วันเวลาปัจจุบัน 27 เม.ย. 2024, 14:48  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


“อภิธรรม (สันสกฤต: abhidharma) หรืออภิธัมมะ (บาลี: abhidhamma) เป็นชื่อปิฎกศาสนาพุทธฉบับหนึ่งในปิฎกทั้งสามฉบับที่รวมเรียก "พระไตรปิฎก" อภิธรรมแปลว่าธรรมอันยิ่ง ปิฎกฉบับอภิธรรมนั้นเรียก "พระอภิธรรมปิฎก" ซึ่งว่าด้วยประมวลหลักธรรมและคำอธิบายที่เป็นหลักวิชาล้วนๆ ไม่มีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์และบุคคลเลย”



กลับไปยังกระทู้  [ 8 โพสต์ ]    Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 05 พ.ย. 2023, 08:55 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




ei_1698839968782-removebg-preview (1).png
ei_1698839968782-removebg-preview (1).png [ 498.02 KiB | เปิดดู 2222 ครั้ง ]
คาถาสังคหอารมณ์

ปญฺจวีส ปริตฺตมฺหิ ฉ. จิตฺตานิ มหคฺคเต
เอกวีสติ. โวหาเร อฏฐ นิพฺพานโคจเร
วีสานุตฺตรมุตฺหิ. อคุคมคฺคผลุชฺฌิเต
ปญฺจ สพฺพตฺถ. ฉจฺเจติ. สตฺตธา ตตฺถ สงฺคโห.


๑. ปญฺจวีส ปริตฺตมฺหิ แปลว่าจิตที่รับปริตตารมณ์ (อารมณ์เล็กน้อย)
คือ กามอารมณ์ ๒๕ คือ
ก.จิตที่รับปัจจุบันกามธรรมเป็นอารมณ์ มี ๑๓ คือ
ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ มโนธาตุ ๓ รับวิสยรูป ๗ เป็นอารมณ์
วิสยรูป ๗ คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ(ดิน ไฟ ลม) --> ทวิปัญจ. ๑๐
มโนธาตุ ๓ เจ.๑๐
ข. จิตที่รับเตกาลิกกามธรรม
เป็นอารมณ์ มี ๑๒ คือ
ตทาลัมพนะ ๑๑ หลิตุปปาทะ ๑ เจ.๓๓
รับเตกาลิกกามธรรม คือ กามจิต ๕๔ เจ.๕๒ รูป ๒๘ ที่เป็นไปในกาล ๓
--> ตทาลัมพนะ ๑๑ หสิตุปปาทะ ๑ เจ.๓๓ .

๒. ฉ จิตฺตานิ มหคฺคเต แปลว่า จิตที่รับมหัคคตอารมณ์ มี ๖
คือ วิญญาณัญจายตนะ ๓ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ๓ เจ.๓๐
รับมหัคคตอารมณ์ คือ
อากาสานัญจายดนะ ๓ เจ.๓๐ วิญญาณัญจายตนะ ๓ เจ.๓๐
อากิญจัญญายตนะ ๒ เจ.๓๐ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ๓ เจ.๓๐

๓. เอกวีสติ โวหาร แปลว่า จิตที่รับบัญญัติอารมณ์ มี ๒๑ คือ
รูปาวจรจิต ๑๕ เจ.๓๕ อากาสา. ๓ อากิญ. ๓ เจ.๓๐

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 05 พ.ย. 2023, 09:51 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว


รับบัญญัติอารมณ์ คือ
กสิณ ๑๐ อสุภ ๑๐ กายคตาสติ ๑ ฯลฯ → รูปาวจรจิต ๑๕ เจ.๓๕
และ อากาสา. ๓ อากิญ.๓ เจ.๓๐

๔. อฎฺฐ นิพฺพานโคจเร แปลว่า จิตที่รับนิพพานอารมณ์ มี ๘
คือ มัคคจิต ๔ ผลจิต ๔ เจ.๓๖ รับนิพพานอารมณ์คือ
นิพพาน --> มัคคจิต ๔ ผลจิต ๔ เจ.๓๖

๕. วีสานุตฺตรมุตฺตมฺหิ แปลว่า จิตที่รับอารมณ์พ้นจากโลกุตตระ
มี ๒๐ คือ อกุ. ๑๒ กุ.วิป. ๔ กิ.วิป. ๔ เจ.๕๑ (เว้นปัญญา)
รับจิตที่พ้นจากโลกูตตระ คือ
โลกิยจิต ๘๑ เจ.๕๒ รูป ๒๘ บัญญัติ --> อกุ. ๑๒ กุ.วิป. ๔ กิ.วิป. ๔
เจ.๕๑ (เว้นปัญญา)

๖. อคฺคมคฺคผลุชฺฌิเต ปญฺจ แปลว่า จิตที่รับอารมณ์ได้เกือบ
หมด (เว้นอรหัตตมัค อรหัตตผล) มี ๕๒ คือ กุ,สํ.๔ อภิญ.กุ. ๑ เจ.๓๘
รับอารมณ์เกือบหมด คือ
จิต ๘๗ (เว้นอรหัตตมัค อรหัตตผล) เจ.๕๒ รูป ๒๘ นิพพาน บัญญัติ
กุ.สํ. ๔ อกิญ.กุ. ๑ เจ.๓๘

๗. สพฺพตฺถ ฉจฺเจติ แปลว่า จิตที่รับอารมณ์ได้ทั้งหมด มี ๖ คือ
มโนทวารา. ๑ กิ.สํ.๔ อภิญ.กิ. ๑ เจ.๓๕
รับอารมณ์ทั้งหมด คือ
จิด ๘๙ เจ.๕๒ รูป ๒๘ นิพพาน บัญญัติ --> มโนทวารา. ๑ กิ.สํ.๔
อภิญ.กิ. ๑ เจ.๓๕


๘. สตฺตธา ตตฺถ สงฺคโห แปลว่า สงเคราะห์จิตรับอารมณ์ได้
๗ นัย (แสดงจิตที่รับ อารมณ์แน่นอน ไปหาจิตที่รับอารมณ์ไม่แน่นอน คือ
ข้อ ๑-๔ รับอารมณ์แน่นอน ข้อ ๕-๗ รับอารมณ์ไม่แน่นอน)

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 05 พ.ย. 2023, 11:59 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว


อีกยหนึ่งสงเคราะห์จิตตามอารมณ์ ๘ หมวด.
(แสดงจิตที่มีอำนาจน้อยไปหาจิตที่มีอำนาจมาก)

จิตหมวด ๑ มี ๑๓ คือ
ทวิปัญจ. ๑๐ มโนธาตุ ๓ รับวิสยรูป ๗ เป็นอารมณ์

จิตหมวด ๒ มี ๑๒ คือ
ตทา. ๑๑ หสิ. ๑ รับกามจิต ๕๔ เจ.๕๒ รูป ๒๘ ที่เป็นไปในกาล ๓ เป็นอารมณ์

หมวด ๓ มี ๒๐ คือ
อกุ. ๑๒ กุ.วิป. ๔ กิ.วิป. ๔ รับโลกิยจิต.๘๑ เจ. ๕๒ รูป ๒๘ บัญญัติเป็นอารมณ์

จิตหมวด ๔ มี ๕ คือ
กุสํ. ๔ อภิญ.กุ. ๑ รับจิต ๘๗ เจ.๕๒ รูป ๒๘
นิพพาน บัญญัติ (ว้นอรหัตตมัค อรหัตตผล) เป็นอารมณ์

จิตหมวด ๕ มี ๖ คือ
มโนทวารา. ๑ กิ.สํ. ๔ อภิญ.กิ. ๑ รับ จิต ๘๙
เจ.๕๒ รูป ๒๘ นิพพาน บัญญัติ เป็นอารมณ์

จิตหมวด ๖ มี ๒๑ คือ
รูปาวจรจิต ๑๕ อากาสา. ๓ อากิญ. ๓ รับบัญญัติ
กัมมฐาน ๒๕.๑๔.,๑๒.๙, นัตถิภาวบัญญัติ เป็นอารมณ์

จิตหมวด ๗ มี ๖
คือ วิญญา. ๓ เนว. ๓ รับอากาสา.กุ,กิ. ๒ อากิญ.กุกิ. ๒ เป็นอารมณ์

จิตหมวด ๘ มี ๘ คือ
โลกุตตรจิต ๘ รับนิพพาน เป็นอารมณ์

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 05 พ.ย. 2023, 15:22 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




ei_1699235533805-removebg-preview (6).png
ei_1699235533805-removebg-preview (6).png [ 446.88 KiB | เปิดดู 1980 ครั้ง ]
อธิบายสงเคราะห์อารมณ์ ๘ หมวด

หมวดที่ ๑ มีจิต ๑๓ ดวง คือ ทวิปัญจ. ๑๐ มโนธาตุ ๓ รับ
ปัจจุบันกามธรรม เป็นอารมณ์ ปัจจุบันกามธรรม คือ รูปารมณ์ สัททารมณ์
คันธารมณ์ รสารมณ์ โผฎฐัพพารมณ์ ๓ ที่เรียกว่า ปัจจุบันวิสยรูป ๗

ปัจจุบันมี ๔ อย่าง คือ

๑. ขณะปัจจุบัน หมายเอาขณะจิตที่เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป (อุปาทะ ฐิติ ภังคะ)

๒. สันตติปัจจุบัน หมายเอาการสืบต่อของนามรูปในขณะวิถีจิตเกิด ดับแต่ละวิถี

๓. สมัยปัจจุบัน หมายเอากาลเวลาที่สมมุติว่า เช้า สาย บ่าย เย็น
หรือ สมัยนี้ สมัยก่อน

๔. อัทธาปัจจุบัน การหมายเอากาลเวลาอันยาวนาน เช่น นับตั้งแต่
ปฏิสนธิ ถึง จุติ ฯลฯ
สำหรับปัจจุบันวิสยรูป ๗ หมายเอา รูปที่ตั้งอยู่ในฐีติขณะ ๔๙
อนุขณะ เท่ากับสันตติปัจจุบัน จิต ๑๓ ดวงนี้ รับวิสยรูป ๗ เท่านั้น
เป็น อารมณ์แน่นอน

หมวดที่ ๒ มีจิต ๑๒ ดวง คือ ตทา.๑๑ หสิ.๑ รับเตกาลิกกามธรรม
เป็นอารมณ์ เตกาลิกกามธรรม คือ กามธรรมที่เป็นไปในกาล ๓ ได้แก่
กามจิต ๕๔ เจ.๕๒ รูป ๒๘

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 05 พ.ย. 2023, 16:39 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




ei_1699235533805-removebg-preview (7).png
ei_1699235533805-removebg-preview (7).png [ 550.16 KiB | เปิดดู 1980 ครั้ง ]
กามคุณ คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่เป็นปัญจารมณ์เท่านั้น
ส่วนธัมมารมณ์ ไม่เรียกว่ากามคุณอารมณ์ เพราะในธัมมารมณ์มี
อารมณ์ได้หลายอย่าง คือ ที่เป็นกามอารมณ์ก็มี มหัคคตอารมณ์ก็มี โลกุตตร
อารมณ์ก็มี บัญญัติอารมณ์ก็มี

ตทาลัมพนจิต เป็นผลของอดีตกรรมที่เกิดกับกามบุคคล กามชวนะ
กามอารมณ์ กามวิถี ที่มีกำลังมาก เป็นอติมหันตารมณ์ หรือวิภูตารมณ์
เท่านั้น ตทาลัมพนะ ไม่เกิดในอัปปนาวิถี เพราะอัปปนาวิถีเป็นกรรมที่ทำ
ในปัจจุบันเป็นฌานวิถี มีบัญญัติเป็นอารมณ์ และอารมณ์นั้นชัดเจนยิ่งนัก
จึงเกิดอัปปนาจิตได้ ในฌานวิถีไม่มีอารมณ์ยาว สั้น จึงไม่จำเป็นต้องมี
ตทามพนะมารับช่วงอารมณ์ต่อจากชวนะเหมือนอย่างกามวิถี


หมวดที่ ๓ มีจิด ๒๐ ดวง คือ อกุศล ๑๒ กุศลญาณวิปปยุต ๔
กิริยาญาณวิปปยุต ๔ รับ โลกีย์และบัญญัติ เป็นอารมณ์
โลกีย์และบัญญัติอารมณ์ คือ โลกิยจิต ๘๑ เจ.๕๒ รูป ๒๘
เรียกว่าโลกิยธรรม
เพราะเป็นธรรมที่อยู่ในโลกทั้ง ๓ มี กามโลก รูปโลก
อรูปโลก เป็นได้ทั้ง ๓ กาล ส่วนบัญญัติเป็นธรมที่ไม่มีสภาวะรับรองเป็น
กาลวิมุตติ พ้นจากกาลทั้ง ๓
จิต ๒๐ ดวงนี้ รับอารมณ์ไม่แน่นอน

หมวดที่ ๔ มีจิต ๕ ดวง คือ กุศลญาณสัมปยุต ๔ อภิญญากุศล ๑
รับอารมณ์ได้เกือบหมด (เว้นอรหัตตมัค อรหัตตผล เพราะเป็นอารมณ์ของ
มหากิริยา)
อารมณ์เกือบหมด คือ จิต ๘๗ เจ.๕๒ รูป ๒๔ นิพพาน บัญญัติ
จิต ๕ ดวงนี้ รับอารมณ์ไม่แน่นอน

หมวดที่ ๕ มีจิต ๖ ดวง คือ มโนทวารา.๑ กิริยาญาณสัมปยุต ๔
อภิญญากิริยา ๑ รับอารมณ์ได้ทั้งหมดไม่เว้นเลย
อารมณ์ทั้งหมดคือจิต ๘๙ เจ.๕๒ รูป ๒๘ นิพพาน บัญญัติ
มโนทวารา. ที่รับอารมณ์ได้ทั้งหมดต้องเป็น ของพระอรหันต์ผู้ได้อภิญญา
ปฏิสัมภิทา ๔

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 06 พ.ย. 2023, 04:40 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




ei_1699215696289-removebg-preview.png
ei_1699215696289-removebg-preview.png [ 230.15 KiB | เปิดดู 2060 ครั้ง ]
จิต ๖ ดวงนี้ รับอารมณ์ไม่แน่นอน
อภิญญา คือ ปัญญาที่รู้ยิ่ง มีทั้งโลกีย์และโลกุตตขระหว่าง ๗ อย่าง
อภิญญาโลกีย์ที่อาศัยรูป.ปัญจมฌานเป็นบาท มี ๕ อย่าง คือ
๑.อิทธิวิธญาณ คือ แสดงฤทธิ์ ต่างๆ
๒. ทิพพจักขุญาณ คือ ตาทิพย์ หมายถึงจุตูปปาตญาณ คือรู้จุติ
และปฏิสนธิของสัตว์ทั้งหลาย จุตูปปาตญาณ ยังแยกเป็น
ยถากัมมูปคญาณ คือรู้ว่า สัตว์มีสุข มีทุกข์เพราะทำกรรมอะไรมา
อนาคตังสญาณ คือรู้ว่าอนาคตของสัตว์จะเป็นไปอย่างไร
๓.ทิพพโสตญาณ คือหูทิพย์
๔. ปรจิตตวิชานน คือรู้วาระจิตของผู้อื่น หรือเรียกว่า
เจโตปริยญาณก็ได้
๕. ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ คือ รู้ระลึกชาติแต่ปางก่อน
๖. วิปัสสนาญาณ คือ เห็นนามรูปเป็นไตรลักษณ์
๗. อาสวักขยญาณ คือ รู้ว่ากิเลสสิ้นแล้ว
อภิญญา ข้อ ๑ ถึง ๖ เป็นโลกิยธรรม ข้อ ๗ เป็นโลกุตตรธรรม

หมวดที่ ๖ มีจิต ๒๑ ดวง คือ รูปาวจรจิต ๑๕ อากาสา.๓ อากิญ. ๓
รับบัญญัติกัมมฐานเป็นอารมณ์ บัญญัติกัมมฐานอารมณ์แยกเป็น ๕ ข้อ คือ
๑. ปฐมฌานรูปาวจรจิต ๓ รับเอาบัญญัติกัมมฐาน ๒๕ เป็น
อารมณ์ คือ กสิณ ๑๐ อสุภ ๑๐ กายดตาสติ ๑ อานาปานสติ ๑
พหมวิหาร ๓ = เมตตา กรุณา มุทิตา
๒. ทุติยฌาน ๓ ตติยฌาน ๓ จตุตถฌาน ๓ รับบัญญัติกัมมฐาน ๑๔
เป็นอารมณ์ คือ กสิณ ๑๐ อานาปานสติ ๑ พรหมวิหาร ๓
๓. ปัญจมฌาน รับ บัญญัติกัมมฐาน ๑๒ เป็นอารมณ์ คือ กสิณ ๑๐
อานาปานสติ ๑ อุเบกขาพรหมวิหาร ๑
๔.อากาสานัญจายตนฌาน ๓ รับ กสิณุคฆาฏิมากาส คือ บัญญัติที่
เพิกจากกสิณ ทั้ง ๔ เป็นอารมณ์ กสิณุคฆาฏิมากาส คือ อากาสที่ว่างเปล่า

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 พ.ย. 2023, 00:51 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2157

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


ลุงหมาน เขียน:
จิต ๖ ดวงนี้ รับอารมณ์ไม่แน่นอน
อภิญญา คือ ปัญญาที่รู้ยิ่ง มีทั้งโลกีย์และโลกุตตขระหว่าง ๗ อย่าง
อภิญญาโลกีย์ที่อาศัยรูป.ปัญจมฌานเป็นบาท มี ๕ อย่าง คือ
๑.อิทธิวิธญาณ คือ แสดงฤทธิ์ ต่างๆ
๒. ทิพพจักขุญาณ คือ ตาทิพย์ หมายถึงจุตูปปาตญาณ คือรู้จุติ
และปฏิสนธิของสัตว์ทั้งหลาย จุตูปปาตญาณ ยังแยกเป็น
ยถากัมมูปคญาณ คือรู้ว่า สัตว์มีสุข มีทุกข์เพราะทำกรรมอะไรมา
อนาคตังสญาณ คือรู้ว่าอนาคตของสัตว์จะเป็นไปอย่างไร
๓.ทิพพโสตญาณ คือหูทิพย์
๔. ปรจิตตวิชานน คือรู้วาระจิตของผู้อื่น หรือเรียกว่า
เจโตปริยญาณก็ได้
๕. ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ คือ รู้ระลึกชาติแต่ปางก่อน
๖. วิปัสสนาญาณ คือ เห็นนามรูปเป็นไตรลักษณ์
๗. อาสวักขยญาณ คือ รู้ว่ากิเลสสิ้นแล้ว
อภิญญา ข้อ ๑ ถึง ๖ เป็นโลกิยธรรม ข้อ ๗ เป็นโลกุตตรธรรม

หมวดที่ ๖ มีจิต ๒๑ ดวง คือ รูปาวจรจิต ๑๕ อากาสา.๓ อากิญ. ๓
รับบัญญัติกัมมฐานเป็นอารมณ์ บัญญัติกัมมฐานอารมณ์แยกเป็น ๕ ข้อ คือ
๑. ปฐมฌานรูปาวจรจิต ๓ รับเอาบัญญัติกัมมฐาน ๒๕ เป็น
อารมณ์ คือ กสิณ ๑๐ อสุภ ๑๐ กายดตาสติ ๑ อานาปานสติ ๑
พหมวิหาร ๓ = เมตตา กรุณา มุทิตา
๒. ทุติยฌาน ๓ ตติยฌาน ๓ จตุตถฌาน ๓ รับบัญญัติกัมมฐาน ๑๔
เป็นอารมณ์ คือ กสิณ ๑๐ อานาปานสติ ๑ พรหมวิหาร ๓
๓. ปัญจมฌาน รับ บัญญัติกัมมฐาน ๑๒ เป็นอารมณ์ คือ กสิณ ๑๐
อานาปานสติ ๑ อุเบกขาพรหมวิหาร ๑
๔.อากาสานัญจายตนฌาน ๓ รับ กสิณุคฆาฏิมากาส คือ บัญญัติที่
เพิกจากกสิณ ทั้ง ๔ เป็นอารมณ์ กสิณุคฆาฏิมากาส คือ อากาสที่ว่างเปล่า



ธรรมชาติใด ย่อมรู้อารมณ์อยู่เสมอ ธรรมชาตินั้น ชื่อว่า "จิต"

การรับอารมณ์ ที่เกยอยู่ นั้น ไม่ใช่"จิต" ค่ะ แต่การรู้อารมณ์คือ"จิต "


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 พ.ย. 2023, 04:58 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




ei_1699168248858-removebg-preview.png
ei_1699168248858-removebg-preview.png [ 139.77 KiB | เปิดดู 1920 ครั้ง ]
โลกสวย เขียน:
ลุงหมาน เขียน:
จิต ๖ ดวงนี้ รับอารมณ์ไม่แน่นอน
อภิญญา คือ ปัญญาที่รู้ยิ่ง มีทั้งโลกีย์และโลกุตตขระหว่าง ๗ อย่าง
อภิญญาโลกีย์ที่อาศัยรูป.ปัญจมฌานเป็นบาท มี ๕ อย่าง คือ
๑.อิทธิวิธญาณ คือ แสดงฤทธิ์ ต่างๆ
๒. ทิพพจักขุญาณ คือ ตาทิพย์ หมายถึงจุตูปปาตญาณ คือรู้จุติ
และปฏิสนธิของสัตว์ทั้งหลาย จุตูปปาตญาณ ยังแยกเป็น
ยถากัมมูปคญาณ คือรู้ว่า สัตว์มีสุข มีทุกข์เพราะทำกรรมอะไรมา
อนาคตังสญาณ คือรู้ว่าอนาคตของสัตว์จะเป็นไปอย่างไร
๓.ทิพพโสตญาณ คือหูทิพย์
๔. ปรจิตตวิชานน คือรู้วาระจิตของผู้อื่น หรือเรียกว่า
เจโตปริยญาณก็ได้
๕. ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ คือ รู้ระลึกชาติแต่ปางก่อน
๖. วิปัสสนาญาณ คือ เห็นนามรูปเป็นไตรลักษณ์
๗. อาสวักขยญาณ คือ รู้ว่ากิเลสสิ้นแล้ว
อภิญญา ข้อ ๑ ถึง ๖ เป็นโลกิยธรรม ข้อ ๗ เป็นโลกุตตรธรรม

หมวดที่ ๖ มีจิต ๒๑ ดวง คือ รูปาวจรจิต ๑๕ อากาสา.๓ อากิญ. ๓
รับบัญญัติกัมมฐานเป็นอารมณ์ บัญญัติกัมมฐานอารมณ์แยกเป็น ๕ ข้อ คือ
๑. ปฐมฌานรูปาวจรจิต ๓ รับเอาบัญญัติกัมมฐาน ๒๕ เป็น
อารมณ์ คือ กสิณ ๑๐ อสุภ ๑๐ กายดตาสติ ๑ อานาปานสติ ๑
พหมวิหาร ๓ = เมตตา กรุณา มุทิตา
๒. ทุติยฌาน ๓ ตติยฌาน ๓ จตุตถฌาน ๓ รับบัญญัติกัมมฐาน ๑๔
เป็นอารมณ์ คือ กสิณ ๑๐ อานาปานสติ ๑ พรหมวิหาร ๓
๓. ปัญจมฌาน รับ บัญญัติกัมมฐาน ๑๒ เป็นอารมณ์ คือ กสิณ ๑๐
อานาปานสติ ๑ อุเบกขาพรหมวิหาร ๑
๔.อากาสานัญจายตนฌาน ๓ รับ กสิณุคฆาฏิมากาส คือ บัญญัติที่
เพิกจากกสิณ ทั้ง ๔ เป็นอารมณ์ กสิณุคฆาฏิมากาส คือ อากาสที่ว่างเปล่า



ธรรมชาติใด ย่อมรู้อารมณ์อยู่เสมอ ธรรมชาตินั้น ชื่อว่า "จิต"

การรับอารมณ์ ที่เกยอยู่ นั้น ไม่ใช่"จิต" ค่ะ แต่การรู้อารมณ์คือ"จิต "


ช่วยอธิบายและยกข้ออุปมาให้กว้างขวางกว่านี้อีกหน่อยครับ
เพื่อประโยชน์กับสมาชิกที่ติดตาม

ยินดีรับข้อเสนอแนะครับ

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 8 โพสต์ ] 

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 66 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร