจารณารู้แจ้งเห็นจริงตามที่สภาวธรรมเกิดขึ้นเท่านั้น เพียงแค่พิจารณา
ตามที่ตนเคยศึกษาเล่าเรียนมานั้น ยังไม่ใช่การเกิดวิปัสสนาญาณแต่อย่างใด

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 ส.ค. 2022, 06:10 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




20220804_035728.jpg
20220804_035728.jpg [ 106.97 KiB | เปิดดู 410 ครั้ง ]
ข้อที่ว่า "รูปนามที่โยคีพิจารณารับเอามาเป็นอารมณ์ นั้น เนื่องจากว่า
หากไม่มีการเกิดขึ้นจริงในขันธสันตานทั้ง ๒ คือ ทั้งอัชมัตติกสันดาน และพทิทธสันดาน
ธรรมนั้นก็จะไม่ใช่ปรมัตที่แท้จริงเป็นแต่เพียงบัญญัติที่ตนตรึกนึกคิดเอาเท่านั้นเอง
ซึ่งประเด็นนี้ได้กำชับไว้ครั้งแล้วครั้งเล่าในหนังสือเล่มนี้ ด้วยเหตุนี้นี่เอง หากโยคี
ท่านใดขืนพิจารณาตามสุตะที่ตนเคยศึกษาเล่าเรียนมา ก็ย่อมที่จะทำให้โยดีท่านนั้น
นึกสำคัญเอาว่า ไม่ว่าสภาวธรรมใดที่คนพิจารณาก็ล้วนแต่ปรากฏซัดทั้งสิ้นชื่งอาจทำ
ให้คิดว่า แม้ตนจะยังไม่ได้ฌาน มรรค ผล นิพพาน ก็ย่อมสามารถที่จะรู้ชัดสภาวธรรม
ทั้งหลายเหล่านี้ได้ จึงทำให้โยคีท่านนี้ไม่สามารถรู้ซึ้งถึงความแตกต่างว่า สภาวธรรม
ใดปรากฏชัด สภาวธรรมใดไม่ชัด

อุปมาเหมือนกับเสียงร้องของนกการเวกที่บุคคลยังไม่เคยได้ยินมาก่อนนั้น
ย่อมไม่เหมือนกับเสียงของนกในป่าทั่วๆไป ฉันใด ก็ฉันนั้น ฌาน มรรค ผล ที่โยคื
ยังไม่เคยเข้าถึงนั้น ก็ย่อมจะไม่ปรากฎราวกะว่าประจักษ์แจ้งด้วยสายตาแก่โยคี
นั้นเช่นกัน

อนึ่ง ฌานธรรมซึ่งเป็นสภาวะที่ประณีตนั้น ย่อมไม่ปรากฎเหมือนกับที่กามธรรม
อันเป็นสภาวะที่หยาบปรากฏอยู่อย่างแน่นอน ด้วยเหตุนี้ ในแต่ละครั้งที่กำหนด
พิจารณานั้น การที่โยคีจะเห็นสภาวะทั้ง ๒ โดยประจักษ์แจ้งเหมือนๆกันนั้น จึงเป็น
ไปไม่ได้ ทั้งนี้เพราะว่า ขึ้นชื่อว่าอารมณ์ที่โยคีนำมากำหนดพิจารณาตามที่ตนได้เคย
ศึกษาเล่าเรียนมานั้น ยังไม่ใช่ปรมัตถ์ที่แท้จริงนั่นเอง เนื่องจากเป็นเพียงบัญญัติ
การกำหนดพิจารณาดังกล่าว จึงยังไม่ใช่วิปัสสนาที่แท้จริงเพราะถ้าหากเป็นวิปัสสนา
แท้นั้น พึงทราบว่า แม้แต่พระสารีบุตรผู้ซึ่งมีปัญญามากยังเห็นได้ไม่ชัดในเนวสัญญา
นาสัญญายตนฌานซึ่งเป็นฌานที่มีความละเอียดอ่อนประณีตมากเลย จะมัวกล่าว
ไปใยเล่า สำหรับโยคีธรรมดาทั่วๆไป ด้วยเหตุนี้ จึงทำให้พระสารีบุตรเถระไม่สามารถ
พิจารณาฌานดังกล่าวด้วยวิธีการของอนุปทธัมมวิปัสสนานัย จึงได้ออกจากฌาน
ดังกล่าวแล้วทำการพิจารณาด้วยวิธีการของกลาปสัมมสนนัยเท่านั้น ดังจะได้ยก
พระบาลีดังกล่าวมาแสดงดังต่อไปนี้

ปุน จ ปรั ภิกุขเว สาริปุตฺโต สพฺพโส อากิญฺจณุฌายตนํ สมติกุกม
เนวสญฺญานาสญฺญายตนํ อุปสมุปชุช วิทรติ, โส ตาย สมาปดุติยา สโต วุฎจหสิ.

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 ส.ค. 2022, 07:19 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




segment_regular_ofmUR3loNC8.png
segment_regular_ofmUR3loNC8.png [ 33.21 KiB | เปิดดู 401 ครั้ง ]
โส ตาย สมาปตฺติยา สโต วุฎฺฐหิตฺวา, เย ธมฺมา อดีตา นิรุทฺธา วิปริณดา,
ธมุเม สมนุปสุสติ "เอวํ กิริเม ธมฺมา อทุตฺวา สมุโภนฺติ, ทุตฺวา ปฏิเวนฺดี"ดิ.


ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย วิธีการอื่นยังมีอีก, พระสารีบุตรนั้นเธอได้ข้ามอากิญ
จัญญายตนฌานแล้วเข้าถึงเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน จากนั้น เมื่อเธอมีสติจึง
ออกจากฌานสมาบัตินั้น ครั้นออกจากสมาบัตินั้นแล้ว จึงได้ทำการกำหนดพิจารณา
สภาวธรรมทั้งหลายที่ล่วงลับดับไปและแปรสภาพไปโดยนัยอย่างนี้ว่า"ธรรมทั้งหลาย
เหล่านี้มีสภาพล่วงพันไปแล้วดับไปแล้ว แปรสภาพไปเป็นอย่างอื่นแล้วจริงๆแต่ด่อน
ยังไม่เคยเกิด ก็ได้เกิดขึ้นแล้ว เมื่อเกิดแล้วก็ได้ดับลงไปแล้วนั่นเทียว"

อนึ่งเนื่องจากพระพุทธองค์นั้นได้ทรงแสดงวิธีการกำหนดพิจารณาสภาวธรรม
เช่น วิตก วิจาร เป็นต้น ไว้ในฌานอื่นๆโดยเฉพาะอย่างยิ่งได้ทรงเน้นลักษณะของการ
ากูฏแห่งการเกิด การดับ และการแปรสภาพของสภาวธรรมทั้งหลาย
ไว้โดยตรงด้วย แต่สำหรับในเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน พระพุทธองค์มิได้
ทรงแสดงไว้เช่นนั้นเลย เพียงแต่ทรงแสดงไว้โดยสามัญธรรมดาทั่วไปอย่างนี้ว่า
เย ธมฺมา อตีตา นิรุทฺธา วิปริณตา, เต ธมุเม สมนุปสุสติ. "ธรรมเหล่าใด ล่วงไปแล้ว
ดับไปแล้ว แปรสภาพไปแล้ว พระสารีบุตรได้กำหนดพิจารณาธรรมทั้งหลายเหล่านั้น"
จึงทำให้เกิดคำถามขึ้นมาว่า เนวสัญญานาสัญญายตนฌานนั้น มีความพิเศษแตกต่าง
จากฌานอื่นๆอย่างไร?

เกี่ยวกับประเด็นนี้ พระอรรถกถาจารย์ท่านได้ขี้แจงไว้ดังนี้ว่า

เต ธมฺเม สมนุปสุสตีติ ยสฺมา เนวสญฺญานาสญฺญายตเน พุทฺธานํเยว
อนุปทธมุมวิปสุสนา โหติ, น สาวกานํ, ตสุมา เอตุถ กลาปวิปสุสนํ ทสุเสนฺโต
เอวมาห.

คำว่า "เต ธมฺเม สมนุปสุสติ[กำหนดพิจารณาสภาวธรรมทั้งหลายเหล่านั้น]"
หมายความว่า เนื่องจากเนวสัญญานาสัญญายตนฌานนั้นเป็นอนุปทธัมมวิปัสสนา
สำหรับพระพุทธเจ้าเท่านั้น ไม่ใช่สำหรับพระสาวก ดังนั้น พระพุทธองค์จึงทรงแสดง
เพียงวิธีการพิจารณาโดยกลาปสัมมสนนัยเท่านั้น

อนึ่ง ในคัมภีร์ฎีกาท่านยังได้อธิบายเสริมถึงสาเหตุที่ฌานดังกล่าวไม่ใช่วิสัย
ของพระสาวกไว้ว่า "เนื่องจากเนวสัญญานาสัญญายตนฌานนั้น เป็นฌานที่ถึงซึ่ง

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 ส.ค. 2022, 07:57 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




20220628_142225.jpg
20220628_142225.jpg [ 165.24 KiB | เปิดดู 408 ครั้ง ]
ความเป็นสภาวสังขารที่ละเอียดอ่อนที่สุด จึงเป็นสภาวะที่ยากที่สาวกจะหยั่งถึง
จึงทำให้พระสาวกไม่สามารถจับเอาสภาวะดังกล่าวมาจำแนกแยกแยะเป็นอย่างๆได้
จึงได้เพียงแค่พิจารณาเป็นกลุ่มๆ(กลาปสัมมสนะ) เท่านั้น"

จากพระบาลีที่ยกมาข้างต้นนั้น พึงทราบว่า พระพุทธเจ้าเท่านั้นที่จะสามารถ
พิจารณาหยั่งรู้สภาวธรรม เช่น สัญญา เอกัคคตา ผัสสะ และเวทนาเป็นต้น ที่มี
อยู่ในเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน โดยวิธีการอนุปทธัมมวิปัสสนาวิธีการแยกแยะ
สภาวธรรมเป็นอย่าง)ได้ ส่วนพระสาวกทั้งหลาย แม้กระทั่งพระสารีบุตรเถระก็ไม่
สามารถที่จะกระทำการพิจารณาเช่นนี้ได้เลย สาเหตุก็เพราะว่า เนวสัญญานาสัญญา-
ยตนฌานนั้น มีสภาวะเป็นเศษส่วนที่นอกเหนือไปจากสังขารหยาบทั้งหลาย มีสภาพ
ที่ละเอียดอ่อนมาก เปรียบได้กับดวงจิตสุดท้ายที่ใกล้จะหลับ หรือดวงจิตสุดท้าย
ในเวลาที่กำลังจะหมดสติ หรือ ดวงจิตสุดท้ายในเวลาที่ใกล้จะตาย ด้วยเหตุนี้
เนวสัญญานาสัญญายตนฌานนั้น จึงไม่ปรากฎชัดในญาณของพระสาวกทั้งหลาย
จึงเป็นเหตุให้พระสาวกทั้งหลายไม่สามารถกำหนดพิจารณาสภาวธรรมทั้งหลาย
ที่บังเกิดอยู่ในฌานดังกล่าวโดยการแยกแยะให้เห็นเป็นสภาวลักษณะเป็นต้นได้
ดังนั้น เมื่อเข้าถึงเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน พระสารีบุตรเถระท่านจึงได้ทำการ
กำหนดพิจารณาฌานดังกล่าวโดยวิธีกลาปวิปัสสนาสัมมสนนัย ซึ่งมีวิธีการรู้ฌาน
ธรรมทั้งหลายโดยทำนองเป็นการกำหนดรู้แบบอนุมานคือการเทียบเคียงโดยอิง
อาศัยแนวทางที่ว่า "แม้สภาวธรรมทั้งหลายในฌานนี้ก็มีสภาพคล้ายกันกับสภาวธรรม
ในฌานขั้นต้นๆนั่นเอง กล่าวคือ มิได้เป็นสภาวธรรมที่มีมาตั้งแต่ต้น แต่เมื่อได้เกิด
ขึ้นแล้ว ก็ลับดับหายไป"

ดังนั้น เมื่อพระพุทธองค์ทรงมีพระประสงค์จะแสดงวิธีการกำหนดวิปัสสนา
ที่เรียกว่า กลาปวิปัสสนา ไว้ในเนวสัญญานาสัญญายตนฌานดังกล่าว จึงได้ตรัส
โดยมิได้ทรงเน้นลักษณะการพิจารณารู้สภาวธรรมอันใดเป็นพิเศษไว้ในฌานนี้
แต่ทรงแสดงไว้แบบการพิจารณากว้างๆทั่วไป ดังนี้ว่า เต ธมุเม สมนุปสุสติ
ย่อมพิจารณารู้สภาวธรรมทั้งหลายเหล่านั้น อนึ่ง สำหรับโวหารบัญญัติหรือคำเรียก
ไม่ว่าจะเป็น กลาปวิปัสสนา หรือ กลาปส้มมสนนยวิปัสสนา หรือ นยมนสิการ
ก็ล้วนแล้วแต่มีความหมายองค์ธรรมเดียวกัน

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 4 โพสต์ ] 

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 56 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร


cron