วันเวลาปัจจุบัน 28 มี.ค. 2024, 18:59  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


รวมกระทู้จากบอร์ดเก่า http://www.dhammajak.net/board/viewforum.php?f=2



กลับไปยังกระทู้  [ 7 โพสต์ ]    Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 พ.ค. 2010, 20:46 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2007, 09:55
โพสต์: 1632


 ข้อมูลส่วนตัว


จิต,จิตวิญญาญ

จิต หรือจะเรียกว่า จิตวิญญาณ ก็ได้เช่นเดียวกัน เพราะทั้งสองสิ่งในทางพุทธศาสนาถือว่า เป็นสิ่งเดียวกัน ที่ข้าพเจ้ากล่าวไป เป็นไปตามหลักความจริง ไม่ว่าจะเป็นไปตามหลักความจริงตั้งแต่ครั้งพุทธกาล จวบจนถึงเป็นไปตามหลักความจริงในยุคสมัยปัจจุบัน
จิต หรือ จิตวิญญาณ เป็นศัพท์ ภาษา ที่ใช้เรียก ส่วนที่เล็กที่สุดของอวัยวะต่างๆ ซึ่งส่วนที่เล็กที่สุดหรือจิตวิญญาณนั้นรวมตัวกัน หรือผสมผสานกัน เป็นอวัยวะต่างๆ ของร่างกายมนุษย์ (ในที่นี้หมายเอาเฉพาะมนุษย์) ซึ่งหากเป็นศัพท์ภาษาด้านวิชาการในสมัยปัจจุบัน ก็มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่ง ถึงแม้จะเรียกชื่อแตกกต่างจากกัน แต่หน้าที่ หรือสภาพสภาวะของมัน หรือการทำหน้าที่ของส่วนที่เล็กที่สุดของอวัยวะต่างๆ ก็คือ
[b]"การรับรู้อารมณ์ หรือสภาพสภาวะการรับรู้ การคิดหรือสภาพแห่งความคิด และสั่งการ อันเกิดจากการได้รับการสัมผัสทางอายตนะภายนอกร่างกาย โดยอายตนะภายในร่างกาย "[/b]

จากคำจำกัดความของจิตวิญญาณ ที่ข้าพเจ้ากล่าวไป เป็นสภาพสภาวะ หน้าที่ หรือการทำหน้าที่ หรือเป็นระบบการทำงานของส่วนที่เล็กที่สุดอันรวมกันเป็นอวัยวะของร่างกายมนุษย์ในทุกส่วน มีหัวใจ และ สมอง เป็นจุดศูนย์รวมแห่งการรับรู้อารมณ์ หรือสภาพสภาวะการรับรู้ การคิด หรือสภาพแห่งความคิด และสั่งการ อันเกิดจากการได้รับการสัมผัสทางอายตนภายนอกร่างกาย โดยอายตนะภายในร่างกาย

หัวใจ จะเป็นจุดศูนย์กลางหลัก มีสมองเป็นจุดศูนย์กลางรอง ซึ่งทั้งสอง จุดศูนย์กลาง จะทำงานร่วมกัน แยกจากกันมิได้ ถ้าหัวใจทำงานผิดปกติ เพียงเล็กน้อย ก็จะมีผลทำให้สมองทำงานผิดปกติไปด้วย และในทางกลับกัน ถ้าสมองมีการทำงานผิดปกติ หรือทำงานหนักเกินไป ก็ย่อมส่งผลให้การทำงานของหัวใจผิดปกติไปด้วย(ในที่นี้จะไม่กล่าวถึงอวัยวะอื่นๆ ซึ่งก็ย่อมมีผลต่อ ระบบ สมอง และหัวใจด้วยเช่นกัน)

การได้รับการสัมผัสจากอายตนะภายนอกร่างกาย โดย อายตนะภายในร่างกาย และเกิดสภาพแห่งการรับรู้อารมณ์ ฯลฯ และสั่งการนั้น ย่อมเป็นผลจาก สมอง และหัวใจ ตามลำดับ ในที่นี้จะไม่อธิบายในรายละเอียด แต่ให้ท่านทั้งหลายที่ใฝ่ศึกษา ได้ตรวจสอบ ทดลอง สังเกต โดยใช้หลักการทางพุทธศาสนา ก็ได้ หรือจะใช้หลักการที่ไม่ใช่ทางพุทธศาสนาก็ได้ เพราะไม่ว่าจะใช้หลักการใด ก็ล้วนเป็นหลักการแบบเดียวกันนั่นแหละ ต่างกันที่ศัพท์ภาษาที่ใช้เรียก เท่านั้น ก็จะพบความจริง ตามที่ข้าพเจ้าได้อธิบายไป ข้างต้น

จ่าสิบตรี เทวฤทธิ์ ทูลพันธ์
๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๓


แก้ไขล่าสุดโดย จ่าสิบตรี เทวฤทธิ์ เมื่อ 16 พ.ค. 2010, 21:09, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 พ.ค. 2010, 21:25 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 5
สมาชิก ระดับ 5
ลงทะเบียนเมื่อ: 03 เม.ย. 2010, 15:07
โพสต์: 313

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


sriariya เขียน:
จิต,จิตวิญญาญ

จิต หรือจะเรียกว่า จิตวิญญาณ ก็ได้เช่นเดียวกัน เพราะทั้งสองสิ่งในทางพุทธศาสนาถือว่า เป็นสิ่งเดียวกัน ที่ข้าพเจ้ากล่าวไป เป็นไปตามหลักความจริง ไม่ว่าจะเป็นไปตามหลักความจริงตั้งแต่ครั้งพุทธกาล จวบจนถึงเป็นไปตามหลักความจริงในยุคสมัยปัจจุบัน
จิต หรือ จิตวิญญาณ เป็นศัพท์ ภาษา ที่ใช้เรียก ส่วนที่เล็กที่สุดของอวัยวะต่างๆ ซึ่งส่วนที่เล็กที่สุดหรือจิตวิญญาณนั้นรวมตัวกัน หรือผสมผสานกัน เป็นอวัยวะต่างๆ ของร่างกายมนุษย์ (ในที่นี้หมายเอาเฉพาะมนุษย์) ซึ่งหากเป็นศัพท์ภาษาด้านวิชาการในสมัยปัจจุบัน ก็มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่ง ถึงแม้จะเรียกชื่อแตกกต่างจากกัน แต่หน้าที่ หรือสภาพสภาวะของมัน หรือการทำหน้าที่ของส่วนที่เล็กที่สุดของอวัยวะต่างๆ ก็คือ
[b]"การรับรู้อารมณ์ หรือสภาพสภาวะการรับรู้ การคิดหรือสภาพแห่งความคิด และสั่งการ อันเกิดจากการได้รับการสัมผัสทางอายตนะภายนอกร่างกาย โดยอายตนะภายในร่างกาย "[/b]

จากคำจำกัดความของจิตวิญญาณ ที่ข้าพเจ้ากล่าวไป เป็นสภาพสภาวะ หน้าที่ หรือการทำหน้าที่ หรือเป็นระบบการทำงานของส่วนที่เล็กที่สุดอันรวมกันเป็นอวัยวะของร่างกายมนุษย์ในทุกส่วน มีหัวใจ และ สมอง เป็นจุดศูนย์รวมแห่งการรับรู้อารมณ์ หรือสภาพสภาวะการรับรู้ การคิด หรือสภาพแห่งความคิด และสั่งการ อันเกิดจากการได้รับการสัมผัสทางอายตนภายนอกร่างกาย โดยอายตนะภายในร่างกาย

หัวใจ จะเป็นจุดศูนย์กลางหลัก มีสมองเป็นจุดศูนย์กลางรอง ซึ่งทั้งสอง จุดศูนย์กลาง จะทำงานร่วมกัน แยกจากกันมิได้ ถ้าหัวใจทำงานผิดปกติ เพียงเล็กน้อย ก็จะมีผลทำให้สมองทำงานผิดปกติไปด้วย และในทางกลับกัน ถ้าสมองมีการทำงานผิดปกติ หรือทำงานหนักเกินไป ก็ย่อมส่งผลให้การทำงานของหัวใจผิดปกติไปด้วย

การได้รับการสัมผัสจากอายตนะภายนอกร่างกาย โดย อายตนะภายในร่างกาย และเกิดสภาพแห่งการรับรู้อารมณ์ ฯลฯ และสั่งการนั้น ย่อมเป็นผลจาก สมอง และหัวใจ ตามลำดับ ในที่นี้จะไม่อธิบายในรายละเอียด แต่ให้ท่านทั้งหลายที่ใฝ่ศึกษา ได้ตรวจสอบ ทดลอง สังเกต โดยใช้หลักการทางพุทธศาสนา ก็ได้ หรือจะใช้หลักการที่ไม่ใช่ทางพุทธศาสนาก็ได้ เพราะไม่ว่าจะใช้หลักการใด ก็ล้วนเป็นหลักการแบบเดียวกันนั่นแหละ ต่างกันที่ศัพท์ภาษาที่ใช้เรียก เท่านั้น ก็จะพบความจริง ตามที่ข้าพเจ้าได้อธิบายไป ข้างต้น

จ่าสิบตรี เทวฤทธิ์ ทูลพันธ์
๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๓

อิอิ สีอานนะยะ

เทวฤทธิ์ไหลตามอาการของจิตซะแล่วๆๆ ละจ้าๆ


อนุโมทนาสาธุจ้า
:b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 พ.ค. 2010, 19:31 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2007, 09:55
โพสต์: 1632


 ข้อมูลส่วนตัว


noohmairu เขียน:
sriariya เขียน:
จิต,จิตวิญญาญ

จิต หรือจะเรียกว่า จิตวิญญาณ ก็ได้เช่นเดียวกัน เพราะทั้งสองสิ่งในทางพุทธศาสนาถือว่า เป็นสิ่งเดียวกัน ที่ข้าพเจ้ากล่าวไป เป็นไปตามหลักความจริง ไม่ว่าจะเป็นไปตามหลักความจริงตั้งแต่ครั้งพุทธกาล จวบจนถึงเป็นไปตามหลักความจริงในยุคสมัยปัจจุบัน
จิต หรือ จิตวิญญาณ เป็นศัพท์ ภาษา ที่ใช้เรียก ส่วนที่เล็กที่สุดของอวัยวะต่างๆ ซึ่งส่วนที่เล็กที่สุดหรือจิตวิญญาณนั้นรวมตัวกัน หรือผสมผสานกัน เป็นอวัยวะต่างๆ ของร่างกายมนุษย์ (ในที่นี้หมายเอาเฉพาะมนุษย์) ซึ่งหากเป็นศัพท์ภาษาด้านวิชาการในสมัยปัจจุบัน ก็มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่ง ถึงแม้จะเรียกชื่อแตกกต่างจากกัน แต่หน้าที่ หรือสภาพสภาวะของมัน หรือการทำหน้าที่ของส่วนที่เล็กที่สุดของอวัยวะต่างๆ ก็คือ
[b]"การรับรู้อารมณ์ หรือสภาพสภาวะการรับรู้ การคิดหรือสภาพแห่งความคิด และสั่งการ อันเกิดจากการได้รับการสัมผัสทางอายตนะภายนอกร่างกาย โดยอายตนะภายในร่างกาย "[/b]

จากคำจำกัดความของจิตวิญญาณ ที่ข้าพเจ้ากล่าวไป เป็นสภาพสภาวะ หน้าที่ หรือการทำหน้าที่ หรือเป็นระบบการทำงานของส่วนที่เล็กที่สุดอันรวมกันเป็นอวัยวะของร่างกายมนุษย์ในทุกส่วน มีหัวใจ และ สมอง เป็นจุดศูนย์รวมแห่งการรับรู้อารมณ์ หรือสภาพสภาวะการรับรู้ การคิด หรือสภาพแห่งความคิด และสั่งการ อันเกิดจากการได้รับการสัมผัสทางอายตนภายนอกร่างกาย โดยอายตนะภายในร่างกาย

หัวใจ จะเป็นจุดศูนย์กลางหลัก มีสมองเป็นจุดศูนย์กลางรอง ซึ่งทั้งสอง จุดศูนย์กลาง จะทำงานร่วมกัน แยกจากกันมิได้ ถ้าหัวใจทำงานผิดปกติ เพียงเล็กน้อย ก็จะมีผลทำให้สมองทำงานผิดปกติไปด้วย และในทางกลับกัน ถ้าสมองมีการทำงานผิดปกติ หรือทำงานหนักเกินไป ก็ย่อมส่งผลให้การทำงานของหัวใจผิดปกติไปด้วย

การได้รับการสัมผัสจากอายตนะภายนอกร่างกาย โดย อายตนะภายในร่างกาย และเกิดสภาพแห่งการรับรู้อารมณ์ ฯลฯ และสั่งการนั้น ย่อมเป็นผลจาก สมอง และหัวใจ ตามลำดับ ในที่นี้จะไม่อธิบายในรายละเอียด แต่ให้ท่านทั้งหลายที่ใฝ่ศึกษา ได้ตรวจสอบ ทดลอง สังเกต โดยใช้หลักการทางพุทธศาสนา ก็ได้ หรือจะใช้หลักการที่ไม่ใช่ทางพุทธศาสนาก็ได้ เพราะไม่ว่าจะใช้หลักการใด ก็ล้วนเป็นหลักการแบบเดียวกันนั่นแหละ ต่างกันที่ศัพท์ภาษาที่ใช้เรียก เท่านั้น ก็จะพบความจริง ตามที่ข้าพเจ้าได้อธิบายไป ข้างต้น

จ่าสิบตรี เทวฤทธิ์ ทูลพันธ์
๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๓

อิอิ สีอานนะยะ

เทวฤทธิ์ไหลตามอาการของจิตซะแล่วๆๆ ละจ้าๆ


อนุโมทนาสาธุจ้า
:b8:[/quote
ฮ่า ฮ่า ฮ่า แล้วเจ้า ไม่ไหลตามอาการของจิตหรืออย่างไร ไม่มีใครไม่ไหลตามอาการของจิตดอกนะ เพราะ จิต หรือ จิตวิญญาณ คือ
" การรับรู้อารมณ์ หรือสภาพสภาวะการรับรู้ การคิดหรือสภาพแห่งความคิด และสั่งการ อันเกิดจากการได้รับการสัมผัสทางอายตนะภายนอกร่างกาย โดยอายตนะภายในร่างกาย"
อนึ่ง หลายครั้งแล้วนะที่เจ้า ชอบเขียนคำว่า สีอานนะยะ แสดงออกถึงสภาพและอาการทางจิตของเจัา ผิดปกติ มีความเบี่ยงเบนจากปกติชน จะเรียกว่า มีจิตต่ำทราม ก็คงไม่ผิดนะขอรับ
เพราะคงไม่มีผู้ใดเขียนอย่างเจ้า เจ้าเข้ามาเสวนาในเวบธรรมะ เพื่ออะไรกัน เพื่อก่อกวน หรือเพื่อศึกษา หรือเพื่อคลายเครียด คลายเหงา อย่าทำตัว หรือปล่อยให้จิตอันต่ำทรามของเจ้า ทำให้เจ้าแสดงพฤติกรรม โดยการบิดเเบือน เพราะนั่นแสดงว่า แค่ชื่อที่เจ้าเขียนมา เจ้ายังบดเบือนได้ เรื่องอื่นไม่ต้องพูดถึง เจ้าไม่ประสงค์ดีต่อพุทธศษสนาเป็นแน่ ฮ่า ฮ่า อ่า


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 พ.ค. 2010, 04:11 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 5
สมาชิก ระดับ 5
ลงทะเบียนเมื่อ: 03 เม.ย. 2010, 15:07
โพสต์: 313

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


sriariya เขียน:
noohmairu เขียน:
อิอิ สีอานนะยะ

เทวฤทธิ์ไหลตามอาการของจิตซะแล่วๆๆ ละจ้าๆ


อนุโมทนาสาธุจ้า
:b8:

ฮ่า ฮ่า ฮ่า แล้วเจ้า ไม่ไหลตามอาการของจิตหรืออย่างไร ไม่มีใครไม่ไหลตามอาการของจิตดอกนะ เพราะ จิต หรือ จิตวิญญาณ คือ
" การรับรู้อารมณ์ หรือสภาพสภาวะการรับรู้ การคิดหรือสภาพแห่งความคิด และสั่งการ อันเกิดจากการได้รับการสัมผัสทางอายตนะภายนอกร่างกาย โดยอายตนะภายในร่างกาย"
อนึ่ง หลายครั้งแล้วนะที่เจ้า ชอบเขียนคำว่า สีอานนะยะ แสดงออกถึงสภาพและอาการทางจิตของเจัา ผิดปกติ มีความเบี่ยงเบนจากปกติชน จะเรียกว่า มีจิตต่ำทราม ก็คงไม่ผิดนะขอรับ
เพราะคงไม่มีผู้ใดเขียนอย่างเจ้า เจ้าเข้ามาเสวนาในเวบธรรมะ เพื่ออะไรกัน เพื่อก่อกวน หรือเพื่อศึกษา หรือเพื่อคลายเครียด คลายเหงา อย่าทำตัว หรือปล่อยให้จิตอันต่ำทรามของเจ้า ทำให้เจ้าแสดงพฤติกรรม โดยการบิดเเบือน เพราะนั่นแสดงว่า แค่ชื่อที่เจ้าเขียนมา เจ้ายังบดเบือนได้ เรื่องอื่นไม่ต้องพูดถึง เจ้าไม่ประสงค์ดีต่อพุทธศษสนาเป็นแน่ ฮ่า ฮ่า อ่า


:b32: อิอิ

อีกครั้งแล้วนะที่เจ้า เจอคำว่า สีอานนะยะ แล้วออกอาการทางจิต

แสดงสภาวะจิตหวั่นไหว มีความผิดปกติ เบี่ยงเบนจากความว่าง

จะเรียกว่ามีสติอ่อน ปัญญาอ่อน ก็ไม่ผิด ละจ้าๆ

อย่าทำตัว หรือปล่อยให้อาการของจิต ทำให้เจ้าแสดงพฤติกรรมอันอ่อนหัดในธรรม ละจ้าๆ

แค่กระทบกับชื่อที่ข้าพเจ้าเขียนมา ก็ไหลตามอาการจิตบิดเบือนซะแล่วๆๆ ละจ้าๆ


อนุโมทนาสาธุจ้า
:b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 พ.ค. 2010, 04:14 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 5
สมาชิก ระดับ 5
ลงทะเบียนเมื่อ: 03 เม.ย. 2010, 15:07
โพสต์: 313

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:

จิตคือพุทธะ หลวงปู่ดูลย์

http://www.watpanonvivek.com/index.php? ... 2-03-51-18

จิต วิญญาณ ก็เกิดมาจาก รูปนามของจักรวาล

มันเป็นมายาหลอกลวงแล้วเปลี่ยนแปลงให้คนหลง

จากรูปนามไม่มีชีวิต เปลี่ยนมาเป็นรูปนามที่มีชีวิต

จากรูปนามที่มีชีวิต มาเป็นรูปนามมีชีวิตที่มีจิตวิญญาณ

แล้วจิตวิญญาณก็เปลี่ยนแปลงแยกออกจากกัน

คงเหลือแต่ นามว่างที่ปราศจากรูป

นี้เป็นจุดสุดยอดของการหลอกลวงของรูปนาม

ต้นเหตุเกิดรูปนามของจักรวาลนั้น เป็นเหตุเกิด รูปนามพิภพ ต่างๆ

ตลอดจนดวงดาวนับ ไม่ถ้วน เพราะไม่มีที่สิ้นสุด

รูปนามพิภพต่างๆ เป็นเหตุให้เกิด รูปนามพืช

รูปนามพืชเป็นเหตุให้เกิด รูปนามสัตว์ เคลื่อนไหวได้

จึงเรียกกันว่า เป็นสิ่งมีชีวิต

ความจริง รูปนามจะมีชีวิตหรือไม่มีชีวิตมันก็เคลื่อนไหวได้

เพราะมันมีรูปกับนาม เป็นเหตุเป็นผลให้เกิดปฏิกิริยาอยู่ในตัว

ให้เคลื่อนไหวตลอดกาล และ(เกิด)การเปลี่ยนแปลง

บางอย่างเรามองด้วยตาเนื้อไม่เห็น จึงเรียกกันว่าเป็นสิ่งไม่มีชีวิต

เมื่อรูปนามของพืชเปลี่ยนมาเป็นรูปนามของสัตว์

เป็นจุดตั้งต้นชีวิตของสัตว์ และเป็นเหตุให้เกิด

จิต วิญญาณ การแสดง การเคลื่อนไหว เป็นเหตุให้เกิดกรรม



อนุโมทนาสาธุจ้า :b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 พ.ค. 2010, 05:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 3
สมาชิก ระดับ 3
ลงทะเบียนเมื่อ: 07 มี.ค. 2010, 14:54
โพสต์: 126

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ถ้าว่ากันตามข้นณ์ ๕ เวทนา สัญญา สังขาร คือจิต วิญญาณ คือเจตสิก จิตมีหน้าที่รับรู้อารมณ์ที่เข้ามากระทบ ทางอายตนะทั้ง ๖ ส่วนเจตสิกมีหน้าที่ปรุงแต่งให้เกิดความชอบใจหรือไม่ขอบใจ ครับ

อนุโมทนา ครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 พ.ค. 2010, 20:08 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2007, 09:55
โพสต์: 1632


 ข้อมูลส่วนตัว


noohmairu เขียน:
sriariya เขียน:
noohmairu เขียน:
อิอิ สีอานนะยะ

เทวฤทธิ์ไหลตามอาการของจิตซะแล่วๆๆ ละจ้าๆ


อนุโมทนาสาธุจ้า
:b8:

ฮ่า ฮ่า ฮ่า แล้วเจ้า ไม่ไหลตามอาการของจิตหรืออย่างไร ไม่มีใครไม่ไหลตามอาการของจิตดอกนะ เพราะ จิต หรือ จิตวิญญาณ คือ
" การรับรู้อารมณ์ หรือสภาพสภาวะการรับรู้ การคิดหรือสภาพแห่งความคิด และสั่งการ อันเกิดจากการได้รับการสัมผัสทางอายตนะภายนอกร่างกาย โดยอายตนะภายในร่างกาย"
อนึ่ง หลายครั้งแล้วนะที่เจ้า ชอบเขียนคำว่า สีอานนะยะ แสดงออกถึงสภาพและอาการทางจิตของเจัา ผิดปกติ มีความเบี่ยงเบนจากปกติชน จะเรียกว่า มีจิตต่ำทราม ก็คงไม่ผิดนะขอรับ
เพราะคงไม่มีผู้ใดเขียนอย่างเจ้า เจ้าเข้ามาเสวนาในเวบธรรมะ เพื่ออะไรกัน เพื่อก่อกวน หรือเพื่อศึกษา หรือเพื่อคลายเครียด คลายเหงา อย่าทำตัว หรือปล่อยให้จิตอันต่ำทรามของเจ้า ทำให้เจ้าแสดงพฤติกรรม โดยการบิดเเบือน เพราะนั่นแสดงว่า แค่ชื่อที่เจ้าเขียนมา เจ้ายังบดเบือนได้ เรื่องอื่นไม่ต้องพูดถึง เจ้าไม่ประสงค์ดีต่อพุทธศษสนาเป็นแน่ ฮ่า ฮ่า อ่า


:b32: อิอิ

อีกครั้งแล้วนะที่เจ้า เจอคำว่า สีอานนะยะ แล้วออกอาการทางจิต

แสดงสภาวะจิตหวั่นไหว มีความผิดปกติ เบี่ยงเบนจากความว่าง

จะเรียกว่ามีสติอ่อน ปัญญาอ่อน ก็ไม่ผิด ละจ้าๆ

อย่าทำตัว หรือปล่อยให้อาการของจิต ทำให้เจ้าแสดงพฤติกรรมอันอ่อนหัดในธรรม ละจ้าๆ

แค่กระทบกับชื่อที่ข้าพเจ้าเขียนมา ก็ไหลตามอาการจิตบิดเบือนซะแล่วๆๆ ละจ้าๆ


อนุโมทนาสาธุจ้า
:b8:



ฮ่า ฮ่า ฮ่า ที่แท้ เจ้ามันก็แค่ พวกสติเฟื่อง คิดเอง เออเอง เข้าใจผู้อื่น แบบคนโง่แล้วอวดฉลาด หัดตักน้ำใส่กะโหลกชะโงกดูเงาหัวตัวเองซะบ้างนะ เจ้าผู้ใช้ชื่อว่า
"โง่เหมือน.ค..จึงไม่รู้" อาจจะไม่เข้าใจเพราะ ปัญญาเจ้ามันชอบบิดเบือนเบี่ยงเบนอยู่แล้ว
คำว่า "หัดตักน้ำใส่กะฌหลกชะโงกดูเงาหัวตัวเอง" หมายความว่า หัดสนใจตัวเองและดู ความคิดที่สติเฟื่องของเจ้า แล้วแก้ไขซะ นะ อย่าแสดงความโง่ แล้วอวดฉลาดอยู่เลย ฮ่า ฮ่า ฮ่า

อีกประการที่สำคัญ เจ้าอย่าเอาคำของพระสงฆ์มาลงเลย
คนสติเพื่องอย่างเจ้าเท่านั้น ที่เห็นดีเห็นงาม อย่าให้ข้าพเจ้าเขียนคัดค้านเลย พระสงฆ์ จะอายขายขี้หน้าเปล่าๆ
กราบขออภัยต่อพระสงฆ์นะขอรับ ข้าพเจ้าไม่คัดคัานพวกท่านดอก แต่ก็เตือนไว้ว่า ให้ระลึกนึกถึงหลักความจริงเอาไว้า จะสอนอะไร ก็หัดใช้สมอง คิดพิจารณาให้ดี ฮ่า ฮ่า ฮ่า


แก้ไขล่าสุดโดย จ่าสิบตรี เทวฤทธิ์ เมื่อ 20 พ.ค. 2010, 20:21, แก้ไขแล้ว 3 ครั้ง.

แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 7 โพสต์ ] 

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 9 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร