วันเวลาปัจจุบัน 29 มี.ค. 2024, 00:38  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


“อภิธรรม (สันสกฤต: abhidharma) หรืออภิธัมมะ (บาลี: abhidhamma) เป็นชื่อปิฎกศาสนาพุทธฉบับหนึ่งในปิฎกทั้งสามฉบับที่รวมเรียก "พระไตรปิฎก" อภิธรรมแปลว่าธรรมอันยิ่ง ปิฎกฉบับอภิธรรมนั้นเรียก "พระอภิธรรมปิฎก" ซึ่งว่าด้วยประมวลหลักธรรมและคำอธิบายที่เป็นหลักวิชาล้วนๆ ไม่มีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์และบุคคลเลย”



กลับไปยังกระทู้  [ 3 โพสต์ ]    Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 06 ส.ค. 2022, 16:54 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




facts-about-human-brain.jpg
facts-about-human-brain.jpg [ 74.03 KiB | เปิดดู 668 ครั้ง ]
อโมหะกับวิชชาต่างกันอย่างไร

เเต่ในที่นี้ท่านแยกอโมหะออกมาให้แตกต่างกันกับวิชชา ด้วยว่าวิชชามุ่ง
ถึงการรู้แจ้งพระสัทธรรม ส่วนอโมหะนี้หมายถึง การไม่หลงการไม่ปฏิบัติผิดใน
วัตถุกล่าวคือ อารมณ์ แสดงว่าทั้งสองก็ต่างกันบ้างถึงแม้ว่าจะมีองค์ธรรมเหมือน
กัน องค์ธรรมนั้นอาจเหมือนกันแต่โดยลักษณะแล้วก็มีความต่างกันบ้าง เหมือน
กับชื่อของคน มีชื่อต่าง ๆ กันตามลักษณะตามสภาพ ดังนั้น ตัวจริงของอโมหะ
กับวิชชาก็คือปัญญาเหมือนกัน

วินีลกวิปุพฺพกคหณลกฺขณา อสุภสญฺญา, อสุภสญฺญา -อสุภสัญญา วินีลก-
วิปุพฺพกคหณลกฺขณา
-มีการยึด (คหณ) หรือการถือเอาอารมณ์ที่เป็นลักษณะวินีลกะ
เป็นลักษณะของความไม่งาม วินีลก หมายถึง ที่มันเกิดพองเขียวช้ำ วิปุพฺพก
หมายถึง มีน้ำหนองไหลมีน้ำเหลืองเยิ้ม คือถ้าไปถือแบบนั้น อย่างเช่น เรา
พิจารณาร่างกายของเราว่ามีแต่ของเป็นแบบนี้ เป็นวินีลก วิปุพฺพก ก็จะเกิดอสุภ
สัญญา ตสฺสา นิพฺพิทา ปทฏฺฐานํ. นิพฺพิทา -ความเบื่อหน่าย ปทฎฺฐานํ เป็น
ปทัฏฐาน ตสฺสา -แก่อสุภสัญญานั้น แต่จริง ๆ แล้ว ความเบื่อหน่ายในร่างกาย
ความเบื่อหน่ายในธรรมทั้งหลายเป็นปทัฏฐาน คงจะกลับกันเป็นปทัฏฐานแก่
อสุภสัญญา ลักษณะของนิพพิทา ก็คือ นิพฺพิทาญาเณ อนภิรดิ ภวติ ความไม่ยินดี
ย่อมเป็นไปเพราะนิพพิทาญาณ ความไม่ยินดี และ อสุภสัญญานี้เกิดขึ้นได้หรือ
ตั้งอยู่ได้ เพราะว่า ความไม่ยินดี

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 06 ส.ค. 2022, 17:16 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




jinpeng.png
jinpeng.png [ 565.36 KiB | เปิดดู 437 ครั้ง ]
สาสวผสฺสปริชานนลกฺขณา ทุกฺขสญฺญา, ทุกุขสญฺญา ความเห็นว่าเป็น
ทุกข์ สาสวผสฺสปริชานนลกฺขณา มีลักพณะการกำหนครู้อารมณ์ด้วยผัสสะที่ยังมี
อาสวะ ลักษณะของทุกขสัญญานี้ หมาขความว่าต้องการกำหนครู้ (ปริชานน) รู้
ทุกข์ ต้องกำหนดรู้อารมณ์ ผัสสะที่ยังมือาสวะ ก็หมายถึงว่ารู้สิ่งที่ยังชื่อว่าเป็น
ทุกข์ (โลกุตตรจิต ๗ (ว้นโสดาปิดดิมรรค) ในอรูปภูมิ ๔ ไม่จัดเป็นทุกข์สัจจ์.
โลกุดตรจิด ๘ ในรูปภูมิ ๑๕ (ว้น อสัญญสัตว์ ๑) ในกามสุคติภูมิ ๗ จัดเป็นทุกข์
สัจจ์ได้ เพราะมีจิตตชรูป เกิดได้ในโลกุตตรจิต ฉะนั้นตัวโลกุตตรจิดไม่ได้เป็น
ทุกขสัจข์ แต่จิตตชรูปที่เกิดขึ้นพร้อมโลกุตตรจิต เป็นทุกขสัจจ์]

ทุกขสัญญาในที่นี้ เป็นลักษณะที่เป็นทุกข์ ลักษณะของทุกข์ไม่ใช่ทุกข์
ทั้งหมด คือจัดอยู่ในสังขตลักษณะ ๓ อย่างเช่น เราได้สัมผัสอะ ไรดี ถ้าเรากำหนด
จะเห็นความทุกข์แฝงอยู่ ไม่ใช่เป็นสุขด้านเดียว แต่ถ้าไม่กำหนดก็จะกลายเป็น
สุขสัญญาเป็นวิปัลลาส แต่ถ้าพิจารณาจะเกิดความเห็นถูกเป็นสัมมาทิฏฐิ กล่าว
คือ ทุกขสัญญานี้

ตสฺสา เวทนา ปทฏฺฐานํ. เวทนา -เวทนา ปทฎฺฐานํ -เป็นปทัฏฐาน ตสฺสา
แก่ทุกขสัญญานั้น

สงฺขตลกฺขณานํ ธมฺมานํ สมนุปสฺสนลกุขณา อนิจฺจสญฺญา, อนิจฺจสญฺญา
-ความเห็นว่าเป็นของไม่เที่ยง สงฺขตลกกฺขณานํ ธมฺมานํ สมนุปสฺสนลกฺขณา มี
ลักษณะการพิจารณาเห็นธรรมที่เป็นสังขตลักษณะ ธรรมทั้งหลายที่มีความไม่
เที่ยงเป็นทุกข์ เป็นอนัตตา คือถ้าพิจารณาธรรมเหล่านี้จะเป็นนิจจสัญญา ตสฺสา
อุปฺปาทวยา ปทฎฺฐานํ. อุปฺปาทวยา
-การเกิด-การดับ ปทฏฺฐานํ เป็นปทัฏฐาน ตสฺสา
แก่อนิจจสัญญานั้น การเกิดคับเป็นปทัฏฐาน ให้เกิดอนิจจสัญญา หมายความว่า
ถ้ำาเรามองเห็นการเกิดดับก็จะมองเห็นความไม่เที่ยง ในทางตรงกันข้ามตราบใดที่
ยังมองไม่เห็นการเกิดดับของนามรูป อนิจจสัญญาก็ไม่มีสิทธิ์เกิด

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 06 ส.ค. 2022, 17:36 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




fuxi.png
fuxi.png [ 496.8 KiB | เปิดดู 437 ครั้ง ]
สพฺธมฺมอภินิเวสลกฺขณา อนตฺตสญฺญา, อนตฺตสญฺญา -อนัดตสัญญา
สพฺพธมฺมอภินิเวสลกฺขณา -มีการมนสิการหรือการพิจารณาสภาวธรรมทั้งปวง
เป็นลักษณะ การพิจารณาหมายถึงการเห็นเป็นธรรมไม่เห็นเป็นบุกคล ไม่เห็น
เป็นสัตว์ เห็นสิ่งใดสิ่งหนึ่งแล้วก็เห็นสักว่าเป็นสภาวธรรมก็การเห็นเช่นนี้จะทำ
ให้เกิดอนัตตสัญญา แต่ตราบใดถ้าไม่ได้พิจารณาแบบนั้น ยังยืดว่าเป็นบุคคล
เป็นตัวตน เราเขาอยู่มันก็ไม่เกิดอนัตตสัญญา

ตสฺสา ธมฺมสญฺญา ปทฏฺธานํ : ธมฺมสญฺญา -การเห็นสักว่าเป็นสภาวธรรม
เท่านั้น ปทฎฺฐานํ -เป็นปทัฏฐาน ตสฺสา แก่อนัตตสัญญานั้น หมายความว่า การ
พิจารณาว่าสิ่งนี้สักว่าเป็นสภาวธรรม เป็นนิสสัตตะ นิชชีวสภาวะ การพิจารณา
แบบนั้น สามารถเป็นปทัฏฐานให้เกิดอนัตตสัญญาได้

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 3 โพสต์ ] 

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 23 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร