วันเวลาปัจจุบัน 29 มี.ค. 2024, 17:57  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


รวมกระทู้จากบอร์ดเก่า http://www.dhammajak.net/board/viewforum.php?f=2



กลับไปยังกระทู้  [ 226 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 ... 16  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 พ.ค. 2010, 15:01 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 10
สมาชิก ระดับ 10
ลงทะเบียนเมื่อ: 08 เม.ย. 2010, 08:14
โพสต์: 829

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
noomairoo เขียน:
ไม่รู้จัก ... ท่านพระสังฆะ ... ที่เป็นพวกเดียวกะ ... หลวงปู่ดูลย์ ละจ้าๆ

เช่นนั้น ... อลัชชชี ... ละเป่า ละจ้าๆ


อ๋อ พวกเดียวกับ หลวงปู่ดุลย์
หลวงปู่ดุลย์เป็นใคร .... ไม่รู้จักเหมือนกัน.... อลัชชี เหมือนกันหรือเปล่า?


เจริญพร

อิอิ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 พ.ค. 2010, 15:03 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


enlighted เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
noomairoo เขียน:
ไม่รู้จัก ... ท่านพระสังฆะ ... ที่เป็นพวกเดียวกะ ... หลวงปู่ดูลย์ ละจ้าๆ

เช่นนั้น ... อลัชชชี ... ละเป่า ละจ้าๆ


อ๋อ พวกเดียวกับ หลวงปู่ดุลย์
หลวงปู่ดุลย์เป็นใคร .... ไม่รู้จักเหมือนกัน.... อลัชชี เหมือนกันหรือเปล่า?


เจริญพร

อิอิ


พวกเดียวกับ เจริญพร

อืมม์

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 พ.ค. 2010, 15:06 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 10
สมาชิก ระดับ 10
ลงทะเบียนเมื่อ: 08 เม.ย. 2010, 08:14
โพสต์: 829

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
noomairoo เขียน:
ไม่รู้จัก ... ท่านพระสังฆะ ... ที่เป็นพวกเดียวกะ ... หลวงปู่ดูลย์ ละจ้าๆ

เช่นนั้น ... อลัชชชี ... ละเป่า ละจ้าๆ


อ๋อ พวกเดียวกับ หลวงปู่ดุลย์
หลวงปู่ดุลย์เป็นใคร .... ไม่รู้จักเหมือนกัน.... อลัชชี เหมือนกันหรือเปล่า?


อิอิ

ต้องถาม ชาติสยาม ไฮโลว์ หลานศิษย์ ปู่ดุลย์ ด้วย

ว่าเอาคำสอน ฮวงโป มาสอนเรื่องจิตพุทธะ หลายตลบ

ไม่รู้ว่า เป็นเหมือนเช่นนั้นกล่าวหรือเปล่า

หลวงปู่ดุลย์เป็นใคร .... ไม่รู้จักเหมือนกัน.... อลัชชี เหมือนกันหรือเปล่า?


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 พ.ค. 2010, 15:08 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


enlighted เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
noomairoo เขียน:
ไม่รู้จัก ... ท่านพระสังฆะ ... ที่เป็นพวกเดียวกะ ... หลวงปู่ดูลย์ ละจ้าๆ

เช่นนั้น ... อลัชชชี ... ละเป่า ละจ้าๆ


อ๋อ พวกเดียวกับ หลวงปู่ดุลย์
หลวงปู่ดุลย์เป็นใคร .... ไม่รู้จักเหมือนกัน.... อลัชชี เหมือนกันหรือเปล่า?


อิอิ

ต้องถาม ชาติสยาม ไฮโลว์ หลานศิษย์ ปู่ดุลย์ ด้วย

ว่าเอาคำสอน ฮวงโป มาสอนเรื่องจิตพุทธะ หลายตลบ

ไม่รู้ว่า เป็นเหมือนเช่นนั้นกล่าวหรือเปล่า

หลวงปู่ดุลย์เป็นใคร .... ไม่รู้จักเหมือนกัน.... อลัชชี เหมือนกันหรือเปล่า?


ถามท่านอื่นไปไย ....
ถาม จิตหนึ่ง..คือพุทธะ นี่แหละ อิอิ

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 พ.ค. 2010, 15:11 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 10
สมาชิก ระดับ 10
ลงทะเบียนเมื่อ: 08 เม.ย. 2010, 08:14
โพสต์: 829

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
enlighted เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
noomairoo เขียน:
ไม่รู้จัก ... ท่านพระสังฆะ ... ที่เป็นพวกเดียวกะ ... หลวงปู่ดูลย์ ละจ้าๆ

เช่นนั้น ... อลัชชชี ... ละเป่า ละจ้าๆ


อ๋อ พวกเดียวกับ หลวงปู่ดุลย์
หลวงปู่ดุลย์เป็นใคร .... ไม่รู้จักเหมือนกัน.... อลัชชี เหมือนกันหรือเปล่า?


อิอิ

ต้องถาม ชาติสยาม ไฮโลว์ หลานศิษย์ ปู่ดุลย์ ด้วย

ว่าเอาคำสอน ฮวงโป มาสอนเรื่องจิตพุทธะ หลายตลบ

ไม่รู้ว่า เป็นเหมือนเช่นนั้นกล่าวหรือเปล่า

หลวงปู่ดุลย์เป็นใคร .... ไม่รู้จักเหมือนกัน.... อลัชชี เหมือนกันหรือเปล่า?


ถามท่านอื่นไปไย ....
ถาม จิตหนึ่ง..คือพุทธะ นี่แหละ อิอิ


อิอิ

ปาก มากกว่ามั๊ง

อิอิ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 พ.ค. 2010, 15:14 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ถามท่านอื่นไปไย ....
ถาม จิตหนึ่ง..คือพุทธะ นี่แหละ อิอิ

enlighted เขียน:
ปาก มากกว่ามั๊ง


จิตหนึ่ง...คือพุทธะ คือ ปากมาก กว่ามั๊ง นี่เอง

อืมม์

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 พ.ค. 2010, 15:30 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 10
สมาชิก ระดับ 10
ลงทะเบียนเมื่อ: 08 เม.ย. 2010, 08:14
โพสต์: 829

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
ถามท่านอื่นไปไย ....
ถาม จิตหนึ่ง..คือพุทธะ นี่แหละ อิอิ

enlighted เขียน:
ปาก มากกว่ามั๊ง


จิตหนึ่ง...คือพุทธะ คือ ปากมาก กว่ามั๊ง นี่เอง

อืมม์


อิอิ

ก็ลองไปถามจิตหนึ่ดูสิคร๊าบบบ

ว่าจิตหนึ่งจะตอบว่าอะไร

เหอๆๆ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 พ.ค. 2010, 15:54 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 10
สมาชิก ระดับ 10
ลงทะเบียนเมื่อ: 08 เม.ย. 2010, 08:14
โพสต์: 829

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


การรู้จักจิตผิดๆ ทำให้การศึกษาพระพุทธศาสนาผิดตลอดแนว

เช่นนั้น เขียน:
ถามท่านอื่นไปไย ....
ถาม จิตหนึ่ง..คือพุทธะ นี่แหละ อิอิ


เหอๆๆ

เช่นนั้นเด็กน้อย เอ๋ยย

แสดงความเข้าใจ เรื่องจิต อันอ่อนด้อย ออกมา ประจาน ตัวเอง ซะแล้ว

จะไปถามจิตหนึ่ง

คำพูด ก็ดูเทห์ดี ไม่เบา
แต่เป็น รูโหว่ อันเบ่อเร่ ของความเห็นผิด ทำลายปัญญาได้ตลอดแนว

ให้ไปถามอีกแสนอสงไขย หวังว่า คงได้รับคำตอบจากจิตหนึ่งนะ

เหอๆๆ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 พ.ค. 2010, 17:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


enlighted เขียน:
เหอๆๆ

เช่นนั้นเด็กน้อย เอ๋ยย

แสดงความเข้าใจ เรื่องจิต อันอ่อนด้อย ออกมา ประจาน ตัวเอง ซะแล้ว

จะไปถามจิตหนึ่ง

คำพูด ก็ดูเทห์ดี ไม่เบา
แต่เป็น รูโหว่ อันเบ่อเร่ ของความเห็นผิด ทำลายปัญญาได้ตลอดแนว

ให้ไปถามอีกแสนอสงไขย หวังว่า คงได้รับคำตอบจากจิตหนึ่งนะ

เหอๆๆ


อ้อ ที่แท้ จิตหนึ่งคือ พุทธะ คือ รูโหว่ คือความหวัง.. ลมๆ แล้ง

อืมม์

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 พ.ค. 2010, 20:29 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 4
สมาชิก ระดับ 4
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ก.ย. 2009, 20:09
โพสต์: 202

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
ธรรมภูต เขียน:
ผมแสดงชัดเจนแล้วนะครับว่า

จิตเป็นธาตุรู้ ไม่แปรเปลี่ยนไปเป็นธาตใดๆทั้งสิ้น ธาตุรู้ก็ต้องทรงตัวรู้ทุกกาลสมัยสิ
จิตเป็นธาตุรู้ ไม่ใช่อายตนะซะหน่อย แต่อาศัยอายตนะเป็นช่องทางในการรับอารมณ์เข้ามาสู่จิตเท่านั้น
จิตเป็นธาตุรู้ ไม่ใช่ขันธ์๕และขันธ์๕ก็ไม่ใช่จิต ขันธ์๕(ร่างกาย)เป็นเพียงภพที่อยู่ที่อาศัยของจิต
ขันธ์๕คืออารมณ์ของจิตและอาการของจิตที่เนื่องด้วยอารมณ์เท่านั้น


...ถ้าจิต ทรงตัวรู้ ตลอดทุกกาลสมัย เหมือนดังธาตุรู้ ไม่แปรเปลี่ยน .....จิตย่อมไม่ปรากฏในสังสารวัฏฏ์
...ถ้าจิต ไม่ใช่อายตนะ ....การบรรลุธรรม ย่อมไม่ปรากฎ
...ถ้าจิต ไม่ใช่ขันธ์ 5 ... นิพพาน ย่อมเป็นเท็จเสมอ
...ถ้าขันธ์ 5 เป็นอารมณ์ของจิต และอาการของจิตที่เนื่องด้วยอารมณ์.... ก้อนหิน ก้อนกรวด โต๊ะเก้าอี้ ก็เป็นขันธ์ 5ทั้งสิ้น เพราะต่างก็เป็นอารมณ์ของจิตได้.

เช่นนั้น ถามใหม่...

ธาตุรู้ คือจิต หรือไม่
อายตนะภายใน คือจิต หรือไม่

แน่นอนครับ ธาตุรู้ย่อมเป็นธาตุรู้ ไม่อาจแปรเป็นธาตุดิน ธาตุน้ำฯลฯ

ที่จิตยังปรากฏในสังสารวัฏฏ์อยู่นั้น ก็เพราะจิตยังมีอวิชชาครอบงำ

ไม่รู้จักอริยสัจจสี่ด้วยปัญญาอันชอบตามความเป็นจริงหนะสิ

เพราะจิตรู้จักใช้สอยอายตนะอย่างถูกต้อง การบรรลุธรรมจึงปรากฏให้เห็น จิตไม่ใช่อายตนะ

พระนิพพานจะปรากฏ ก็ต่อเมื่อจิตรู้จักการปล่อยวางการยึดมั่นถือมั่นในขันธ์ห้าว่าเป็นตน

อย่าคิดเองสิครับ ก้อนหิน ดิน ทรายที่ไหนในโลกนี้ที่มีขันธ์ห้า(ไม่มี เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ)

การจะมีขันธ์ห้า(รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ)ได้นั้นต้องมีจิตที่เป็นธาตุรู้เข้าไปยึดครอง

ถ้าจิตไม่ใช่ธาตุรู้ แล้วจะให้จิตเป็นอะไร???

อายตนะภายในทั้งหกคือตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ

เป็นช่องทางของจิตในการรับรู้อารมณ์ภายนอก รูป เสียง กลิ่น รส กายสัมผัส และธรรมารมณ์

ที่เข้ามากระทบทำให้เกิด เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณขึ้นที่จิต...

:b39:

.....................................................
ความเพียรมีผล ความพยายามมีผล
เชิญพบปะพูดคุยกับธรรมภูต


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 พ.ค. 2010, 21:16 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 5
สมาชิก ระดับ 5
ลงทะเบียนเมื่อ: 03 เม.ย. 2010, 15:07
โพสต์: 313

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
enlighted เขียน:
เหอๆๆ

เช่นนั้นเด็กน้อย เอ๋ยย

แสดงความเข้าใจ เรื่องจิต อันอ่อนด้อย ออกมา ประจาน ตัวเอง ซะแล้ว

จะไปถามจิตหนึ่ง

คำพูด ก็ดูเทห์ดี ไม่เบา
แต่เป็น รูโหว่ อันเบ่อเร่ ของความเห็นผิด ทำลายปัญญาได้ตลอดแนว

ให้ไปถามอีกแสนอสงไขย หวังว่า คงได้รับคำตอบจากจิตหนึ่งนะ

เหอๆๆ


อ้อ ที่แท้ จิตหนึ่งคือ พุทธะ คือ รูโหว่ คือความหวัง.. ลมๆ แล้ง

อืมม์

อิอิ

อนุโมทนาสาธุจ้า
:b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 พ.ค. 2010, 21:31 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 10
สมาชิก ระดับ 10
ลงทะเบียนเมื่อ: 08 เม.ย. 2010, 08:14
โพสต์: 829

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
enlighted เขียน:
เหอๆๆ

เช่นนั้นเด็กน้อย เอ๋ยย

แสดงความเข้าใจ เรื่องจิต อันอ่อนด้อย ออกมา ประจาน ตัวเอง ซะแล้ว

จะไปถามจิตหนึ่ง

คำพูด ก็ดูเทห์ดี ไม่เบา
แต่เป็น รูโหว่ อันเบ่อเร่ ของความเห็นผิด ทำลายปัญญาได้ตลอดแนว

ให้ไปถามอีกแสนอสงไขย หวังว่า คงได้รับคำตอบจากจิตหนึ่งนะ

เหอๆๆ


อ้อ ที่แท้ จิตหนึ่งคือ พุทธะ คือ รูโหว่ คือความหวัง.. ลมๆ แล้ง

อืมม์



อ้อ ที่แท้ จิตหนึ่งคือ พุทธะ คือ รูโหว่ คือความหวัง.. ลมๆ แล้ง



อิอิ

อนุโมทนาด้วย

อิอิ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 พ.ค. 2010, 10:27 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 2
สมาชิก ระดับ 2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 เม.ย. 2010, 10:07
โพสต์: 86

แนวปฏิบัติ: เงียบๆคนเดียว
งานอดิเรก: ฟังธรรมของหลวงพ่อพุธ ฐานิโย&หลวงพ่อปราโมทย์.
สิ่งที่ชื่นชอบ: ตามดูจิต,หลวงปู่ฝากไว้,สติปัฏฐาน ๔
ชื่อเล่น: Mulan ;)
อายุ: 0
ที่อยู่: ปัจจุบัน

 ข้อมูลส่วนตัว


ธรรมภูต เขียน:
ผมเห็นว่าต้องรบกวนให้ช่วยค้นหลักฐานจากพระสูตรมายืนยันหน่อยนะครับว่า

จิตเป็นอนัตตา และรู้ได้อย่างไรว่าจิตเกิดดับ? ใครเป็นผู้รู้ว่าจิตเกิดดับครับ?

tongue

อัสสุตวตาสูตร

พระไตรปิฎก เล่ม ๑๖


พระสูตรที่กล่าวเรื่องอัตตาตัวตน อันย่อมเป็นมิจฉาทิฏฐิ หรือความเห็นผิด

แต่ถึงกระนั้นก็ตามยังมีพระพุทธพจน์ที่กล่าวถึงมิจฉาทิฏฐิในแง่มุมที่ว่า
แม้เห็นผิดในเรื่องกายว่าเป็นอัตตาตัวตน อันเป็นมิจฉาทิฏฐิที่เห็นผิด
ชนิดจัดเป็นสังโยชน์ข้อแรกทีเดียวคือสักกายทิฏฐิ
ที่ย่อมผูกมัดสัตว์ไว้ไม่ให้ดิ้นหลุดไปจากกองทุกข์ได้

แต่ท่านได้ตรัสยืนยันไว้ในพระสูตรนี้ว่า แต่ถึงกระนั้นก็ตามยังดีกว่า
การไปเห็น ไปเชื่อ ไปเข้าใจ หรือมิจฉาทิฏฐิว่า จิตหรือวิญญาณนั้น เป็นอัตตาตัวตน
หรือเป็นของตัวตน เพราะการเห็นผิดอย่างนี้
ถ้าไม่ได้สดับในธรรมของพระองค์แล้วย่อมจะไม่รู้ความจริงได้เลย
เพราะจิตย่อมละเอียดอ่อนนอนเนื่องจนไม่รู้ตัว


ส่วนความเห็นผิดว่า กายเป็นตัวตนหรือของตนนั้นแม้จัดเป็นสังโยชน์ข้อแรกที่ผูกมัดสัตว์ไว้กับทุกข์
อันย่อมแลเห็นและเข้าใจได้ยาก แต่ก็ยังจะพอรู้หรือสะกิดใจขึ้นได้บ้างเป็นครั้งเป็นคราว
จากกาลเวลาที่ผ่านไปว่า มีความเสื่อม มีความแปรปรวน
กล่าวคือ เห็นการเกิด การเจ็บ การแก่ การตาย ได้บ้างเป็นครั้งคราวตามกาลเวลาที่ผ่านไปนั่นเอง,
ส่วนจิตนั้นย่อมไม่สามารถรู้ได้เลยจนวันตาย ถ้าไม่สดับในธรรมของพระองค์ท่าน.


:b8: เจริญในธรรม :b8:


แก้ไขล่าสุดโดย ลิ้มธรรม เมื่อ 15 พ.ค. 2010, 11:29, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 พ.ค. 2010, 10:50 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 2
สมาชิก ระดับ 2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 เม.ย. 2010, 10:07
โพสต์: 86

แนวปฏิบัติ: เงียบๆคนเดียว
งานอดิเรก: ฟังธรรมของหลวงพ่อพุธ ฐานิโย&หลวงพ่อปราโมทย์.
สิ่งที่ชื่นชอบ: ตามดูจิต,หลวงปู่ฝากไว้,สติปัฏฐาน ๔
ชื่อเล่น: Mulan ;)
อายุ: 0
ที่อยู่: ปัจจุบัน

 ข้อมูลส่วนตัว


ธรรมภูต เขียน:
คุณลิ้มธรรม ถ้าคุณเลี่ยงที่จะไม่ตอบ ผมก็ตำหนิอะไรคุณไม่ได้อยู่แล้วเป็นสิทธิส่วนบุคคล

ที่ผมถามคุณนั้น ก็เพราะว่าในพระสูตรหรือในอนัตตลักขณสูตร

สูตรที่ว่าด้วยเรื่องอนัตตาโดยเฉพาะ ก็ไม่มีตรงไหนกล่าวถึงจิตว่าเป็นอนัตตาเลย

tongue เพราะความไม่รู้.......คุณจึงพูดออกมาเช่นนั้น

อัสสุตวตาสูตรที่ ๑

[๒๓๐] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้

สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของท่าน อนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี

ณ ที่นั้นแล พระผู้มีพระภาคตรัสเรียก ภิกษุทั้งหลายว่า ...

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ปุถุชนผู้มิได้สดับ จะพึงเบื่อหน่ายบ้าง คลายกำหนัดบ้าง หลุดพ้นบ้าง
ในร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้

ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะเหตุว่า ความเจริญก็ดี ความเสื่อมก็ดี การเกิดก็ดี การตายก็ดี
ของร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้

ย่อมปรากฏ(แก่)ปุถุชนผู้มิได้สดับ(ได้บ้าง) จึงเบื่อหน่ายบ้าง คลายกำหนัดบ้าง หลุดพ้นบ้าง
ในร่างกายนั้น (ดังเช่น เมื่อเจ็บป่วยมากๆ, เห็นการตาย ฯ.)

แต่ตถาคตเรียก ร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ (ที่ย่อมประกอบด้วยสิ่งที่เรียก)ว่า...
จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง(ตามแต่จะเรียกกัน)

ปุถุชนผู้มิได้สดับ (ย่อม)ไม่อาจเบื่อหน่าย คลายกำหนัด หลุดพ้นในจิต เป็นต้นนั้นได้เลย
ข้อนั้นเพราะเหตุไร

เพราะว่าจิตเป็นต้นนี้ อันปุถุชนมิได้สดับ (ย่อม)รวบรัดถือไว้ด้วยตัณหา ยึดถือด้วยทิฐิว่า...

นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตัวตนของเรา ดังนี้มาตลอดกาลช้านาน

ฉะนั้น ปุถุชนผู้มิได้สดับ จึงไม่อาจจะเบื่อหน่าย คลายกำหนัด หลุดพ้นในจิต เป็นต้นนั้นได้เลย ฯ

[๒๓๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ปุถุชนผู้มิได้สดับ จะพึงเข้าไปยึดถือเอา
ร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูต ๔ นี้ โดยความเป็นตน

ยังชอบกว่า(กล่าวคือ แม้จะเห็นผิด แต่ก็ยังดีกว่าการ)
แต่จะเข้าไปยึดถือเอาจิตโดยความเป็นตน หาชอบไม่

ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะร่างกาย อันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้
เมื่อดำรงอยู่ ปีหนึ่งบ้าง สองปีบ้าง สามปีบ้าง สี่ปีบ้าง

ห้าปีบ้าง สิบปีบ้าง ยี่สิบปีบ้าง สามสิบปีบ้าง สี่สิบปีบ้าง ห้าสิบปี บ้าง ร้อยปีบ้าง ยิ่งกว่าร้อยปีบ้าง
ย่อมปรากฏ(ให้เห็น ให้ทราบว่ามีการแปรปรวน แก่เฒ่าตาย)

แต่ว่าตถาคตเรียกสิ่งอันเป็น ที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ว่า(คือย่อมประกอบด้วย)
จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง(ตามแต่จะเรียกกัน)

จิตเป็นต้นนั้น ดวงหนึ่งเกิดขึ้น ดวงหนึ่งดับไป (ทั้ง)ในกลางคืนและกลางวัน ฯ
(กล่าวคือ จิตมีการเกิด มีการดับ อยู่ตลอดเวลา ทั้งขณะตื่นและแม้ขณะหลับดังการฝัน)

[๒๓๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย วานรเมื่อเที่ยวไปในป่าใหญ่จับกิ่งไม้ ปล่อยกิ่งนั้น
ยึดเอากิ่งอื่น ปล่อยกิ่งที่ยึดเดิม เหนี่ยวกิ่งใหม่ต่อไป

แม้ฉันใด ร่างกาย อันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ ที่ตถาคตเรียกว่า(ย่อมประกอบด้วยสิ่งที่เรียก)

จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณ บ้าง(ตามแต่จะเรียกกัน)

จิตเป็นต้นนั้นดวงหนึ่งเกิดขึ้น ดวงหนึ่งดับไป (ทั้ง)ในกลางคืนและกลางวัน ก็ฉันนั้นแล ฯ

[๒๓๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้สดับ ย่อมใส่ใจโดยแยบคาย

ด้วยดีถึงปฏิจจสมุปบาทธรรม ในร่างกายและจิตที่ตถาคตกล่าวมานั้นว่า เพราะเหตุดังนี้

เมื่อสิ่งนี้มี สิ่งนี้จึงมี เพราะสิ่งนี้เกิดขึ้น สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น

เมื่อสิ่งนี้ไม่มี สิ่งนี้จึงไม่มี เพราะสิ่งนี้ดับ สิ่งนี้จึงดับ (หลักอิทัปปัจจยตา)

คือ เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขาร เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ
เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป

เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ
เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา

เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน
เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ

เพราะภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงมีชราและมรณะ
โสกปริเทวทุกขโทมนัสและอุปายาส

ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ ย่อมมีด้วยประการอย่างนี้

อนึ่ง เพราะอวิชชาดับด้วยสำรอกโดยไม่เหลือ สังขารจึงดับ
เพราะสังขารดับ วิญญาณจึงดับ....ฯลฯ

ความดับแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ ย่อมมีด้วยประการอย่างนี้ ฯ

[๒๓๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับ มาพิจารณาอยู่อย่างนี้

ย่อมหน่ายแม้ในรูป ย่อมหน่ายแม้ในเวทนา ย่อมหน่ายแม้ในสัญญา
ย่อมหน่ายแม้ในสังขารทั้งหลาย ย่อมหน่ายแม้ในวิญญาณ

เมื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด เพราะคลายกำหนัดจึงหลุดพ้น
เมื่อหลุดพ้นแล้ว ก็เกิดญาณหยั่งรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว

ย่อมทราบชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว
กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี ดังนี้แล ฯ

จบสูตรที่ ๑

tongue เจริญในธรรม


แก้ไขล่าสุดโดย ลิ้มธรรม เมื่อ 16 พ.ค. 2010, 01:26, แก้ไขแล้ว 2 ครั้ง.

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 พ.ค. 2010, 08:20 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 4
สมาชิก ระดับ 4
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ก.ย. 2009, 20:09
โพสต์: 202

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ลิ้มธรรม เขียน:
ธรรมภูต เขียน:
ผมเห็นว่าต้องรบกวนให้ช่วยค้นหลักฐานจากพระสูตรมายืนยันหน่อยนะครับว่า

จิตเป็นอนัตตา และรู้ได้อย่างไรว่าจิตเกิดดับ? ใครเป็นผู้รู้ว่าจิตเกิดดับครับ?

tongue

อัสสุตวตาสูตร

พระไตรปิฎก เล่ม ๑๖


พระสูตรที่กล่าวเรื่องอัตตาตัวตน อันย่อมเป็นมิจฉาทิฏฐิ หรือความเห็นผิด

แต่ถึงกระนั้นก็ตามยังมีพระพุทธพจน์ที่กล่าวถึงมิจฉาทิฏฐิในแง่มุมที่ว่า
แม้เห็นผิดในเรื่องกายว่าเป็นอัตตาตัวตน อันเป็นมิจฉาทิฏฐิที่เห็นผิด
ชนิดจัดเป็นสังโยชน์ข้อแรกทีเดียวคือสักกายทิฏฐิ
ที่ย่อมผูกมัดสัตว์ไว้ไม่ให้ดิ้นหลุดไปจากกองทุกข์ได้

แต่ท่านได้ตรัสยืนยันไว้ในพระสูตรนี้ว่า แต่ถึงกระนั้นก็ตามยังดีกว่า
การไปเห็น ไปเชื่อ ไปเข้าใจ หรือมิจฉาทิฏฐิว่า จิตหรือวิญญาณนั้น เป็นอัตตาตัวตน
หรือเป็นของตัวตน เพราะการเห็นผิดอย่างนี้
ถ้าไม่ได้สดับในธรรมของพระองค์แล้วย่อมจะไม่รู้ความจริงได้เลย
เพราะจิตย่อมละเอียดอ่อนนอนเนื่องจนไม่รู้ตัว


ส่วนความเห็นผิดว่า กายเป็นตัวตนหรือของตนนั้นแม้จัดเป็นสังโยชน์ข้อแรกที่ผูกมัดสัตว์ไว้กับทุกข์
อันย่อมแลเห็นและเข้าใจได้ยาก แต่ก็ยังจะพอรู้หรือสะกิดใจขึ้นได้บ้างเป็นครั้งเป็นคราว
จากกาลเวลาที่ผ่านไปว่า มีความเสื่อม มีความแปรปรวน
กล่าวคือ เห็นการเกิด การเจ็บ การแก่ การตาย ได้บ้างเป็นครั้งคราวตามกาลเวลาที่ผ่านไปนั่นเอง,
ส่วนจิตนั้นย่อมไม่สามารถรู้ได้เลยจนวันตาย ถ้าไม่สดับในธรรมของพระองค์ท่าน.


:b8: เจริญในธรรม :b8:


ตรงไหนครับ ที่เขียนว่า จิตเป็นอนัตตา

มีแต่อย่าเห็นผิดว่าจิตสังขารและวิญญาณขันธ์ เป็นอัตตาตัวตน

หรือเป็นของตัวตน เพราะการเห็นผิดอย่างนี้

ถ้าไม่ได้สดับในธรรมของพระองค์แล้วย่อมจะไม่รู้ความจริงได้เลย

เพราะจิตย่อมละเอียดอ่อนนอนเนื่องจนไม่รู้ตัว ใครที่ไม่รู้ตัว??????

:b39:

.....................................................
ความเพียรมีผล ความพยายามมีผล
เชิญพบปะพูดคุยกับธรรมภูต


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 226 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 ... 16  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 18 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร