วันเวลาปัจจุบัน 29 มี.ค. 2024, 13:16  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 107 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 มี.ค. 2010, 03:17 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
บอกแล้วว่า เอาที่เป็นรูปธรรม แบบภาษาชาวบ้านๆ ที่ไม่ได้เรียนปริยัติ
ขนาดมีคนเรียนปริยัติมา เรื่อง นิพพานยังถกเถียงกันแทบเป็นแทบตาย ยังไม่รู้จบ

เอาแบบภาษาชาวบ้านนะ พอพูดปั๊บบ ร้องอ๋อ ทันที
อ้อ ... มันแตกต่างกันแบบนี้นี่เอง


ความถกเถียง เนื่องด้วยทิฏฐิ จิตแล่นไปในโลกีย์ ทิฏฐิ มีมานะเป็นกิเลส จิตย่อมไม่มีสติไม่มีสัมปชัญญะ

เรียนธรรม เรียนปริยัติ ไม่ใช่เรียนด้วยตามตัวหนังสือ ต้องค่อยๆเรียนด้วยความเข้าใจ

ถามคุณ walaiporn ง่ายๆ ว่า "สภาวะ" คำนี้ เป็นภาษาชาวบ้านหรือเปล่า

"สภาวะธรรม" คืออะไรในความเข้าใจแบบชาวบ้านๆ

เช่นนั้น ก็เขียนไว้แล้ว

อ้างคำพูด:
อะไรเป็นเครื่องกั้นกระแสตัณหา โดยเบื้องต้นคือ กามและอกุศลธรรมนั่นเอง
อาศัย "สติ" นี่แหละเป็นตัวกั้นกระแสในโลก ให้จิตมีหิริ โอตัปปะ มีคุณธรรม มีมนุษยธรรม มีสัมมาทิฏฐิ รักษาจิตไม่ให้ห่างจากกุศลธรรม อย่างนี้ เรียกว่าเป็นผู้มีสติสัมปชัญญะ กล่าวคือระลึกรู้ว่าทำอะไร มีปัญญาอันเรียกว่าสัมปชัญญะรู้สึกตัวว่าทำเพื่ออะไร อะไรควรทำ ไม่ควรทำ


ภาษาอย่างนี้ผู้ที่มีการศึกษามาพอสมควรย่อมตามเข้าใจได้
ว่ามีทั้งสภาวะธรรม ในจิตอันประกอบด้วยสติ เป็นผู้มีสติ

ส่วนการทำความเข้าใจ ว่ามีนิพพานเป็นอารมณ์อย่างไร เพื่อน้อมจิตไปนั้นเป็นความรู้ที่ต้องการการศึกษาที่มากขี้น หาไม่แล้ว ก็จะไม่มีทางแยกแยะได้ว่า "มีสติ มีอุเบกขา" และ"มีสติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา" ต่างกันอย่างไร

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 มี.ค. 2010, 03:23 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5977

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว



จบการสนทนา

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 มี.ค. 2010, 03:25 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
จิตใดที่ อาศัยนิพพาน มีนิพพานเป็นอารมณ์ จิตนั้นมีสภาวะอันแล่นไปในนิพพาน เป็นโลกกุตตระฌาน

จิตใดที่ อาศัยนามรูป รู้ตามนามรูป มีนามรูปเป็นอารมณ์ จิตนั้นมีสภาวะแล่นไปในฌานอันเป็นโลกียะ


ชาวบ้านอ่าน ก็ร้องอ๋อ เพราะแยกแยะให้เห็นแล้วโดยสภาวะและโดยการปฏิบัติ เพียงแต่ชาวบ้านต้องเรียนรู้เพิ่มเติมโดยลำดับ

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 มี.ค. 2010, 03:27 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5977

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว



ไปข้างๆคูๆ ไปได้เรื่อยๆนะ
ตามสบายเถอะจ้ะ :b1:

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 มี.ค. 2010, 03:32 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


walaiporn เขียน:

ไปข้างๆคูๆ ไปได้เรื่อยๆนะ
ตามสบายเถอะจ้ะ :b1:


เปิด ปฏิสัมภิทามรรค พระไตรปิฏก เล่มที่ 31 พระสุตตปิฏกเล่มที่ 23 ศึกษาให้มากขึ้น
เพื่อความเจริญ ในธรรม ให้มากกว่านี้นะครับ

เจริญธรรม

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


แก้ไขล่าสุดโดย เช่นนั้น เมื่อ 26 มี.ค. 2010, 03:33, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 มี.ค. 2010, 08:07 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 10 พ.ย. 2009, 10:41
โพสต์: 4463

อายุ: 0
ที่อยู่: วัฏสงสาร

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
อ้างคำพูด:
บอกแล้วว่า เอาที่เป็นรูปธรรม แบบภาษาชาวบ้านๆ ที่ไม่ได้เรียนปริยัติ
ขนาดมีคนเรียนปริยัติมา เรื่อง นิพพานยังถกเถียงกันแทบเป็นแทบตาย ยังไม่รู้จบ

เอาแบบภาษาชาวบ้านนะ พอพูดปั๊บบ ร้องอ๋อ ทันที
อ้อ ... มันแตกต่างกันแบบนี้นี่เอง


ความถกเถียง เนื่องด้วยทิฏฐิ จิตแล่นไปในโลกีย์ ทิฏฐิ มีมานะเป็นกิเลส จิตย่อมไม่มีสติไม่มีสัมปชัญญะ

เรียนธรรม เรียนปริยัติ ไม่ใช่เรียนด้วยตามตัวหนังสือ ต้องค่อยๆเรียนด้วยความเข้าใจ

ถามคุณ walaiporn ง่ายๆ ว่า "สภาวะ" คำนี้ เป็นภาษาชาวบ้านหรือเปล่า

"สภาวะธรรม" คืออะไรในความเข้าใจแบบชาวบ้านๆ

เช่นนั้น ก็เขียนไว้แล้ว

อ้างคำพูด:
อะไรเป็นเครื่องกั้นกระแสตัณหา โดยเบื้องต้นคือ กามและอกุศลธรรมนั่นเอง
อาศัย "สติ" นี่แหละเป็นตัวกั้นกระแสในโลก ให้จิตมีหิริ โอตัปปะ มีคุณธรรม มีมนุษยธรรม มีสัมมาทิฏฐิ รักษาจิตไม่ให้ห่างจากกุศลธรรม อย่างนี้ เรียกว่าเป็นผู้มีสติสัมปชัญญะ กล่าวคือระลึกรู้ว่าทำอะไร มีปัญญาอันเรียกว่าสัมปชัญญะรู้สึกตัวว่าทำเพื่ออะไร อะไรควรทำ ไม่ควรทำ


ภาษาอย่างนี้ผู้ที่มีการศึกษามาพอสมควรย่อมตามเข้าใจได้
ว่ามีทั้งสภาวะธรรม ในจิตอันประกอบด้วยสติ เป็นผู้มีสติ

ส่วนการทำความเข้าใจ ว่ามีนิพพานเป็นอารมณ์อย่างไร เพื่อน้อมจิตไปนั้นเป็นความรู้ที่ต้องการการศึกษาที่มากขี้น หาไม่แล้ว ก็จะไม่มีทางแยกแยะได้ว่า "มีสติ มีอุเบกขา" และ"มีสติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา" ต่างกันอย่างไร




คุณเช่นนั้นยังจำสติปัฏฐานแบบโจรได้ไหมครับ ปล้นหนอ จี้หนอ :b16:


แก้ไขล่าสุดโดย หลับอยุ่ เมื่อ 26 มี.ค. 2010, 08:08, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 มี.ค. 2010, 08:28 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 10 พ.ย. 2009, 10:41
โพสต์: 4463

อายุ: 0
ที่อยู่: วัฏสงสาร

 ข้อมูลส่วนตัว




5613847.jpg
5613847.jpg [ 51.27 KiB | เปิดดู 3700 ครั้ง ]
KAYvr1256587286-1.jpg
KAYvr1256587286-1.jpg [ 109.34 KiB | เปิดดู 3695 ครั้ง ]
เอากายในกายก่อน


พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒
ทีฆนิกาย มหาวรรค



๙. มหาสติปัฏฐานสูตร (๒๒)




,,,,,พิจารณาเห็นกายนี้
แหละ
แต่พื้นเท้าขึ้นไป แต่ปลายผมลงมา มีหนังเป็นที่สุดรอบ เต็มด้วยของ
ไม่สะอาดมีประการต่างๆ ว่า มีอยู่ในกายนี้ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ
เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก ม้าม หัวใจ ตับ พังผืด ไต ปอด ไส้ใหญ่
ไส้ทบ อาหารใหม่ อาหารเก่า ดี เสลด หนอง เลือด เหงื่อ มันข้น น้ำตา
มันเหลว น้ำลาย น้ำมูก ไขข้อ มูตร
,,,,,
ศึกษาต่อได้ตามลิงค์นี้ครับ :b8:
เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ บรรทัดที่ ๖๒๕๗ - ๖๗๖๔. หน้าที่ ๒๕๗ - ๒๗๗.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_it ... agebreak=0


ต้องเห็น! ต้องเห็นชัดเจนดีทีเดียว ต้องเห็น เซี่ยงจี๊(เครื่องใน)ชัดๆ
เอาแบบทิพยจักขุกันไปเลย!
ไม่มีฌาณบริสุทธิ์สูงๆไม่เห็นหรอก
นอกนั้นก็ลูบๆคลำๆ เปลือกก็ไม่ได้แตะ! ๆลๆ


แก้ไขล่าสุดโดย หลับอยุ่ เมื่อ 26 มี.ค. 2010, 10:43, แก้ไขแล้ว 9 ครั้ง.
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 มี.ค. 2010, 10:07 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 7
สมาชิก ระดับ 7
ลงทะเบียนเมื่อ: 05 พ.ย. 2009, 17:20
โพสต์: 532

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


sirisuk เขียน:
tongue ตัวรู้ หรือผู้รู้ หรือธาตุรู้ คืออะไร?

จะทำให้เกิดขึ้นได้อย่างไร? และรู้ได้อย่างไร?
:b8:


ขออนุโมทนาด้วยสำหรับเจ้าของกระทู้ สำหรับผู้ที่จะถามคำถามแบบนี้ย่อมบ่งบอกการใฝ่รู้ศึกษา บำเพ็ญ น้อมเข้ามาใส่จิตใจ กลั่นกรองจิตใจด้วย ไม่ใช่บุคคลที่สักแต่ว่าอ่าน หรือท่องจำความรู้ตามตำรา คัมภีร์ พระไตรปิฏกเท่านั้นแล้วอ้าง หรือยกนั้นนี้มา อวด คนอื่นๆ หากเป็นจอมยุทธในหนังจีนก็ต้องบอกว่า "ข้าน้อย เลื่อมใสท่านจริงๆ"
หากพิจารณาบทสวดมนต์เช้าจะเข้าใจชัดในเรื่องนี้ที่ มีขันธ์หนึ่ง มีขันธ์สี่ขันธ์ มีขันธ์ห้าขันธ์ กำลังท่องเที่ยวอยู่ในภพน้อยภพใหญ่ นั้นหมายถึงมี ตัวรู้ ผู้รู้ คือมีขันธ์ก็ยังเวียนตายเวียนเกิด ยังไม่จบภพ จบชาติคือนิพพาน โดยง่าย
มาทำความเข้าใจ ตัวรู้ ธาตุรู้ หมายถึง ธาตุตามธรรมชาติที่มีอยู่เองแล้ว คือวิญญาณขันธ์ ที่จัดว่าเป็นธรรมโดยธรรมอยู่เองแล้ว
ส่วนผู้รู้ นั้นมี2สิ่งรวมกันเข้าคือ ผู้รู้ คืออัตตาตัวตน ที่หลงรู้ในปุถุชน หลงซ้อน เจตนา กับ ธาตุหรือวิญญาณขันธ์ ที่เรียกว่าอวิชา และ ผู้รู้ คืออัตตาตัวตนในฐานะสมมุติ ชั่วคราว ที่ดำริขึ้นมาใช้งานเท่านั้นที่เรียกว่าวิชา ในอริยะบุคคลทั้งหลาย
คำว่าว่าผู้รู้อีกนัยหนึ่งคือผู้ยังไม่จบกิจพหรมจรรย์ อาจเป็นบำเพ็ญฌาณแล้วทรงฌาณ ทรงรู้อยู่ในฌาณนั้น หรือ เป็นผู้บำเพ็ญที่ปลง ในวิปัสนากรรมฐาน มาแล้วคือ ปลงรูป ปลงเวทนา ปลงจิต แต่ยังไม่ปลงฐานธรรม คือมาทรงธรรม มายึดรู้อยู่ มายึดสติตามดูรู้อยู่บ้าง มายึดปัญญาอยู่บ้างคอยพิจารณามันอนิจจังอยู่บ้าง แต่ไม่เคยปลงตัวพิจารณาเอง เป็นต้นฯ

จะทำให้เกิดขึ้นได้อย่างไร?
คำถามนี้ไม่ชัดเจนเท่าไร จะให้อะไรเกิดขึ้น ตัวตน หรือ ผู้รู้ โดยปรกติก็หลงรู้ หลงยึด หลงติดกันอยู่แล้ว
แต่ที่จะตรงต่อความหลุดพ้น ความไม่ยึดติด เหตุที่ใด รู้เหตุนั้น ไม่สร้างเหตุที่นั้น หมายถึง การปลง ละ วาง หลงซ้อนรู้ ซ้อนธาตุ ก็ปลง สักแต่ว่า รู้สักแต่ว่ารู้ ไม่ไปอะไรกับอะไร ไม่ต้องอะไรอีก และยกให้ความเป็นธรรมชาติ ที่ไม่ใช่เป็นไปเพื่อการมีตัวตน สำคัญตนแต่อย่างใด

และรู้ได้อย่างไร?
ปัจจัตตัง รู้ได้เฉพาะตน ปลงได้ไม่ได้ คลายได้ไม่คลาย ผ่องแผ้วไม่ผ่องแผ้ว ยังสาระวนในจิตในใจ เรื่องนั้นนี้

คำตอบอาจไม่ชัดเจนเท่าไรก็ต้องอภัย ณ ที่นี้ด้วย

ขอเชิญศึกษาธรรมปฏิบัติ และดาวน์โหลดธรรมะ
โดย หลวงพ่อโพธิ์ศรีสุริยะ เขมรโต
วัดร่มโพธิธรรม บ้านหลัก 160 ต.หนองหิน อ.หนองหิน จ.เลย

http://www.rombodhidharma.com/ หรือที่บอร์ดสนทนาทั่วไป
ขอให้มีส่วนในความ ไม่ติด ไม่ขัด ไม่ข้อง ไม่คา แจ่มแจ้งในสัจธรรม ลุล่วงพ้นทุกข์ ตามองค์พุทธะ พระอรหันต์ พระโพธิสัตว์ หลวงพ่อโพธิ์ศรีสุริยะ เขมรโต นั่นเทอญ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 มี.ค. 2010, 10:16 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 10 พ.ย. 2009, 10:41
โพสต์: 4463

อายุ: 0
ที่อยู่: วัฏสงสาร

 ข้อมูลส่วนตัว


ผมยังเป็นปุถุชนอยู่ ฌาณ4ก็ยังไม่มี และก็ไม่ได้หมายมาเอาลาภสักการะในเวปนี้ ไม่จำเป็น! ! !และเชื่อว่าคุณ เช่นนั้น ก็ไม่ต้องการลาภและสักการะด้วยเช่นกัน
ตามสบาย
:b29:


แก้ไขล่าสุดโดย หลับอยุ่ เมื่อ 26 มี.ค. 2010, 10:18, แก้ไขแล้ว 2 ครั้ง.

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 มี.ค. 2010, 10:49 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
อาสาสมัคร
อาสาสมัคร
ลงทะเบียนเมื่อ: 21 มี.ค. 2009, 20:48
โพสต์: 745


 ข้อมูลส่วนตัว


walaiporn เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
อ้างคำพูด:
walaiporn เขียน:

การสนทนาเรื่อง ฌาน ก็ต้องเรื่องฌาน
ฌานมีโลกียะ กับ โลกุตระ ไม่ใช่ไปอ้างเรื่องอื่นๆเข้ามา
พวกชอบอ้าง ก็อ้างไปเรื่อย เอาไปปนกันหมด


หัวข้อคือ ตัวรู้ ผู้รู้คืออะไร ทำให้เกิดขึ้นได้อย่างไร

จิตเป็นธรรมชาติรู้ มีสภาวะธรรม คือ "รู้" แต่ "รู้ชัด" เป็นหน้าที่ของปัญญาเจตสิก และจิตก็รู้ ในความรู้ชัดนั้นอีกทีหนึ่ง

คราวนี้มันเกี่ยวกับ ฌานอย่างไร
ในเมื่อจิตรู้ ในรู้ชัดซึ่งเป็นปัญญาเจตสิก คือรู้ให้สุดๆไปเลย จนกระทั้งรู้ว่าหลุดพ้นหรือไม่หลุดพ้น
การรู้แบบนี้ จึงเรียกว่า จะทำอย่างไรให้ ปัญญาเกิด

ปัญญามีสมาธิเป็นบาทฐาน นั่นหมายความว่า ปัญญาต้องอาศัยสมาธิ เพื่อความเจริญ ซึ่งการเจริญปัญญาก็มีอีกชื่อคือวิปัสสนาภาวนาซึ่งก็มีสมาธิเป็นบาทฐานอยู่ดี ปัญญาจะดีนั้น จิตก็ต้องไม่มีอะไรคอยรบกวนซึ่งคือกระแสกิเลส
อะไรเป็นเครื่องกั้นกระแสตัณหา โดยเบื้องต้นคือ กามและอกุศลธรรมนั่นเอง
อาศัย "สติ" นี่แหละเป็นตัวกั้นกระแสในโลก ให้จิตมีหิริ โอตัปปะ มีคุณธรรม มีมนุษยธรรม มีสัมมาทิฏฐิ รักษาจิตไม่ให้ห่างจากกุศลธรรม อย่างนี้ เรียกว่าเป็นผู้มีสติสัมปชัญญะ กล่าวคือระลึกรู้ว่าทำอะไร มีปัญญาอันเรียกว่าสัมปชัญญะรู้สึกตัวว่าทำเพื่ออะไร อะไรควรทำ ไม่ควรทำ

แต่หากต้องการ ปัญญาอันเป็นเครื่องนำออกจากทุกข์ นั่นคือต้องการจิตอันเป็นโลกุตตรภูมิ
สติที่ต้องชำระ ต้องชำระให้บริสุทธิ์อย่างยิ่งเพื่อ เจริญปัญญาให้เกิดอาสวัขยญาณ





เวลาอ่าน อ่านให้ละเอียดก่อน ก่อนที่จะตีความว่าพูดกับใครหรืออะไร
ไม่ใช่เอาก๊อปมาแปะไปเรื่อยเปื่อย

ก็ถามเรื่องสภาวะที่เป็นรูปธรรม ไม่ใช่เอาแบบตำรามาแปะ ท่องจำมาน่ะมีประโยชน์
แต่ไม่ได้ตอบมาตามสภาวะที่แยกได้ชัดเจน ก็ไม่เป็นไร
ซึ่งบอกไปแล้วว่าจบการสนทนาแล้ว คิดว่า น่าจะเข้าใจนะ

แต่จากกระทู้นี้ แสดงว่าไม่เข้าใจ งั้นจะนำมาให้อ่านอีกรอบ ว่าพูดกับใคร แล้วทำไมถึงพูดแบบนั้น
อ่านจากที่นำมาแปะนี่เลยนะ





ขงเบ้งเทพแห่งกลยุทธ์ เขียน:
หลับอยุ่ เขียน:
ฌาณต้องมีก่อนสติปัฏฐานมีทีหลัง

เชิญตามลิงค์นี้ได้เลยครับ :b8:
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๕ พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๒
วิภังคปกรณ์





เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๕ บรรทัดที่ ๖๓๑๑ - ๖๓๘๔. หน้าที่ ๒๗๓ - ๒๗๕.
http://84000.org/tipitaka/pitaka3/v.php ... agebreak=0



แล้วแต่คนงับ

บางพวก ปัญญานำสมาธิ

บางพวก สมาธินำปัญญา

สาธุงับ

แต่พวกที่ชอบอ้างสติปัฏฐาน เข้าใจยาก ไม่รู้จักสติปัฏฐาน มหาสติ มหาปัญญา แบบของจริงหรอก

ลอยลมไปเรื่อยๆ





นี่คือ คำตอบกระทู้นี่ ต่อเนื่องกัน

viewtopic.php?f=1&t=30327&st=0&sk=t&sd=a&start=15


walaiporn เขียน:

การสนทนาเรื่อง ฌาน ก็ต้องเรื่องฌาน
ฌานมีโลกียะ กับ โลกุตระ ไม่ใช่ไปอ้างเรื่องอื่นๆเข้ามา
พวกชอบอ้าง ก็อ้างไปเรื่อย เอาไปปนกันหมด




แต่ถ้าต้องการจะตอบจริงๆล่ะก็
ถามแค่ว่า สภาวะของฌานที่เป็นโลกียะ กับ โลกุตระ แตกต่างกันอย่างไร
ยกตัวอย่างง่ายสุดๆเลย เพราะเนื้อความไม่มาก

สภาวะของจตุตถฌานที่เป็นโลกียะ กับโลกุตระนั้น แตกต่างกันยังไง
อาการที่เกิดขึ้นน่ะ มันแตกต่างกันลิบลับ ต้องการให้บอกแค่นี้แหละว่าแตกต่างกันยังไง



แล้วเกี่ยวอะไรกับผมงับ

.....................................................
“เวลาทำสมาธิ ให้ระลึกลมหายใจเข้าออก ให้รู้ลมหายใจเข้าออก ไม่ต้องบังคับลมหายใจ ตามรู้ลมหายใจเข้าออก สงบก็รู้ ไม่สงบก็รู้ สงบก็ไม่ยินดี ไม่สงบก็ไม่ยินร้าย ไม่เอาทั้งสงบและไม่สงบ เอาแค่รู้ตามความเป็นจริงของสภาวธรรมปัจจุบันนั้น”

ธรรมเหล่านี้เป็นไปเพื่อคลายกำหนัด
เป็นไปเพื่อไม่ประกอบสัตว์ไว้
เป็นไปเพื่อไม่สั่งสมกิเลส
เป็นไปเพื่อความเป็นผู้มักน้อย
เป็นไปเพื่อสันโดษ
เป็นไปเพื่อความสงัดจากหมู่คณะ
เป็นไปเพื่อปรารภความเพียร
เป็นไปเพื่อความเป็นคนเลี้ยงง่าย


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 มี.ค. 2010, 12:05 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 10 พ.ย. 2009, 10:41
โพสต์: 4463

อายุ: 0
ที่อยู่: วัฏสงสาร

 ข้อมูลส่วนตัว


พอออกความเห็นก็หาว่า กล่าวลอยๆ(ดูเอาเองว่าออกความเห็นกันกี่คน) พอทำลิงค์อ้างตำรา ก็หาว่าตัดแปะ :b10: :b6: :b9: :b32:


แก้ไขล่าสุดโดย หลับอยุ่ เมื่อ 26 มี.ค. 2010, 12:06, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 มี.ค. 2010, 12:15 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2008, 14:14
โพสต์: 3836

อายุ: 12
ที่อยู่: กทม.

 ข้อมูลส่วนตัว


หลับอยุ่ เขียน:
พอออกความเห็นก็หาว่า กล่าวลอยๆ(ดูเอาเองว่าออกความเห็นกันกี่คน) พอทำลิงค์อ้างตำรา ก็หาว่าตัดแปะ :b10: :b6: :b9: :b32:


เฮ่อ ก็จริงนะ

:b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 มี.ค. 2010, 12:23 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 10 พ.ย. 2009, 10:41
โพสต์: 4463

อายุ: 0
ที่อยู่: วัฏสงสาร

 ข้อมูลส่วนตัว


255 การตรัสรู้โดยฉับพลันมีได้หรือไม่

ปัญหา มีพระพุทธศาสนาบางนิกายถือว่า การบรรลุมรรคผล อาจเกิดขึ้นได้โดยแบพลัน เช่นเดียวกับแสงสว่างวาบขึ้นทันทีทันใด ขับไล่ความมืดให้หมดสิ้นไป การบรรลุมรรคผลโดยฉับพลันดังกล่าวจะมีได้หรือไม่ ?

พุทธดำรัสตอบ “.....ดูก่อนปหาราทะ มหาสมุทรลาดลุ่มลึกลงไปโดยลำดับไม่โกรกชันเหนือเหวฉันใด ในธรรมวินัยนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน มีการศึกษาไปตามลำดับ มีการกระทำไปตามลำดับ มีการปฏิบัติไปตามลำดับ มิใช่ว่าจะมีการบรรลุอรหัตตผลโดยตรง...ฯ”


มหาปราทสูตร อ. อํ. (๑๐๙)
ตบ. ๒๓ : ๒๐๓ ตท. ๒๓ : ๑๗๗
ตอ. G.S. IV : ๑๓๘

:b42: :b42: :b42:
:b44: :b44: :b44:
:b8: :b8: :b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 มี.ค. 2010, 17:07 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 6
สมาชิก ระดับ 6
ลงทะเบียนเมื่อ: 28 พ.ย. 2009, 18:14
โพสต์: 435

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว




thBuddhaBlink.gif
thBuddhaBlink.gif [ 10.1 KiB | เปิดดู 3625 ครั้ง ]
:b8: :b8: :b8: ขอบคุณทุกคำตอบค่ะ...
ทุกๆคำตอบล้วนมีคุณค่าอย่างยิ่งค่ะ เพราะเป็นเหตุทำให้เกิดคำตอบต่อๆไป
แผ่ขยายโยงใยครอบคลุมออกไป ทำให้เกิดความรู้เกิดคุณประโยชน์อย่างมหาศาล
หากพิเคราะห์พิจารณาอย่างถ้วนถี่แล้วปฏิบัติจะทำให้เกิดผลเป็นหนทางไปสู่...ปฏิเวท...ได้

:b8: :b8: :b8: รู้สึกซาบซึ้งในความมีเมตตากรุณาของกัลญาณมิตรทุกท่าน
ที่สละเวลาพักผ่อนมาตอบคำถามค่ะ...ขอบคุณมากมายค่ะ


เนื่องจาก sirisuk มีความรู้ส่วนมากมาจากการปฏิบัติ
จึงยังไม่ค่อยรู้ปริยัติมากนัก ขอบคุณที่แนะนำพระสูตรต่างๆค่ะ
ขอเก็บรายละเอียดและทำความเข้าใจในเนื่อหาแล้วจะมาใหม่ค่ะ
:b39: :b39: :b39:

.....................................................
สรุปคำสอนของสมเด็จองค์ปฐม
"ท่านทั้งหลาย การหลบหลีกไม่ต้องตกอบายภูมิ มีนรกเป็นต้น เป็นของ ไม่ยาก
1. ขอทุกท่านจงอย่าลืมความตาย จงคิดว่าความตาย อาจจะมีกับเราเดี๋ยวนี้ไว้เสมอๆ
2. เคารพพระพุทธเจ้า พระธรรม พระอริยสงฆ์ ด้วยศรัทธาแท้ (ด้วยความจริงใจ)
3. มีศีลบริสุทธิ์เป็นปกติ และ
4. เป็นกรณีพิเศษ ปฏิเสธการเกิดเป็นมนุษย์ เทวดา นางฟ้า และพรหม ในชาติต่อไป ทุกท่านเห็นนิพพาน แล้วตั้งใจไปพระนิพพานได้ในที่สุด"
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 มี.ค. 2010, 17:16 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
อาสาสมัคร
อาสาสมัคร
ลงทะเบียนเมื่อ: 21 มี.ค. 2009, 20:48
โพสต์: 745


 ข้อมูลส่วนตัว


walaiporn เขียน:

จบการสนทนา



ท่านวลัยพร พอจะโดนตรวจสอบก็เป็นแบบนี้เลยนะงับ

.....................................................
“เวลาทำสมาธิ ให้ระลึกลมหายใจเข้าออก ให้รู้ลมหายใจเข้าออก ไม่ต้องบังคับลมหายใจ ตามรู้ลมหายใจเข้าออก สงบก็รู้ ไม่สงบก็รู้ สงบก็ไม่ยินดี ไม่สงบก็ไม่ยินร้าย ไม่เอาทั้งสงบและไม่สงบ เอาแค่รู้ตามความเป็นจริงของสภาวธรรมปัจจุบันนั้น”

ธรรมเหล่านี้เป็นไปเพื่อคลายกำหนัด
เป็นไปเพื่อไม่ประกอบสัตว์ไว้
เป็นไปเพื่อไม่สั่งสมกิเลส
เป็นไปเพื่อความเป็นผู้มักน้อย
เป็นไปเพื่อสันโดษ
เป็นไปเพื่อความสงัดจากหมู่คณะ
เป็นไปเพื่อปรารภความเพียร
เป็นไปเพื่อความเป็นคนเลี้ยงง่าย


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 107 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 36 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร