วันเวลาปัจจุบัน 28 เม.ย. 2024, 17:49  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


“อภิธรรม (สันสกฤต: abhidharma) หรืออภิธัมมะ (บาลี: abhidhamma) เป็นชื่อปิฎกศาสนาพุทธฉบับหนึ่งในปิฎกทั้งสามฉบับที่รวมเรียก "พระไตรปิฎก" อภิธรรมแปลว่าธรรมอันยิ่ง ปิฎกฉบับอภิธรรมนั้นเรียก "พระอภิธรรมปิฎก" ซึ่งว่าด้วยประมวลหลักธรรมและคำอธิบายที่เป็นหลักวิชาล้วนๆ ไม่มีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์และบุคคลเลย”



กลับไปยังกระทู้  [ 1 โพสต์ ]    Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 เม.ย. 2023, 14:33 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




sensitive-plant-6.jpg
sensitive-plant-6.jpg [ 159.5 KiB | เปิดดู 719 ครั้ง ]
นิทานขอคิดดูก่อน

ชายผู้มีศรัทธาเลื่อมใสคนหนึ่ง มาสวดมนต์ต่อหน้าพระ
พุทธรูปแล้วตั้งความปรารถนาขอให้ได้ไปนิพพานโดยเร็วที่สุด เขา
มาทำเช่นนี้หลายครั้ง ครั้งนี้มีคนนึกสนุกแกลังเขาด้วยการไปซ่อน
อยู่หลังพระพุทธรูปแล้วกล่าวเสียงกังวาลน่าเกรงขามว่า "เธอได้ตั้ง
ความปรารถนามานานแล้ว ในวันนี้ เราจะขอส่งเธอไปนิพพาน
ชายผู้เลื่อมใสตอบว่า "ดีจริงๆ แต่ขอให้ข้าพเจ้ากลับไปปรึกษากับ
ภรรยาก่อนเถิด" เมื่อเขากลับถึงบ้านก็ได้เล่าความให้ภรรยาฟังแล้ว
ขอคำแนะนำว่าควรจะทำอย่างไร เธอตอบว่า "ช่างโชคดีจริง อย่า
ลังเลเลย รีบไปเถอะ" ชายนั้นถามอีกว่า "ถ้าฉันไปเสียแล้ว จะมีใคร
ช่วยดูแลเธอเล่า"

"อย่ากังวลไปเลย ไม่ต้องห่วงฉันหรอก" ภรรยาตอบ
ถึงเธอจะไม่ห่วงฉัน แต่ฉันก็ห่วงเธอ ขอคิดดูก่อนว่าจะ
รับไปนิพพานหฝรือไม่ ชายนั้นค้าน

เรื่องนี้อาจจะเป็นจริงหรือไม่จริงก็ได้ แต่ก็เป็นนิทาน
ที่แสดงธรรมชาติของมนุษย์ที่ยังมีกิเลสได้สมจริง

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 1 โพสต์ ] 

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 98 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร