วันเวลาปัจจุบัน 27 เม.ย. 2024, 19:55  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


“อภิธรรม (สันสกฤต: abhidharma) หรืออภิธัมมะ (บาลี: abhidhamma) เป็นชื่อปิฎกศาสนาพุทธฉบับหนึ่งในปิฎกทั้งสามฉบับที่รวมเรียก "พระไตรปิฎก" อภิธรรมแปลว่าธรรมอันยิ่ง ปิฎกฉบับอภิธรรมนั้นเรียก "พระอภิธรรมปิฎก" ซึ่งว่าด้วยประมวลหลักธรรมและคำอธิบายที่เป็นหลักวิชาล้วนๆ ไม่มีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์และบุคคลเลย”



กลับไปยังกระทู้  [ 2 โพสต์ ]    Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 04 ธ.ค. 2023, 08:04 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




PhotoRoom-20230414_110125.png
PhotoRoom-20230414_110125.png [ 313.27 KiB | เปิดดู 1046 ครั้ง ]
๑. บาลีวิธี กุสโล ธมฺโม กุสลสฺส ธมฺมสฺส ปกตูนิสฺสยปจฺจเยนปจฺจโย
(กุศลธรรมเป็นปัจบแก่กุศลธรรม ด้วยอำนาจปกตูปนิสสยปัจจัย)
กุ --> กุ.คือ กุ. ๒๐ เจ ๓๘ (เว้นอรหัตตมัค) --> กุ. ๒๑ เจ ๓๘

บาลีอนุวาท

๑.สทฺธํ อุปนิสฺสาย ทานํ เทติ สีลํ สมาทิยติ อุโปสถกมฺม กโรติ
ฌานํ อุปฺปาเทติ วิปสฺนํ อุปฺปาเทติ มคฺคํ อุปฺปาเทติ อภิญฺญํ อุปฺทาเทติ
สมาปตฺตึ อุปฺปาเทติ (บุคคลอาศัยศรัทธาย่อมให้ทาน สมาทานศีล
รักษาอุโบสถ ยังฌาน วิปัสสนา มัค อภิญญา สมาบัติ ให้เกิดขึ้น)
ก.๒๐ เจ.๓๘ ที่มีศรัทธาเป็นประธาน --> กุ. ๒๑ เจ ๓๘

๒. สีลํ สุตํ จาคํ ปญฺญํ อุปนิสฺสาย ทานํ เทติ สีลํ สมาทิยติ
อุโปสถกมฺมํ กโรติ ฌานํ อุปฺปาเทติ มคฺคํ อุปฺปาเทติ อภิญฺญํ อุปฺปาเทติ
สมาปตฺติ อุปฺปาเทติ (บุคคลอาศัย ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ย่อมให้ทาน
สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ยังฌาน มัค อภิญญา สมาบัติ ให้เกิดขึ้น)
ก. ๒๐ (เวันอรหัตตมัค) เจ.๓๘ ที่มีศีล สุตะ จาคะ ปัญญา เป็น
ประธาน → กู.๒๑ เจ.๓๘

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 04 ธ.ค. 2023, 10:21 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




ei_1701679676484-removebg-preview (1).png
ei_1701679676484-removebg-preview (1).png [ 482.98 KiB | เปิดดู 1005 ครั้ง ]
๓ สทฺธา สีลํ สุตํ จาโค ปญฺญา สทฺธาย สีลสฺส จาคสฺส
ปญฺญาย ปกตูปนิสฺสยปจฺจเยน ปจฺจโย (ศรัทธา ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา เป็นปัจจัยช่วยอุปการะแก่ศรัทธา ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ด้วย
อำนาจปกตูปนิสสยปัจจัย)
กุ. ๒๐ เจ. ๓๘ --> กุ. ๒๑ เจ. ๓๘

๔. ปฐมสฺส ฌานสฺส ปริกมฺมํ ปฐมสฺส ฌานสฺส, ทุติยสฺส
ปริกมฺมํ ทุติยสฺส ฌานสฺส, ตติยสฺส ฌานสฺส ปริกมฺมํ ตติยสฺส ฌานสฺส
จตุตฺถสฺส ฌานสฺส ปริกมฺมํ จตุตฺถสฺส ฌานสุส,
อากาสานญฺจายตนสฺส ปริกมฺมํ อากาสานญฺจายตนสฺส
วิญฺญาณญฺจายตนสฺส ปริกมฺมํ วิญฺญาณญฺจายตนสฺส
อากิญฺจญฺญายตนสฺส ปริกมฺมํ อากิญฺจญฺญายตนสฺส.
เนวสญฺญานาสญฺญายตนสฺส ปริกมฺมํ เนวสญฺญานาสญฺญายตนสฺส
ปกตูปนิสฺสยปจฺจเยน ปจฺจโย
(จิตที่ทำหน้าที่บริกรรมของฌานทั้ง ๘

(ฌานจตุตถนัย) มีปฐมฌานเป็นต้น เป็นปัจจัย ช่วยอุปการะแก่ฌานทั้ง ๘
ที่เกิดต่อจากบริกรรม ด้วยอำนาจ ปกตูปนิสสยปัจจัย)

ก.สํ. ๔ เจ.๓๕ ที่ทำบริกรรมในฌานทั้ง ๘ --> มหัคคตกุ. ๘ เจ ๓๕

๕. ปฐมํ ฌานํ ทุติยสฺส ฌานสฺส, ทุติยํ ฌานํ ตติยสฺส ฌานสฺ
ตติยํ ฌาน จตุตฺถสฺส ฌานสฺส, จตุตฺถ ฌานํ อากาสานญฺจายตนสฺส
อากาสานญฺจายตนํ
วิญฺญาณญฺจายตนสฺส,
อากิญฺจญฺญายตนสฺส,
อากิญฺจญฺญายตนํ เนวสญฺญานาสญฺญายตนสฺส
ปกตูปนิสฺสยปจฺจเยน ปจฺจโย (จิตที่ทำหน้าที่บริกรรมของฌานทั้ง ๘
(ฌานจตุกนัย) มีปฐมฌานเป็นต้น เป็นปัจจัย
ช่วยอุปการะแก่ฌานเบื้องสูงตามลำดับ ด้วยอำนาจปกตูปนิสสยปัจจัย)
ปฐมฌานกุ. ๑ เจ.๓๕ --> ทุติยฌานกุ. ๑ เจ.๓๓ (เว้นวิตก วิจาร)
ทุติยฌานกุ. ๑ เจ.๓๓ --> ตติยฌานกุ. ๑ เจ.๓๒ (เว้นวิตก วิจาร ปีติ)
ตติยฌานกุ. ๑ เจ.๓๒ --> จตุตถฌานกุ, ๑ เจ.๓๐ (วันวิตก วิจาร ปีติ อัปป.๒ )
จตุตถฌานกุ. ๑ เจ.๓๐ --> อากาสา.กุ. ๑ เจ.๓๐

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 2 โพสต์ ] 

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 93 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร