วันเวลาปัจจุบัน 29 มี.ค. 2024, 13:02  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


“อภิธรรม (สันสกฤต: abhidharma) หรืออภิธัมมะ (บาลี: abhidhamma) เป็นชื่อปิฎกศาสนาพุทธฉบับหนึ่งในปิฎกทั้งสามฉบับที่รวมเรียก "พระไตรปิฎก" อภิธรรมแปลว่าธรรมอันยิ่ง ปิฎกฉบับอภิธรรมนั้นเรียก "พระอภิธรรมปิฎก" ซึ่งว่าด้วยประมวลหลักธรรมและคำอธิบายที่เป็นหลักวิชาล้วนๆ ไม่มีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์และบุคคลเลย”



กลับไปยังกระทู้  [ 1 โพสต์ ]    Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 05 ส.ค. 2022, 13:13 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




a.png
a.png [ 429.31 KiB | เปิดดู 610 ครั้ง ]
ปทัฏฐานมทารวิภังค์
รายละเอียดเพิมเติมในปทัฏฐานหาระ
ปทัฏฐานหาระ คืออะไร

ปทฎฺฐาน เป็นบทที่สร้างมาจากคำศัพท์ที่แปลว่า 'เหตุ' ๒ ศัพท์ คือ ปท
และ ฐาน "เหตุของเหตุ" "เหตุที่เป็นเหตุ" "เหตุที่ยิ่งกว่าเหตุ" หมายถึง เหตุ
ตรงและเหตุใกล้ เหตุที่ทำให้เกิดขึ้น ฉะนั้น จึงไม่ใช่เหตุที่เป็นปัจจัยหรือเป็น
บริวาร คำว่า "เหตุ" หมายถึงธรรมชาติที่ทำให้ธรรมนั้น ๆ เกิดขึ้น เรียกว่า
'ปทฏฺฐาน'
หลักการอธิบายพระพุทธพจนั ด้วยการแสดงปทัฏฐานของธรรมนั้น ๆ
เรียกว่า 'ปทฏฐานหาร
"

วิภงุค หมายถึง ตอนที่ว่าด้วยวิธีการจำแนก(วิภงุค ใช้คู่กับอุทุเทส
อุทฺเทส แปลว่า'หัวข้อ' ส่วนวิกงุค หมายถึง'รายละเอียด" เพราะฉะนั้น เราจะ
พบถ้อยคำที่ใช้ไม่ค่อยเหมือนกันเช่น ในวินัยก็ใช้อีกอย่างหนึ่ง (นิยมใช้คำว่า
ปทภาชนีย์) หรือแม้แต่ในอภิธรรมก็ใช้อีกอย่างหนึ่ง คำว่าวิภงุคนี้ในวินัยก็มี
ใช้ ส่วนในพระสูตรจะนิยมใช้คำว่านิทุเทส แทนเช่น จูพนิทุเทส มหานิทเทส
แต่ความหมายก็เหมือน ๆ กันคือแปลว่า ภาคพิสดาร หรือ รายละเอียด)

|๒l๒] ตตุถ กตโม ปทฏชาโน หาโร ?

ตตุถ ในบรรคาหาระทั้งหลายเหล่านั้น ปทฏฺฐาโน หาโร ปทัฏจานหาระ
กตโม มีอะไรบ้าง ?
หลักการพิจารณาหาเหตุที่เป็นปทัฏฐานของธรรมมีอะไรบ้าง ? คำถาม
ลักษณะนี้ท่านเรียกว่า 'กเถตุกมุยตาปุจุฉา คำถามเช่นนี้พบเห็นในพระไตรปิฎก
เป็นส่วนมาก ที่พระพุทธองค์ตรัสถามเองและทรงตอบเอง อันนี้แหละเรียกว่า

'กเถตุกมฺยตาปุจฺฉา' ในที่นี้ก็เช่นเดียวกัน ท่านไม่ได้ถามเพื่อให้คนอื่นตอบ แต่
ท่านตั้งคำถามเพื่อจะขี้แสดงเอง
"ธมฺมํ เทเสติ ชิโน"ติ, อยํ ปทฏฺฐาโน หาโร. ข้อความนี้ว่า "ธมฺมํ เทเสติ
ชิโน"
"พระชินเจ้าทรงแสดงธรรม" ประโยคนี้เป็นข้อความย่อที่แสดงลักษณะ
ของปทัฏจานหาระ ซึ่งอยู่ในหน้าที่ ๔ ของคัมภีร์เนตติ ซึ่งเราได้ผ่านมาแล้ว คาถา
ที่ขึ้นต้นด้วย คำว่า ธมฺมํ เทเสติ ชิโน เป็นดาถาที่แสดงลักษณะของปทัฏฐานหาระ
ถ้าต้องการทราบก็กลับไปดูหน้าที่ ๔ คาถาที่ ๕

คาถา "ธมฺมํ เทเสติ ชิโน" นี้เป็นคำตอบของคำถามที่ว่าปทัฏฐานหาระคือ
อะไร ? ความย่อ ๆ ของคำตอบนั้นก็คือหลักการอธิบายด้วยการสาวหาเหตุที่เป็น
ปทัฏฐานของธรรมทั้งหลายที่มีในพระบาลีเรียกว่า ปทัฏธานหาระ

กี เทเสติ, สพฺพธมุมยาถาวอสมุปฏิเวธลกุขณา อวิชชา, ตสุสา วิปลุลาสา
ปทฎฺฐาน.

ภควา พระผู้มีพระภาค เทเสติ ย่อมทรงแสดง ก็ อะไร ? [หมายความว่าใน
คำว่า "ธมฺมํ เทเสติ ชิโน" (พระชินเจ้าย่อมทรงแสดงพระธรรม) ตรงที่บอกว่าพระ
ธรรมนั้นถูกนำมาขยายให้พิสดารด้วยข้อความว่า กี เทเสติ ประโยคนี้เป็นคำถาม
ที่ชี้ความพิสดารของธมฺมํ

โคยส่วนมากแล้วธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงนั้นมีทั้งฝ่ายอกุศลและ
ฝ่ายกุศล แต่สำหรับในที่นี้ท่านเลือกแสดงฝ่ายอกุศลก่อนโดยเริ่มตั้งแต่ สพฺพธมฺม-
ยาถาวอสมฺปฏิเวธลกุขณา อวิชฺชา
เริ่มตั้งแต่ อวิชฺชา สพฺพธมฺมยาถาวอสมฺ
ปฏิเวธลกุขณา อวิชฺชา ตสุตา วิปลุลาสา" ปทฎธานํ.


อวิชชา -อวิชชา สพุพธมุมยาถาวอสมุปฏิเวธลกุขณา -มีการไม่รู้แจ้งแทง
ตลอด (อสมฺปฏิเวธ) ในธรรมทั้งปวง (สพฺพธมุม) ตามความเป็นจริง (ยาถาว) เป็น
ลักษณะ (ลกุขณ)

อวิชุชา ถือ ลักษณะคังนี้ คือ การไม่รู้แจ้งแทงตลอดในธรรมทั้งปวงตาม
ความเป็นจริง เช่น การไม่รู้การเกิด-ดับของนามรูปตามที่เป็นจริง อันนี้ก็เรียกว่า
เป็นลักษณะของอวิชชา แต่การไม่รู้ชื่อของคนโน้นคนนี้ เป็นการไม่รู้บัญญัติ อันนี้
ไม่เรียกว่า 'อวิชฺชา'

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 1 โพสต์ ] 

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 19 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร