วันเวลาปัจจุบัน 28 มี.ค. 2024, 22:58  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


รวมกระทู้จากบอร์ดเก่า http://www.dhammajak.net/board/viewforum.php?f=2



กลับไปยังกระทู้  [ 226 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 6, 7, 8, 9, 10, 11, 12 ... 16  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 พ.ค. 2010, 12:02 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 3
สมาชิก ระดับ 3
ลงทะเบียนเมื่อ: 05 มี.ค. 2010, 21:53
โพสต์: 126

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


จิตมีหลายชื่อ
เนื่องจากจิตมีกิจหน้าที่การงานตามที่สหชาตธรรม (เจตสิก) เกิดร่วมด้วย
นำให้เป็นไปต่างๆ จิต มีการเรียกชื่อจิตอนุโลมไปตามกิจและหน้าที่นั้น ๆ

ใน ปฏิสัมภิทาพระบาลีมหาวัคค กล่าวว่า
"ยํ จิตฺตํ มโน มานสํ หทยํ ปณฺฑรํ มนายตนํ มนินฺทริยํ วิญญาณํ วิญญาณกฺขนฺโธ ตชฺชา มโน วิญญาณธาตุ อิทํ จิตฺตํ "
คำว่า จิต มโน มนัส หทัย ปัญฑระ มนายตนะ มนินทรีย์ วิญญาณ วิญญาณขันธ์ มโนวิญญาณธาตุ เหล่านี้เป็นศัพท์เดียวกันกับจิตทั้งนั้น

จิตในพระอภิธรรม มีชื่อสำหรับเรียกขานเป็นไวพจน์แทนกันได้ถึง ๑๐ ชื่อ ดังนี้ คือ จิต,มโน,หทัย,มนัส,ปัณฑระ,มนายตนะ,มนินทรีย์,วิญญาณ,วิญญาณขันธ์,มโนวิญญาณ ธาตุ. ความหมายของจิตแต่ละคำเหล่านี้ สามารถใช้แทนกันและมีใช้กันอยู่ในภาษาธรรมะ โดยทั่วไป

สัพเพ สังขารา อนิจจา ( จิต เจตสิก รูป เป็นสังขตธรรม เป็นสิ่งที่มีเหตุปัจจัยปรุงแต่ง ไม่เที่ยง)
สัพเพ สังขารา ทุกขา (จิต เจตสิก รูป เป็นสังขตธรรม เป็นสิ่งที่มีเหตุปัจจัยปรุงแต่ง เป็นทุกข์ ทนอยู่ได้ยาก)
สัพเพ ธัมมา อนัตตา (จิต เจตสิก รูป อันเป็นสังขตธรรม และนิพพาน อันเป็นอสังขตธรรม ล้วนไม่ใช่ตัวตน)

ความเห็นว่าจิตเที่ยงระวังจะกลายเป็น สัสสตทิฏฐิ นะครับ

ผิดพลาดประการใดได้โปรดอดโทษและอโหสิกรรมด้วยครับ tongue tongue tongue


แก้ไขล่าสุดโดย ภัทรพงศ์ เมื่อ 18 พ.ค. 2010, 12:03, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 พ.ค. 2010, 13:33 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
จิต เป็นสังขตธาตุ หรือ อสังขตธาตุ


ธรรมภูต เขียน:
-ตอบไปแบบ คนที่ผ่านการปฏิบัติมาก่อน ย่อมเข้าใจได้

-จิตที่ไม่ได้รับความบริสุทธิ์โลกียจิตนั้น เป็นสังขตะธรรม
เพราะเกิดตายไปตามความรู้สึกนึกคิดต่างๆที่เข้ามาปรุงแต่งจิตครอบงำอยู่ในขณะนั้น

-ส่วนจิตที่ได้รับความบริสุทธิ์หรือโลกุตรจิตนั้น
สังขตะธรรมถูกขจัดออกไปจากจิต เผยให้เห็นความเป็นอสังขตะธรรมที่ได้รับความบริสุทธิ์



จิต เป็นสังขตธาตุ หรือ อสังขตธาตุ.... เป็นคำถามที่ท่านต้องพิจารณา ให้มาก เพราะคำตอบที่ท่านให้มานั้น แสดงว่า ท่านไม่รู้จักจิตเลย

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


แก้ไขล่าสุดโดย เช่นนั้น เมื่อ 18 พ.ค. 2010, 13:35, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 พ.ค. 2010, 14:13 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 5
สมาชิก ระดับ 5
ลงทะเบียนเมื่อ: 03 เม.ย. 2010, 15:07
โพสต์: 313

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
จิต เป็นสังขตธาตุ หรือ อสังขตธาตุ


ธรรมภูต เขียน:
-ตอบไปแบบ คนที่ผ่านการปฏิบัติมาก่อน ย่อมเข้าใจได้

-จิตที่ไม่ได้รับความบริสุทธิ์โลกียจิตนั้น เป็นสังขตะธรรม
เพราะเกิดตายไปตามความรู้สึกนึกคิดต่างๆที่เข้ามาปรุงแต่งจิตครอบงำอยู่ในขณะนั้น

-ส่วนจิตที่ได้รับความบริสุทธิ์หรือโลกุตรจิตนั้น
สังขตะธรรมถูกขจัดออกไปจากจิต เผยให้เห็นความเป็นอสังขตะธรรมที่ได้รับความบริสุทธิ์



จิต เป็นสังขตธาตุ หรือ อสังขตธาตุ.... เป็นคำถามที่ท่านต้องพิจารณา ให้มาก เพราะคำตอบที่ท่านให้มานั้น แสดงว่า ท่านไม่รู้จักจิตเลย

อิอิ

ที่ต้องพิจารณาให้มาก เพราะไม่รู้จัก จิต เช่นนั้น เลย

อนุโมทนาสาธุจ้า :b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 พ.ค. 2010, 14:16 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 5
สมาชิก ระดับ 5
ลงทะเบียนเมื่อ: 03 เม.ย. 2010, 15:07
โพสต์: 313

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ภัทรพงศ์ เขียน:
จิตมีหลายชื่อ
เนื่องจากจิตมีกิจหน้าที่การงานตามที่สหชาตธรรม (เจตสิก) เกิดร่วมด้วย
นำให้เป็นไปต่างๆ จิต มีการเรียกชื่อจิตอนุโลมไปตามกิจและหน้าที่นั้น ๆ

ใน ปฏิสัมภิทาพระบาลีมหาวัคค กล่าวว่า
"ยํ จิตฺตํ มโน มานสํ หทยํ ปณฺฑรํ มนายตนํ มนินฺทริยํ วิญญาณํ วิญญาณกฺขนฺโธ ตชฺชา มโน วิญญาณธาตุ อิทํ จิตฺตํ "
คำว่า จิต มโน มนัส หทัย ปัญฑระ มนายตนะ มนินทรีย์ วิญญาณ วิญญาณขันธ์ มโนวิญญาณธาตุ เหล่านี้เป็นศัพท์เดียวกันกับจิตทั้งนั้น

จิตในพระอภิธรรม มีชื่อสำหรับเรียกขานเป็นไวพจน์แทนกันได้ถึง ๑๐ ชื่อ ดังนี้ คือ จิต,มโน,หทัย,มนัส,ปัณฑระ,มนายตนะ,มนินทรีย์,วิญญาณ,วิญญาณขันธ์,มโนวิญญาณ ธาตุ. ความหมายของจิตแต่ละคำเหล่านี้ สามารถใช้แทนกันและมีใช้กันอยู่ในภาษาธรรมะ โดยทั่วไป

สัพเพ สังขารา อนิจจา ( จิต เจตสิก รูป เป็นสังขตธรรม เป็นสิ่งที่มีเหตุปัจจัยปรุงแต่ง ไม่เที่ยง)
สัพเพ สังขารา ทุกขา (จิต เจตสิก รูป เป็นสังขตธรรม เป็นสิ่งที่มีเหตุปัจจัยปรุงแต่ง เป็นทุกข์ ทนอยู่ได้ยาก)
สัพเพ ธัมมา อนัตตา (จิต เจตสิก รูป อันเป็นสังขตธรรม และนิพพาน อันเป็นอสังขตธรรม ล้วนไม่ใช่ตัวตน)

ความเห็นว่าจิตเที่ยงระวังจะกลายเป็น สัสสตทิฏฐิ นะครับ

ผิดพลาดประการใดได้โปรดอดโทษและอโหสิกรรมด้วยครับ tongue tongue tongue


อิอิ

ทั้งเที่ยงและไม่เที่ยง ก็ไหลเทออกมาจาก จิต ละจ้าๆ

อนุโมทนาสาธุจ้า
:b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 พ.ค. 2010, 14:19 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 5
สมาชิก ระดับ 5
ลงทะเบียนเมื่อ: 03 เม.ย. 2010, 15:07
โพสต์: 313

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ธรรมภูต เขียน:
noohmairu เขียน:
อิอิ

รู้ถูก รู้ผิด เพราะไม่รู้เจ๋ยๆ ละจ้าๆ

คนบ้า ก็ ดีใจ เสียใจ เพราะไม่รู้เจ๋ยๆ ละจ้าๆ

จิตเดิมแท้ ไม่เกิด ไม่ตาย ละจ้าๆ


อนุโมทนาสาธุจ้า
:b8:


อิอิ

รู้เฉยๆนั่นหนะ เค้าเรียกว่ารู้ถูก จึงแล้วก็เฉยไว้

ที่คนบ้า ดีใจหรือเสียใจ เพราะรู้ผิดไปจากความเป็นจริง

ใช่จ้า จิตเดิมแท้จริง ไม่สูญหายเกิดตายไปไหน

แต่ส่วนใหญ่ ยังเดิมแท้ไม่จริงก็เท่านั้น

:b39:


อิอิ

ไหลตามถูก แล้ว ไหลตามเฉย เพราะไม่รู้ ละจ้าๆ

ที่คนบ้าไหลตามดีใจหรือเสียใจ เพราะไม่รู้ ละจ้าๆ

จิตเดิมแท้ รู้ ทุกสิ่งที่เคลื่อนไหว ไม่ไหลตามจริง ไม่จริง ละจ้าๆ


อนุโมทนาสาธุจ้า
:b8:


แก้ไขล่าสุดโดย noohmairu เมื่อ 18 พ.ค. 2010, 14:22, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 พ.ค. 2010, 14:26 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 5
สมาชิก ระดับ 5
ลงทะเบียนเมื่อ: 03 เม.ย. 2010, 15:07
โพสต์: 313

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
noohmairu เขียน:

สังขตธาตุ หรือ อสังขตธาตุ ก็ไหลออกมาจาก จิตละจ้าๆ
เอา..ที่ประภัสสร ออกก็เหลือแต่ จิตเดิมแท้ๆๆ ละจ้าๆ
ไม่มีกระจกเงาใส ฝุ่นจะเกาะอะไร ละจ้าๆ


สังขตะธาตุ หรือ อสังขตธาตุ ไหลออกจากจิต
อะไร คือความออกจากจิต
อะไรไหล

จิตเดิมแท้ มีจริงหรือ... มีอะไรที่ไหลออกมาได้หรือ?


อิอิ

อ้างคำพูด:
อะไร คือความไหลออกจากจิต
นี่งายๆ

อ้างคำพูด:
อะไรไหล
นี่งายๆ
อ้างคำพูด:
จิตเดิมแท้ มีจริงหรือ... มีอะไรที่ไหลออกมาได้หรือ?
นี่งายๆ

กริยาจิต เกิด ก็ไหลตามกริยาจิตไป

สังขารจิต เกิด ก็ไหลตามสังขารจิตไป

จิตเดิมแท้ รู้ ทุกสิ่งที่เคลื่อนไหว ไม่ไหลตาม ละจ้าๆ


อนุโมทนาสาธุจ้า :b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 พ.ค. 2010, 18:57 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


noohmairu เขียน:
กริยาจิต เกิด ก็ไหลตามกริยาจิตไป
สังขารจิต เกิด ก็ไหลตามสังขารจิตไป
จิตเดิมแท้ รู้ ทุกสิ่งที่เคลื่อนไหว ไม่ไหลตาม ละจ้าๆ


จิตเดิมแท้ ไหลตาม รู้ นี่เอง
อืมม์

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 พ.ค. 2010, 04:07 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 5
สมาชิก ระดับ 5
ลงทะเบียนเมื่อ: 03 เม.ย. 2010, 15:07
โพสต์: 313

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
noohmairu เขียน:
กริยาจิต เกิด ก็ไหลตามกริยาจิตไป
สังขารจิต เกิด ก็ไหลตามสังขารจิตไป
จิตเดิมแท้ รู้ ทุกสิ่งที่เคลื่อนไหว ไม่ไหลตาม ละจ้าๆ


จิตเดิมแท้ ไหลตาม รู้ นี่เอง
อืมม์


:b32: นี่งายๆ

ไหลตามสังขารจิต เช่นนั้น ไปอีกซะแล่วๆๆ ละจ้าๆ

อนุโมทนาสาธุจ้า :b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 พ.ค. 2010, 09:12 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 4
สมาชิก ระดับ 4
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ก.ย. 2009, 20:09
โพสต์: 202

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ภัทรพงศ์ เขียน:
จิตมีหลายชื่อ
เนื่องจากจิตมีกิจหน้าที่การงานตามที่สหชาตธรรม (เจตสิก) เกิดร่วมด้วย
นำให้เป็นไปต่างๆ จิต มีการเรียกชื่อจิตอนุโลมไปตามกิจและหน้าที่นั้น ๆ

● จิตในคัมภีร์พระอภิธรรม

ในคัมภีร์พระอภิธรรมนั้น จิต คือ ธรรมชาติชนิดหนึ่ง ซึ่งรู้อารมณ์

จิตเป็นตัวรู้ และ สิ่งที่ถูกจิตรู้นั้นเป็นอารมณ์
หมายความว่า จิตรู้สิ่งใด สิ่งนั้น คือ อารมณ์

อีกนัยหนึ่งแสดงไว้ว่า
จิต คือ ธรรมชาติชนิดหนึ่งที่ รับ จำ คิด รู้ ซึ่งอารมณ์

ตามคัมภีร์นี้ถือว่า เมื่อมีจิตก็ต้องมีอารมณ์ อยู่คู่กันด้วยเสมอ
จะมีจิตโดยไม่มีอารมณ์ไม่ได้
เมื่ออารมณ์เกิดขึ้น จิตจึงจะเกิด
และเมื่ออารมณ์ดับลง จิตก็ดับตามไปด้วยเสมอ

ดังพระบาลีที่มาในพระอภิธรรมว่า

"จิตฺเตตีติ จิตฺตํ อารมฺณํ วิชานาตีติ อตฺโถ แปลว่า
ธรรมชาติใดย่อมติด ธรรมชาตินั้นชื่อว่าจิต
กล่าวโดยอรรถว่า ธรรมชาติที่รู้อารมณ์คือจิต"



● จิตในพระอภิธรรมมีชื่อสำหรับเรียกขานเป็นไวพจน์แทนกันได้ ถึง ๑๐ ชื่อ ดังนี้คือ
จิต, มโน, หทัย, มนัส, ปัณฑระ, มนายตนะ,
มนินทรีย์, วิญญาณ, วิญญาณขันธ์, มโนวิญญาณธาตุ


ความหมายของจิตแต่ละคำเหล่านี้
สามารถใช้แทนกันและมีใช้กันอยู่ในภาษาธรรมะโดยทั่วไป

ดังนั้น จากเงื่อนไขของคำอธิบาย ในคัมภีร์พระอภิธรรมที่ยกมาทั้งหมดนี้
ที่ว่า มีจิตจะต้องมีอารมณ์ และจะต้องรับอารมณ์ด้วยเสมอ นั้น
ย่อมแสดงความหมายชัดเจนอยู่ในตัวแล้วว่า

ชื่อจิตที่ใช้เรียกแทนกันทั้ง ๑๐ ชื่อเหล่านี้
เป็นจิตที่ถูกอารมณ์เข้าผสมปรุงแต่ง จนผิดไปจากสภาพเดิมแล้ว
ไม่ใช่ธาตุแท้ จึงเป็น จิตสังขาร


เมื่อเป็น จิตสังขาร ก็ย่อมมีการเกิดขึ้นและดับสลายไปเป็นธรรมดา หมายความว่า
ไม่สามารถรับรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่งไว้อย่างถาวรตลอดกาลได้
เมื่อเรื่องหนึ่งดับไปจากการรับรู้แล้ว
ก็ย่อมมีเรื่องอื่นทยอยกันเข้ามาสู่จิตต่อไปอีกตามลำดับ

เพราะฉะนั้น จิตสังขารในคัมภีร์พระอภิธรรม ที่เรียกกันในนามว่า "จิต" นี้
จึงเป็น วิบากจิต (ผลของการรับรู้อารมณ์แต่ละอย่าง)เท่านั้น

ไม่ใช่ฐานรองรับบุญและกรรมใดๆ
เกิดขึ้นแล้วก็ย่อมดับไปตามอารมณ์เป็นธรรมดา

ผู้ปฏิบัติธรรมย่อมรู้อยู่เสมอ ไม่ว่าจิตชนิดใดเกิดขึ้นหรือดับไปก็ตาม

จากตัวอย่างที่ยกมาแสดงนี้ จะเห็นได้ว่า
จิตในพระอภิธรรม ซึ่งเกิดขึ้นแล้วดับไปเป็น จิตสังขาร

ส่วน จิตของผู้ปฏิบัติ นั้น ดำรงสภาพ รู้ ของ ตนเอง อยู่ตลอดทุกกาลสมัย
ไม่ได้ดับตามจิตสังขารไปด้วยแต่ประการใดทั้งสิ้น

.....................................................
ความเพียรมีผล ความพยายามมีผล
เชิญพบปะพูดคุยกับธรรมภูต


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 พ.ค. 2010, 09:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 10
สมาชิก ระดับ 10
ลงทะเบียนเมื่อ: 08 เม.ย. 2010, 08:14
โพสต์: 829

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ธรรมภูต เขียน:
ภัทรพงศ์ เขียน:
จิตมีหลายชื่อ
เนื่องจากจิตมีกิจหน้าที่การงานตามที่สหชาตธรรม (เจตสิก) เกิดร่วมด้วย
นำให้เป็นไปต่างๆ จิต มีการเรียกชื่อจิตอนุโลมไปตามกิจและหน้าที่นั้น ๆ

● จิตในคัมภีร์พระอภิธรรม

ในคัมภีร์พระอภิธรรมนั้น จิต คือ ธรรมชาติชนิดหนึ่ง ซึ่งรู้อารมณ์

จิตเป็นตัวรู้ และ สิ่งที่ถูกจิตรู้นั้นเป็นอารมณ์
หมายความว่า จิตรู้สิ่งใด สิ่งนั้น คือ อารมณ์

อีกนัยหนึ่งแสดงไว้ว่า
จิต คือ ธรรมชาติชนิดหนึ่งที่ รับ จำ คิด รู้ ซึ่งอารมณ์

ตามคัมภีร์นี้ถือว่า เมื่อมีจิตก็ต้องมีอารมณ์ อยู่คู่กันด้วยเสมอ
จะมีจิตโดยไม่มีอารมณ์ไม่ได้
เมื่ออารมณ์เกิดขึ้น จิตจึงจะเกิด
และเมื่ออารมณ์ดับลง จิตก็ดับตามไปด้วยเสมอ

ดังพระบาลีที่มาในพระอภิธรรมว่า

"จิตฺเตตีติ จิตฺตํ อารมฺณํ วิชานาตีติ อตฺโถ แปลว่า
ธรรมชาติใดย่อมติด ธรรมชาตินั้นชื่อว่าจิต
กล่าวโดยอรรถว่า ธรรมชาติที่รู้อารมณ์คือจิต"



● จิตในพระอภิธรรมมีชื่อสำหรับเรียกขานเป็นไวพจน์แทนกันได้ ถึง ๑๐ ชื่อ ดังนี้คือ
จิต, มโน, หทัย, มนัส, ปัณฑระ, มนายตนะ,
มนินทรีย์, วิญญาณ, วิญญาณขันธ์, มโนวิญญาณธาตุ


ความหมายของจิตแต่ละคำเหล่านี้
สามารถใช้แทนกันและมีใช้กันอยู่ในภาษาธรรมะโดยทั่วไป

ดังนั้น จากเงื่อนไขของคำอธิบาย ในคัมภีร์พระอภิธรรมที่ยกมาทั้งหมดนี้
ที่ว่า มีจิตจะต้องมีอารมณ์ และจะต้องรับอารมณ์ด้วยเสมอ นั้น
ย่อมแสดงความหมายชัดเจนอยู่ในตัวแล้วว่า

ชื่อจิตที่ใช้เรียกแทนกันทั้ง ๑๐ ชื่อเหล่านี้
เป็นจิตที่ถูกอารมณ์เข้าผสมปรุงแต่ง จนผิดไปจากสภาพเดิมแล้ว
ไม่ใช่ธาตุแท้ จึงเป็น จิตสังขาร


เมื่อเป็น จิตสังขาร ก็ย่อมมีการเกิดขึ้นและดับสลายไปเป็นธรรมดา หมายความว่า
ไม่สามารถรับรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่งไว้อย่างถาวรตลอดกาลได้
เมื่อเรื่องหนึ่งดับไปจากการรับรู้แล้ว
ก็ย่อมมีเรื่องอื่นทยอยกันเข้ามาสู่จิตต่อไปอีกตามลำดับ

เพราะฉะนั้น จิตสังขารในคัมภีร์พระอภิธรรม ที่เรียกกันในนามว่า "จิต" นี้
จึงเป็น วิบากจิต (ผลของการรับรู้อารมณ์แต่ละอย่าง)เท่านั้น

ไม่ใช่ฐานรองรับบุญและกรรมใดๆ
เกิดขึ้นแล้วก็ย่อมดับไปตามอารมณ์เป็นธรรมดา

ผู้ปฏิบัติธรรมย่อมรู้อยู่เสมอ ไม่ว่าจิตชนิดใดเกิดขึ้นหรือดับไปก็ตาม

จากตัวอย่างที่ยกมาแสดงนี้ จะเห็นได้ว่า
จิตในพระอภิธรรม ซึ่งเกิดขึ้นแล้วดับไปเป็น จิตสังขาร

ส่วน จิตของผู้ปฏิบัติ นั้น ดำรงสภาพ รู้ ของ ตนเอง อยู่ตลอดทุกกาลสมัย
ไม่ได้ดับตามจิตสังขารไปด้วยแต่ประการใดทั้งสิ้น


จิตในพระคัมภีร์
จิตในอภิธรรม
ยังห่างไกล

กะ

จิตในจิต

อิอิ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 พ.ค. 2010, 09:20 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 4
สมาชิก ระดับ 4
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ก.ย. 2009, 20:09
โพสต์: 202

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ภัทรพงศ์ เขียน:
ความเห็นว่าจิตเที่ยงระวังจะกลายเป็น สัสสตทิฏฐิ นะครับ


ในความหมายคำว่า “จิตเที่ยง” ที่เข้าข่ายสัสสตทิฐินั้น หมายถึง
ผู้ที่มีความเชื่อไปว่า เคยเกิดมาเป็นอย่างไร
เมื่อตายไปแล้ว ก็จะกลับมาเกิดเป็นอย่างนั้นเหมือนเดิมอีก
ไม่ว่าจะเกิด-ตายอีกกี่หนกี่ครั้ง(กี่ภพ กี่ชาติ)ก็ตาม
ก็จะกลับเกิดมาเป็นอย่างเดิมไม่มีเปลี่ยนแปลง
โดยที่บาปบุญคุณโทษไม่มีผลต่อการเกิดในแต่ละครั้ง
ซึ่งเป็นมิจฉาทิฐิ ฝ่ายสัสสตทิฐิ

ส่วนพวกที่เข้าใจว่า เมื่อตายลงไปแล้วนั้น
จิตที่บันทึกกรรมครั้งสุดท้ายที่มาประชิดจิต เป็นคติเครื่องไปสู่ภพภูมิต่างๆ
ตามกรรมดี กรรมชั่ว ที่บันทึกลงที่จิตในวาระสุดท้ายก่อนตาย
จิตที่ไปเกิดนั้น ก็เป็นจิตใครจิตเค้าที่ทำกรรมดี กรรมชั่ว
เป็นคติเครื่องไปของสัตว์(ผู้ข้องในอารมณ์)ทั้งหลาย
ความเข้าใจอย่างนี้ย่อมเป็น สัมมาทิฐิ

เหมือนน้ำที่สะอาดได้รับการปนเปื้อนจากสิ่งต่างๆ
ถ้าน้ำปนเปื้อนสิ่งที่ดี ก็ได้อยู่ในที่ๆหรือภาชนะที่ดี
ถ้าปนเปื้อนสิ่งสกปรกโสมม ก็ต้องอยู่ที่ๆหรือภาชนะที่ไม่ดี(ไม่ประณีต)

ส่วนความเข้าใจที่ว่า การไปเกิด เป็นจิตดวงใหม่
ที่ได้รับการสืบต่อจากจิตดวงเก่า เพื่อไปเกิดใหม่นั้น
เป็นพวกมิจฉาทิฐินอกพุทธศาสนา

ขอถามว่า การจะสืบต่อได้นั้น ถ้าพิจารณาตามหลักความเป็นจริงแล้ว
จิตดวงเก่าต้องยังไม่ดับในทันที เพื่อรอจิตดวงใหม่มาเกิดก่อน
จึงจะส่งต่อหรือสืบต่อกรรมดี กรรมชั่วให้ได้

เมื่อจิตเกิด-ดับไปแล้วจะเอาช่วงเวลาตรงไหน มาถ่ายทอดกรรมดี กรรมชั่วกันล่ะ
ก็อย่างที่บอกไว้ในตอนต้นว่า จิตดวงเก่ายังจะดับไปไม่ได้หรอก
ต้องรอจิตดวงใหม่เกิดขึ้นมาก่อน จึงสืบต่อกรรมดี กรรมชั่วกันได้
ซึ่งก็เป็นไปไม่ได้อีกเช่นกัน เพราะจะมีจิตพร้อมกัน ๒ ดวงในเวลาเดียวกันไม่ได้

อีกเหตุผลนึงที่รองรับว่า จิตมีดวงเดียวเท่านั้นของใครของเค้า
เพราะ อวิชชาจะเกิด-ดับไปตามจิตไม่ได้
อวิชชาจะดับได้เพียงสถานเดียวเท่านั้น คือต้องปฏิบัติสมาธิกรรมฐานภาวนา
จนกระทั่งจิตเกิดปัญญารู้เห็นตามความเป็นจริง
เมื่อวิชชาเกิดขึ้น อวิชชาจึงจะดับไปครับ
ถ้าจิตเกิด-ดับจริง อวิชชาก็ต้องเกิดดับไปตามจิตด้วยสิ ซึ่งเป็นไปไม่ได้

ดังมีพุทธวจนะรับรองไว้ว่า จิตไม่เคยดับตายหายสูญ
มีพุทธพจน์ในมหาปรินิพพานสูตร ว่าไว้ดังนี้:

“จตุนฺนํ อริยสจฺจานํ ยถาภูตํ อทสฺสนา,
สงฺสริตํ ทีฆมทฺธานํ ตาสุตาเสว ชาติสุ
ความเวียนว่ายของเรา
เข้าไปในชาติน้อยใหญ่ทั้งหลายอันยาวนานนับไม่ถ้วนนั้น
เพราะไม่เห็นอริยสัจ ๔ ตามความเป็นจริง ดังนี้”

หมายความว่า
จิตของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้เข้าไปเวียนว่าย
จากพระชาติหนึ่งไปยังอีกพระชาติหนึ่งติดต่อกันไปหลายพระชาติ
เป็นเวลาอันยาวนานนับไม่ถ้วนก่อนทรงตรัสรู้
และจิตของพระองค์ได้ยืนตัวเป็นประธานทุกชาติ
ไม่ว่าจะเปลี่ยนพระชาติไปกี่ครั้งกี่หนก็ตาม.

ทั้งนี้แสดงว่า จิตเป็นสภาพธรรมที่ไม่ได้ดับตายหายสูญ
พระพุทธองค์ทรงระลึกพระชาติได้ทุกพระชาติก่อนที่จะตรัสรู้
เป็นการแสดงให้เห็นชัดอยู่แล้วว่า
จิตดวงเดียวกันนี้ที่เวียนว่ายเข้าไปสู่ภพน้อยใหญ่อันยาวนานนับไม่ถ้วน
ถ้าเป็นจิตคนละดวงแล้ว พระองค์จะทรงระลึกชาติของจิตดวงอื่นได้หรือครับ???

:b39:

.....................................................
ความเพียรมีผล ความพยายามมีผล
เชิญพบปะพูดคุยกับธรรมภูต


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 พ.ค. 2010, 09:31 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 4
สมาชิก ระดับ 4
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ก.ย. 2009, 20:09
โพสต์: 202

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
จิต เป็นสังขตธาตุ หรือ อสังขตธาตุ


ธรรมภูต เขียน:
-ตอบไปแบบ คนที่ผ่านการปฏิบัติมาก่อน ย่อมเข้าใจได้

-จิตที่ไม่ได้รับความบริสุทธิ์โลกียจิตนั้น เป็นสังขตะธรรม
เพราะเกิดตายไปตามความรู้สึกนึกคิดต่างๆที่เข้ามาปรุงแต่งจิตครอบงำอยู่ในขณะนั้น

-ส่วนจิตที่ได้รับความบริสุทธิ์หรือโลกุตรจิตนั้น
สังขตะธรรมถูกขจัดออกไปจากจิต เผยให้เห็นความเป็นอสังขตะธรรมที่ได้รับความบริสุทธิ์



จิต เป็นสังขตธาตุ หรือ อสังขตธาตุ.... เป็นคำถามที่ท่านต้องพิจารณา ให้มาก เพราะคำตอบที่ท่านให้มานั้น แสดงว่า ท่านไม่รู้จักจิตเลย

แล้วที่ว่ารู้จักจิตหนะ ไหนบอกมาให้รู้บ้างซิว่า

ที่แท้จริงรู้อะไรบ้าง อย่าเที่ยวชี้ถูกชี้ผิด โดยไม่มีเหตุผลลองรับเลย

:b39:

.....................................................
ความเพียรมีผล ความพยายามมีผล
เชิญพบปะพูดคุยกับธรรมภูต


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 พ.ค. 2010, 09:39 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 4
สมาชิก ระดับ 4
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ก.ย. 2009, 20:09
โพสต์: 202

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


noohmairu เขียน:
ธรรมภูต เขียน:
noohmairu เขียน:
อิอิ

รู้ถูก รู้ผิด เพราะไม่รู้เจ๋ยๆ ละจ้าๆ

คนบ้า ก็ ดีใจ เสียใจ เพราะไม่รู้เจ๋ยๆ ละจ้าๆ

จิตเดิมแท้ ไม่เกิด ไม่ตาย ละจ้าๆ


อนุโมทนาสาธุจ้า
:b8:


อิอิ

รู้เฉยๆนั่นหนะ เค้าเรียกว่ารู้ถูก จึงแล้วก็เฉยไว้

ที่คนบ้า ดีใจหรือเสียใจ เพราะรู้ผิดไปจากความเป็นจริง

ใช่จ้า จิตเดิมแท้จริง ไม่สูญหายเกิดตายไปไหน

แต่ส่วนใหญ่ ยังเดิมแท้ไม่จริงก็เท่านั้น

:b39:


อิอิ

ไหลตามถูก แล้ว ไหลตามเฉย เพราะไม่รู้ ละจ้าๆ

ที่คนบ้าไหลตามดีใจหรือเสียใจ เพราะไม่รู้ ละจ้าๆ

จิตเดิมแท้ รู้ ทุกสิ่งที่เคลื่อนไหว ไม่ไหลตามจริง ไม่จริง ละจ้าๆ


อนุโมทนาสาธุจ้า
:b8:

อิอิ

ไม่รู้หนะ มีแต่คนตายเท่านั้น ส่วนไม่รู้จัก ศึกษาเพิ่มเติมได้

ที่คนบ้าไหลตามดีใจหรือเสียใจ เพราะไม่รู้ ไม่ใช่เพราะไม่รู้

รู้ผิดไปจากความเป็นจริงต่างหาก

จิตเดิมแท้นั้น รู้อยู่ที่รู้ ไม่ไหลไปอยู่กับเรื่องราวความรู้สึกนึกคิดต่างๆ จ้า

:b39:

.....................................................
ความเพียรมีผล ความพยายามมีผล
เชิญพบปะพูดคุยกับธรรมภูต


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 พ.ค. 2010, 09:43 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 4
สมาชิก ระดับ 4
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ก.ย. 2009, 20:09
โพสต์: 202

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


enlighted เขียน:
ธรรมภูต เขียน:
ภัทรพงศ์ เขียน:
จิตมีหลายชื่อ
เนื่องจากจิตมีกิจหน้าที่การงานตามที่สหชาตธรรม (เจตสิก) เกิดร่วมด้วย
นำให้เป็นไปต่างๆ จิต มีการเรียกชื่อจิตอนุโลมไปตามกิจและหน้าที่นั้น ๆ

● จิตในคัมภีร์พระอภิธรรม

ในคัมภีร์พระอภิธรรมนั้น จิต คือ ธรรมชาติชนิดหนึ่ง ซึ่งรู้อารมณ์

จิตเป็นตัวรู้ และ สิ่งที่ถูกจิตรู้นั้นเป็นอารมณ์
หมายความว่า จิตรู้สิ่งใด สิ่งนั้น คือ อารมณ์

อีกนัยหนึ่งแสดงไว้ว่า
จิต คือ ธรรมชาติชนิดหนึ่งที่ รับ จำ คิด รู้ ซึ่งอารมณ์

ตามคัมภีร์นี้ถือว่า เมื่อมีจิตก็ต้องมีอารมณ์ อยู่คู่กันด้วยเสมอ
จะมีจิตโดยไม่มีอารมณ์ไม่ได้
เมื่ออารมณ์เกิดขึ้น จิตจึงจะเกิด
และเมื่ออารมณ์ดับลง จิตก็ดับตามไปด้วยเสมอ

ดังพระบาลีที่มาในพระอภิธรรมว่า

"จิตฺเตตีติ จิตฺตํ อารมฺณํ วิชานาตีติ อตฺโถ แปลว่า
ธรรมชาติใดย่อมติด ธรรมชาตินั้นชื่อว่าจิต
กล่าวโดยอรรถว่า ธรรมชาติที่รู้อารมณ์คือจิต"



● จิตในพระอภิธรรมมีชื่อสำหรับเรียกขานเป็นไวพจน์แทนกันได้ ถึง ๑๐ ชื่อ ดังนี้คือ
จิต, มโน, หทัย, มนัส, ปัณฑระ, มนายตนะ,
มนินทรีย์, วิญญาณ, วิญญาณขันธ์, มโนวิญญาณธาตุ


ความหมายของจิตแต่ละคำเหล่านี้
สามารถใช้แทนกันและมีใช้กันอยู่ในภาษาธรรมะโดยทั่วไป

ดังนั้น จากเงื่อนไขของคำอธิบาย ในคัมภีร์พระอภิธรรมที่ยกมาทั้งหมดนี้
ที่ว่า มีจิตจะต้องมีอารมณ์ และจะต้องรับอารมณ์ด้วยเสมอ นั้น
ย่อมแสดงความหมายชัดเจนอยู่ในตัวแล้วว่า

ชื่อจิตที่ใช้เรียกแทนกันทั้ง ๑๐ ชื่อเหล่านี้
เป็นจิตที่ถูกอารมณ์เข้าผสมปรุงแต่ง จนผิดไปจากสภาพเดิมแล้ว
ไม่ใช่ธาตุแท้ จึงเป็น จิตสังขาร


เมื่อเป็น จิตสังขาร ก็ย่อมมีการเกิดขึ้นและดับสลายไปเป็นธรรมดา หมายความว่า
ไม่สามารถรับรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่งไว้อย่างถาวรตลอดกาลได้
เมื่อเรื่องหนึ่งดับไปจากการรับรู้แล้ว
ก็ย่อมมีเรื่องอื่นทยอยกันเข้ามาสู่จิตต่อไปอีกตามลำดับ

เพราะฉะนั้น จิตสังขารในคัมภีร์พระอภิธรรม ที่เรียกกันในนามว่า "จิต" นี้
จึงเป็น วิบากจิต (ผลของการรับรู้อารมณ์แต่ละอย่าง)เท่านั้น

ไม่ใช่ฐานรองรับบุญและกรรมใดๆ
เกิดขึ้นแล้วก็ย่อมดับไปตามอารมณ์เป็นธรรมดา

ผู้ปฏิบัติธรรมย่อมรู้อยู่เสมอ ไม่ว่าจิตชนิดใดเกิดขึ้นหรือดับไปก็ตาม

จากตัวอย่างที่ยกมาแสดงนี้ จะเห็นได้ว่า
จิตในพระอภิธรรม ซึ่งเกิดขึ้นแล้วดับไปเป็น จิตสังขาร

ส่วน จิตของผู้ปฏิบัติ นั้น ดำรงสภาพ รู้ ของ ตนเอง อยู่ตลอดทุกกาลสมัย
ไม่ได้ดับตามจิตสังขารไปด้วยแต่ประการใดทั้งสิ้น


จิตในพระคัมภีร์
จิตในอภิธรรม
ยังห่างไกล

กะ

จิตในจิต

อิอิ

ไหนลองขยายความหน่อยสิว่ายังห่าไกลแค่ไหน

จิตเห็นจิต

อิอิ

:b39:

.....................................................
ความเพียรมีผล ความพยายามมีผล
เชิญพบปะพูดคุยกับธรรมภูต


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 พ.ค. 2010, 13:38 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 5
สมาชิก ระดับ 5
ลงทะเบียนเมื่อ: 03 เม.ย. 2010, 15:07
โพสต์: 313

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ธรรมภูต เขียน:
enlighted เขียน:
ธรรมภูต เขียน:
● จิตในคัมภีร์พระอภิธรรม

ในคัมภีร์พระอภิธรรมนั้น จิต คือ ธรรมชาติชนิดหนึ่ง ซึ่งรู้อารมณ์

จิตเป็นตัวรู้ และ สิ่งที่ถูกจิตรู้นั้นเป็นอารมณ์
หมายความว่า จิตรู้สิ่งใด สิ่งนั้น คือ อารมณ์

อีกนัยหนึ่งแสดงไว้ว่า
จิต คือ ธรรมชาติชนิดหนึ่งที่ รับ จำ คิด รู้ ซึ่งอารมณ์

ตามคัมภีร์นี้ถือว่า เมื่อมีจิตก็ต้องมีอารมณ์ อยู่คู่กันด้วยเสมอ
จะมีจิตโดยไม่มีอารมณ์ไม่ได้
เมื่ออารมณ์เกิดขึ้น จิตจึงจะเกิด
และเมื่ออารมณ์ดับลง จิตก็ดับตามไปด้วยเสมอ

ดังพระบาลีที่มาในพระอภิธรรมว่า

"จิตฺเตตีติ จิตฺตํ อารมฺณํ วิชานาตีติ อตฺโถ แปลว่า
ธรรมชาติใดย่อมติด ธรรมชาตินั้นชื่อว่าจิต
กล่าวโดยอรรถว่า ธรรมชาติที่รู้อารมณ์คือจิต"



● จิตในพระอภิธรรมมีชื่อสำหรับเรียกขานเป็นไวพจน์แทนกันได้ ถึง ๑๐ ชื่อ ดังนี้คือ
จิต, มโน, หทัย, มนัส, ปัณฑระ, มนายตนะ,
มนินทรีย์, วิญญาณ, วิญญาณขันธ์, มโนวิญญาณธาตุ


ความหมายของจิตแต่ละคำเหล่านี้
สามารถใช้แทนกันและมีใช้กันอยู่ในภาษาธรรมะโดยทั่วไป

ดังนั้น จากเงื่อนไขของคำอธิบาย ในคัมภีร์พระอภิธรรมที่ยกมาทั้งหมดนี้
ที่ว่า มีจิตจะต้องมีอารมณ์ และจะต้องรับอารมณ์ด้วยเสมอ นั้น
ย่อมแสดงความหมายชัดเจนอยู่ในตัวแล้วว่า

ชื่อจิตที่ใช้เรียกแทนกันทั้ง ๑๐ ชื่อเหล่านี้
เป็นจิตที่ถูกอารมณ์เข้าผสมปรุงแต่ง จนผิดไปจากสภาพเดิมแล้ว
ไม่ใช่ธาตุแท้ จึงเป็น จิตสังขาร


เมื่อเป็น จิตสังขาร ก็ย่อมมีการเกิดขึ้นและดับสลายไปเป็นธรรมดา หมายความว่า
ไม่สามารถรับรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่งไว้อย่างถาวรตลอดกาลได้
เมื่อเรื่องหนึ่งดับไปจากการรับรู้แล้ว
ก็ย่อมมีเรื่องอื่นทยอยกันเข้ามาสู่จิตต่อไปอีกตามลำดับ

เพราะฉะนั้น จิตสังขารในคัมภีร์พระอภิธรรม ที่เรียกกันในนามว่า "จิต" นี้
จึงเป็น วิบากจิต (ผลของการรับรู้อารมณ์แต่ละอย่าง)เท่านั้น

ไม่ใช่ฐานรองรับบุญและกรรมใดๆ
เกิดขึ้นแล้วก็ย่อมดับไปตามอารมณ์เป็นธรรมดา

ผู้ปฏิบัติธรรมย่อมรู้อยู่เสมอ ไม่ว่าจิตชนิดใดเกิดขึ้นหรือดับไปก็ตาม

จากตัวอย่างที่ยกมาแสดงนี้ จะเห็นได้ว่า
จิตในพระอภิธรรม ซึ่งเกิดขึ้นแล้วดับไปเป็น จิตสังขาร

ส่วน จิตของผู้ปฏิบัติ นั้น ดำรงสภาพ รู้ ของ ตนเอง อยู่ตลอดทุกกาลสมัย
ไม่ได้ดับตามจิตสังขารไปด้วยแต่ประการใดทั้งสิ้น


จิตในพระคัมภีร์
จิตในอภิธรรม
ยังห่างไกล

กะ

จิตในจิต

อิอิ

ไหนลองขยายความหน่อยสิว่ายังห่าไกลแค่ไหน

จิตเห็นจิต

อิอิ

:b39:

อิอิ

ไกล.. ไกล๊.. ไกล.. ๆๆๆๆๆๆ ..

จิตในจิต

ก็เห็นๆ อยู่ ละจ้าๆ

อ้างคำพูด:
จิตคือพุทธะ หลวงปู่ดูลย์
http://www.watpanonvivek.com/index.php? ... 2-03-51-18

จิตหนึ่งนี้ เป็นสิ่งที่เราเห็นตำตาเราอยู่แท้ๆ

แต่จงลองไปใช้เหตุผล(ว่ามันเป็นอะไร เป็นต้น) กับมันเข้าดูซิ

เราจะหล่นลงไปสู่ความผิดพลาดทันที

อนุโมทนาสาธุจ้า

:b8:


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 226 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 6, 7, 8, 9, 10, 11, 12 ... 16  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 11 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร


cron