วันเวลาปัจจุบัน 17 เม.ย. 2024, 05:49  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


“อภิธรรม (สันสกฤต: abhidharma) หรืออภิธัมมะ (บาลี: abhidhamma) เป็นชื่อปิฎกศาสนาพุทธฉบับหนึ่งในปิฎกทั้งสามฉบับที่รวมเรียก "พระไตรปิฎก" อภิธรรมแปลว่าธรรมอันยิ่ง ปิฎกฉบับอภิธรรมนั้นเรียก "พระอภิธรรมปิฎก" ซึ่งว่าด้วยประมวลหลักธรรมและคำอธิบายที่เป็นหลักวิชาล้วนๆ ไม่มีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์และบุคคลเลย”



กลับไปยังกระทู้  [ 7 โพสต์ ]    Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ส.ค. 2022, 06:10 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




throwing-fishing-net-sunrise-29432892.jpg
throwing-fishing-net-sunrise-29432892.jpg [ 77.33 KiB | เปิดดู 743 ครั้ง ]
สรรพฺบาปํ คืออะไร

สพฺพปาปํ นาม ตีณิ ทุจฺจริตานิ :- กายทุจฺจริตํ วจีทุจฺจริตํ มโนทุจฺจริตํ,
ตีณิ ทุจฺจริตานิ ทุจริด ๓ ประเภท สพฺพปาปํ นาม ชื่อว่า สพฺพปาป บาปทั้งหมด
หมายถึง ทุจริต ๓ มี กายทุจริต วจีทุจริด มโนทุจริต

ในบรรดาทุจริต ๓ นั้น สามารถจำแนกหรือกระจายออกเป็นอกุศลกรรมบถ
๑๐ (บาป ก็ดี ทุจริต ก็ดี อกุศล ก็ดี มีความหมายเท่ากัน) เต ทส อกุสลกมฺมปถา:

ป่าณาติปาโต อทินฺนาทานํ กามสุมิจฺฉาจาโร มุสาวาโท ปีสุณา วาจา ผรุสา
วาจา สมฺผปฺปลาโป อภิชฺฌา พุยาปาโท มิจฺฉาทิฏฺฐิ,

เต ทุจริดทั้งหลายหล่านั้น ทส อกุสลกมฺมปถา ได้แก่ อกุศลกรรมบถ ๑๐ คือ
๑. ปาณาติบาต ๒. อทินนาทาน ๓, กาเมสุมิจฺฉาจาร
๔, มุสาวาท ๕. ปิสุณวาจา ๖, ผรุสวาจา
๗. ส้มผัปปลาปะ ๘,. อถิชฺฌา ๙. พยาบาท
๑๐.มิจฉาทิฏฐิ


๑๐ ประการนี้เรียกว่า อกุศลกรรมบถ ๑๐ ซึ่งก็มาจากทุจริด ๓ ซึ่งเมื่อรวม
เป็นอันเดียวกันก็คือ บาป บาปกระจายออกเป็นทุจริต ๓ ทุจริตกระจายออกเป็น
อกุศลกรรมบถ ๑๐

..................
ข้อสังเกตุ
ข้อ ๑-๗ เกิดทางกายและทางวาจา
๘-๑๐ เกิดทางใจ

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ส.ค. 2022, 07:01 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




20220808_080311.jpg
20220808_080311.jpg [ 94.69 KiB | เปิดดู 728 ครั้ง ]
เจตนากรรมกับเจตสิกกรรม

ตานิ เทฺว กมฺมานิ เจตนา เจตสิกญฺจ กรรม ๒ คือ เจตนากรรม และ
เจตสิกกรรม เจตนากรรม หมายถึง กายกรรม และวจีกรรม ส่วน เจตสิกกรรม
หมายถึง มโนกรรม
ตตฺถ โย จ ปาณาติปาโต ยา จ ปีสุณา วาจา ยา จ ผรุสา
วาจา, อิทํ โทสสมุฎฺฐานํ.
โย จ ปาณาติปาโต การทำปาณาติบาต ก็ดี ยา จ
ปีสุณา วาจา การพูดสาอเสียดก็ดี ยา จ ผรุสา วาจา การพูด
คำหยาบก็ดี อิทํ โทสสมุฎฺฐานํ การกระทำเหล่านี้มีโทสะเป็น
สมุฏฐาน

ปาณาดิบาต ปีสุณวาจาและผรุสวาจา ๓ อย่างนี้ เกิดเพราะบันดาลโทสะ
ถามว่า - แล้วเกิดเพราะ โลภะได้ไหม ? ตอบว่า : ได้

ถามว่า - ปีสุณวาจา กล่าวคือ การพูดส่อเสียด เราสามารถอาโลภะเป็น
เหตุได้ไหม ? ตอบว่า - ได้ สรุปว่า เมื่อได้ ก็แสดงว่าในที่นี้ ท่านมหากัจจายนะ
กล่าวไ ว้โดย เยภุยฺยนัย "คำพูดที่ระบุเฉพาะสิ่งที่เกิดขึ้นโดยส่วนมาก" หมายถึงที่
บอกว่าโทสะเป็นสมุฏฐานนั้นโดยส่วนใหญ่แล้ว จะอาศัยโทสะเกิดขึ้น ซึ่งข้อนี้
ในอรรถกถาท่านอธิบายว่าไม่ใช่มีโทสะเป็นมูลเหตุอย่างเดียว เพราะว่า
บาปกรรมเหล่านี้ยังสามารถเกิดจากเหตุอื่นได้ก็มีเช่น ปีสุณาวาจา ก็สามารถเกิด
ขึ้นได้เพราะความโลภะเหมือนกัน ดังเราจะเห็นว่า บุคคลที่ทำการส่อเสียด เพื่อ
ให้ได้มาซึ่งสิ่งที่ตนต้องการจากฝ่ายที่หลงเชื่อก็มี นี่แสดงให้เห็นว่า บุคคล
สามารถทำปีสุณวาจาได้เพราะอำนาจความโลภะ

ยญูจ อทินฺนาทานํ โย จ กาเมสุมิจฺฉาจาโร โย จ มุสาวาโท, อิทํ
โลภสมุฏฺฐานํ. อทินนทาน ก็ดี กามสุมิจฉาจาร ก็ดี มุสาวาท ก็ดี บาปกรรมเหล่านี้
มีโลภะเป็นสมุฏฐาน อันนี้ก็เหมือนกัน ไม่ใช่ว่าจะเกิดจากโลภะอย่างเดียว แต่
ความจริงแล้วสามารถเกิดจากโทสะ (มีโทสะเป็นสมุฏฐาน] ก็ได้ แต่นี่ท่านถือเอา

โย สมฺผปฺปลาโป, อิท์โมหสมุฎฐานํ การพูดเพ้อเจ้อนี้มีโมหะเป็น
สมุฏฐาน คนที่พูดจาสัมผัปปลาปะส่วนมากจะเป็นคนที่จิตเกิดอุทธัจจะ(จิดฟุ้ง
ซ่านผสมกับโมหะ) สัมผัปปลาปะนี้ พูดด้วยอุทธัจจะ กล่าวคือ จิดที่สัมปยุดด้วย
ความฟุ้งซ่านหรือที่นักอภิธรรมท่านเรียกว่าประกอบด้วยอุทธัจจะ

เพราะฉะนั้น ท่านจึงบอกว่า "โมหสมุฎฐาน" จริง ๆ แล้ว โมหะนี้ประกอบ
ได้ทุกที่ (ได้ในจิดทุกดวง) อย่างเช่น ในการทำปาณาติบาตก็มีโมหะประกอบอยู่
แต่ทำไมมาบอกแค่สัมผัปปลาปะ ตอบว่า - เพราะว่าโมหะนั้นมีอำนาจโดยตรง
ในกลุ่มจิตเหล่านี้ ดังจะเห็นได้ว่าสัมผัปปลาปะนี่มันเป็นด้วยอำนาจของอุทธัจจะ
เพราะฉะนั้น โมหะจึงมาแค่ในสัมผัปปลาปะ

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ส.ค. 2022, 09:25 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




FB_IMG_1660016501522.jpg
FB_IMG_1660016501522.jpg [ 33.79 KiB | เปิดดู 701 ครั้ง ]
เจตนากรรม ๗

อิมานิ สตฺต การณานิ เหตุ(กรรม) ๗" ประการเหล่านี้ เจตนากมฺมํ เรียก
ว่า เจตนากรรม

โลภะกับอภิชฌาต่างกันอย่างไร

ยา อภิชุฌา อภิชณาไดมีอยู่ อยำ โลโภ อกุสลมูลํ. (อภิชุณา แปลว่า ความ
เพ่งเล็ง ความอยากความต้องการสิ่งของของผู้อื่น โลภะกับอภิชณา คือ ความ
ต้องการเหมือนกัน แต่มีความแตกต่างกันบ้างเล็กน้อย อภิชฺฌา "เป็นความอยาก
ได้ฉพาะสิ่งของของคนอื่น เพื่อเอามาเป็นของ ๆ ตน" ส่วนโลภะเป็นความอยาก
ได้ทั่ว ๆ ไป] อภิชฺฌานี้เรียกว่าโลภะเป็นอกุศลมูล(เป็นรากเหง้าของการกระทำ
อกุศล) โย พฺยาปาโท พยาบาทใดมีอยู่ อยํ โทโส อันนี้คือ พฺยาปาท (ก็โทสะนี้)
อกุสลมูลํ ชื่อว่า อกุสลมูล ข้อความที่ผ่านมานี้ล่วนแต่ต้องการแสดงอกุสลมูล นั่นเอง
อกุศลมูล คือ ๑ โลภะ ๒โทสะ
ยา มิจฺฉาทิฏฐิ มิจฉาทิฏฐิใดมีอยู่ อยํ มิจฺฉามคุโค นี้เป็นมิจฉามรรค
(ทางผิด)

เจตสิกกรรม ๓

อิมานิ ตีณิ การณานิ เหตุ(หรือกรรม) ๓ ประการเหล่านี้ เจตสิกกมฺมํ ชื่อ
ว่า เจตสิกกรรม เป็นกรรมที่ประกอบขึ้นทางจิดอย่างเดียว หมายความว่าเอาสิ่งที่
..........?..............................??.............
* ๗ ประการ ได้แก่ ปาณาติบาต ปิสุณา ผรุสา อทินนาทานํ. กาเมสุมิจฉาจาร มุสาวาท สัมผัปปลาป

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ส.ค. 2022, 11:01 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




Hinduism-Transparent-Background-PNG.png
Hinduism-Transparent-Background-PNG.png [ 299.45 KiB | เปิดดู 701 ครั้ง ]
เป็นตัณหาไลภะที่เป็นอกุศลมูล และโทสะที่เป็นอกุศลมูล และมิจฉาทิฏฐิ อันนี้
ท่านที่เรียกว่ากรรมเทมือนกัน แต่ตัดเป็นเจตสิกกรรม

ส่วนเจตนากรรมนั้น จะเห็นว่า มีลักษณะเป็นเกตุ ๗ ประการ (สตฺต
การณานิ) คำว่า เพตุ ๗ ประการ ก็คือ เพตุที่มีอยู่ในปาณาติบาตกีดี เหตุที่มีอยู่ใน
มีสุณวาจากีดี เหตุที่มีอยู่ผรุสวาจาก็ดี เพตุที่มีอยู่อหินนาทานก็ดี เหตุที่มีอยู่ใน
กาเมสุมิจฉาจารก็ดี เหตุที่มีอยู่ในมุสาวาท กีดี เหตุที่มีอยู่ในสัมผัปปลาปะก็ดี อัน
นี้แหละคือเหตุ ๗ อย่าง ก็เจตนาที่จงใจกระทำสิ่งเหล่านั้น ๗ อย่างนั้นท่านเรียก
ว่าเจตนากรรม

ส่วนอกุศลมูลที่นอกจากเจตนาอย่างเช่น โลภะก๊ดี โทสะก็ดี และมิจฉา
ทิฏฐิ ก็ดี อันนี้ท่านถือว่าเป็นเจตสิกกรรม กีธรรมที่เอ่ยมานี้เป็นเหตุที่ประกอบอยู่
ในจิตในขณะที่ทำกรรมด้วย คือท่านต้องการพูดถึงรากเหง้าจริง ๆ ของกรรม
(การกระทำ) ถ้เราพูดถึงกรรมโดยบอกเพียงเจตนาเราก็รู้แค่เจตนา แต่เราไม่ได้
พูดถึงธรรมที่เป็นเหตุอย่างอื่นอีก เช่น โลภะ โทสะ โมทะ และมิจฉาทิฏฐิ ซึ่งบาป
ธรรมเหล่านี้ก็เป็นเหตุเหมือนกัน ฉะนั้น จึงถือว่าเป็นกรรมเช่นกันจัดอยู่ในกลุ่ม
เจตสิกกรรม กรรมที่เป็นเจตสิก(เกิดขึ้นทางใจ)นั่นเอง มโน(การกระทำทางใจ)จัด
เป็นเจตสิกกรรม ส่วนกาย (การกระทำทางกาย)กับวาจา(การกระทำทางวาจา)จัด
เป็นเจตนากรรม

นี้ก็เป็นการนำเอากรรมบถ ๑๐ มากระจาย ความจริงทำอกุศลทางใจมันก็
ต้องมีเจตนาอยู่แล้ว แต่เจตนานั้นเหมือนกับถูกบดบังไป แต่ในเรื่องของวจีกับ
กายนั้นจะเห็นว่าบางทีเราพูดไปอย่าง แต่คิดอีกอย่าง นั้นถือว่าเราไม่มีเจตนา
กล่าวง่าย ๆ ก็คือ ทางกายเละวาจานี้ เน้นไปที่เจตนา กล่าวคือ จะต้องมีเจตนาจึง
เรียกว่ามันมีกรรม ด้วยเหตุนี้ ท่านจึงเรียกรรมทางกายและวาจา เจตนากรรม
ส่วนที่เหลือคือ อภิชฌา พยาบาท และ มิจฉาทิฏฐิ กรรมเหล่านี้เป็นแต่เพียงความ

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ส.ค. 2022, 14:27 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




person-diving-png-7.png
person-diving-png-7.png [ 181.28 KiB | เปิดดู 648 ครั้ง ]
คิด จะว่ามีเจตนาหรือไม่มีเจตนานั่นพูดยาก ถ้ำคิดตามหลักแล้วจะต้องมีเจตนาจะ
เรียกว่าข้าพเจ้าไม่มีเจตนาไม่ได้ ฉะนั้น จึงจัดเป็นเจดสิกกรรม
อนึ่ง การนับอกุศลกรรมบถ ๑๐ไม่ได้นับที่เจตนา ให้นับที่อภิชฌา คือด้ว
โลภะเลย หมายความว่า ถ้ามีโลภะก็แสดงว่ามือกุศลกรรมบถ ถ้ามีพยาบาทหรือมี
โทสะก็แสดงว่ามีอกุศลกรรมบถไม่ต้องไปดูที่เจตนา เจตนานั้นจะไม่สามารถ
แยกแยะได้ในกรณีนี้

เตนาห "เจตนากมุมํ เจตสิกกมฺมนฺ"ติ (กรรมมี ๒ คือ เจตนากรรม และ
เจตสิกกรรม กายกับวจีทุจริตจัดเป็นเจตนากรรม มโนทุจริตจัดเป็นเจตสิกกรรม
ที่ผ่านมาท่านได้แสดงถึง สพฺพปาป(บาปทั้งปวง) ที่จำแนกโดยทุจริต
อกุศลกรรมบถ ๑๐ และกรรม ๒ ที่กล่าวมานี้เป็นเพียงแค่การอธิบายคำว่า
"สพฺพปาป" เท่านั้น คือแค่นำเอาคำว่า "บาปทั้งปวง" มากระจายเป็นทุจริต
กระจายเป็นอกุศลกรรมบถ และกระจายเป็นกรรม ๒ ประเภท

การจำแนกบาป เป็นอคติ ๔

ต่อไปนี้ก็จะเป็นการกระจายอีกเหมือนกันแต่เป็นการอธิบายอีกแนวหนึ่ง
โดยนำเอาคำว่า "สพฺพปาป" มากระจาอีกแนวหนึ่ง หมายความว่า เป็นการ
จำแนกในลักษณะที่เกี่ยวกับ อคติ การกระทำสิ่งที่ไม่ควรกระทำ (ด้วยอำนาจของ
อกุศลมูล) เรียกว่า อกคื คือต้องการจำแนกว่า "สพุพปาป" ในแง่หรือมุมของอคตื
(อคติมี๔)

ประโยค ๒

อกุสลมูลํ ปโยคํ กจฺฉนฺตํ จตุพฺพิธํ อคติ กจฺฉติ
ฉนฺทา โทสา ภยา โมหา.

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ส.ค. 2022, 16:16 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




tumblr_pfklzbko2j1wtg8hyo1_500 (1).png
tumblr_pfklzbko2j1wtg8hyo1_500 (1).png [ 321.98 KiB | เปิดดู 647 ครั้ง ]
อกุสลมูลํ อกุศลมูล คจฺฉนฺต่ ที่ถึง ปโยคํ ซึ่งปโยคํ
(ปโยคะ ในที่นี้ถ้าพูคถึงกรรมก็หมายถึงการกระทำ นั่นคือการ
แสดงอกุศลที่มีอยู่ในจิดใจให้ปรากฏออกมา อกุศลที่ถึงความ
เป็นปโยคะ ก็คือถูกแสดงออกม าเล้วยาจจะโดยทางกายหรือ ทางวาจา

ดังนั้น จึงสรุปว่า ปโยคะ หมายถึง การกระทำ ก็ในคำว่า ปโยคํ คจฺฉนุตํ ที่
ถึงการกระทำ กล่าวคือ อกุศลมูลที่ถึงซึ่งการกระทำออกมาสู่ภายนอก พึงทราบว่า
ปโยคะ แบ่งเป็น ๒ คือ กายปโยค (การกระทำทางกาย) และวจีปโยด(การกระทำ
ทางวาจา)ด้วยเทตุนี้ท่านจึงกล่าวว่า ปโยคํ คจฺฉนฺต่ ถึงซึ่งความเป็นปโยคะ

จตุพฺพิธํ อคติ คจฺฉติ "ย่อมถึงซึ่งอคติ ๔ ประการ" หมายความว่า ย่อม
ถึงซึ่งการทำสิ่งที่ไม่ควรกระทำ ๔ ประการ ได้แก่
(๑) ฉนฺทา มีอคติ เพราะฉันทะเป็นเหตุ
(๒) โทสา มีอคติ เพราะโทสะเป็นเหตุ
(๓) ภยา มีอคติเพราะความกลัวเป็นเหตุ
(๔) โมห มีถึงอคติเพราะโมหะเป็นเหตุ (ความหลงเป็นเหตุ)
อคติ นั้น แบ่งเป็น ๔ ประการตามจำนวนของธรรมที่เป็นเหตุ อคติบาง
อย่างมีฉันทะเป็นเหตุ อคติบางอย่างมีไทสะเป็นเหตุ อคติบางอย่างมึภยะเป็นเหตุ
อคติบางอย่างมีโมหะเป็นเหตุ อคติ นี้แปลตามศัพท์คือ "สิ่งที่ไม่ควรทำ" แต่หาก
แปลโดยโวหาร ก็คือ บาป

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 ส.ค. 2022, 14:29 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




Beggar-Poeple-PNG.png
Beggar-Poeple-PNG.png [ 339.85 KiB | เปิดดู 609 ครั้ง ]
ฉันทาคติมีสมุฏฐานมาจากโลภะ

ตตฺถ ยํ ฉนฺทา อคติ คจฺฉติ, อิทํ โลภสมุฎฺฐานํ กรรมใดที่ถึงซึ่งความ
เป็นอคติ (การทำสิ่งไม่ควรทำนั่นคือการทำชั่ว - การลำเอียง) ฉนฺทา เพราะ
ฉันทะ(ความรักใคร่, ความพอใจ) อิทํ โลภสมุฏฐาน๊ กรรมนี้ชื่อว่ามีโลภะเป็น
สมุฏฐาน

โทสาคติมีสมุฏฐานมาจากโทสะ

ยํ โทสา อคตึ กจฺฉติ, อิทั โทสสมุฎชานำ กรรมใดที่ถึงซึ่งความเป็นอคติ
เพราะโทสะ กรรมที่ถึงอคตินั้นชื่อว่ามีโทสะเป็นสมุฎฐาน

กยาคติและโมหาคติมีสมุฏฐานมาจากโมหะ

ยํ ภยา จ โมหา จ อคตึ คจฺติ, อิทํ โมหสมุฎฺฐานํ. กรรมใดถึงอคติ
เพราะความกลัว(ภย) และความหลง(โมห) การถึงอคตินี้ชื่อว่ามีโมหะเป็น
สมุฏฐาน(มีโมหะเป็นเหตุ)

อาจจะมีปัญหาตรงคำว่า"ภย" แปลว่า "ภัย ความกลัว" ซึ่งโดยทั่วไป ที่เรา
ได้ยินได้ฟังมาตามหลักอภิธรรมเราเข้าใจ ว่า ภย ความกลัวโดยจิตตุปบาทแล้วก็
หมายถึงโทสะ หมายความว่า องค์ธรรมของ "ภย" ได้แก่ จิตตุปบาทที่มีโทสะ
เป็นประธานมีเจตสิกนำหน้า แต่ในที่นี้ท่านบอกว่า อคติที่เกิดจากความกลัวมี
โมหะเป็นสมุฏฐาน ดูแล้วก็เหมือนกับว่าจะขัดกับหลักพระอภิธรรม เกี่ยวกับ
เรื่องนี้ในฎีกาของเนตตินั่นคือ คัมภีร์เนตติวิภาวินีอันเป็นคัมภีร์อธิบายเนตติ
อรรถกถาได้อธิบายไว้ว่า

โมหวเสน สภาวํ อชานนฺตสฺส ภยสมฺภวโต " ยํ ภยา
จ โมหา จ อคตึ คจฺฉติ, อิทํ โมหสมุฎฺฐานนฺ"ติ วุตฺตํ.

(เนตติวิภาวินี)

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 7 โพสต์ ] 

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 12 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร