วันเวลาปัจจุบัน 27 มี.ค. 2024, 12:12  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


อ่านนิทาน จากบอร์ดเก่า
http://www.dhammajak.net/board/viewforum.php?f=5



กลับไปยังกระทู้  [ 2252 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 147, 148, 149, 150, 151  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ม.ค. 2019, 13:37 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
สมควรแก่สกุล รู้จักปรนนิบัติสามี บัณฑิต
ทั้งหลายกล่าวคุณความดีในภรรยาของผู้นั้น ว่า
เป็นสวัสดิมงคลในภรรยาทั้งหลาย.

พระราชาผู้เป็นเจ้าชีวิต ทรงพระอิสริย-
ยศ ทรงทราบความสะอาด และความขยัน
หมั่นเพียรของราชเสวกคนใด และทรงทราบ
ราชเสวกคนใด ด้วยความเป็นผู้ไม่ร้าวรานกับ
พระองค์ และทรงทราบราชเสวกคนใดว่า มี
ความจงรักภักดีต่อพระองค์ บัณฑิตทั้งหลาย
กล่าวคุณความดีของราชเสวกนั้นๆ ว่า เป็น
สวัสดิมงคลในพระราชาทั้งหลาย.

บุคคลใดมีศรัทธา ให้ข้าวน้ำ ให้ดอกไม้
ของหอม และเครื่องลูบไล้ มีจิตเลื่อมใส
บันเทิงใจ บัณฑิตทั้งหลายกล่าวคุณข้อนั้น
ของบุคคลนั้นแล ว่าเป็นสวัสดิมงคลในสวรรค์
ทั้งหลาย.

สัตบุรุษทั้งหลาย ผู้รู้แจ้งด้วยญาณ ผู้
ยินดีแล้วในสัมมาปฏิบัติ เป็นพหูสูต แสวง
หาคุณเป็นผู้มีศีล ยังบุคคลใดให้บริสุทธิ์ด้วย
อริยธรรม บัณฑิตทั้งหลายยกย่องความดีของ
สัตบุรุษนั้น ว่า เป็นสวัสดิมงคลในท่ามกลาง
พระอรหันต์.


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ม.ค. 2019, 13:38 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า นิวาตวุตฺติ คือเป็นผู้มีความ
ประพฤติถ่อมตนแก่สัตวโลกทั้งปวง ด้วยความเป็นผู้มีจิตอ่อนโยน. บทว่า
ขนฺตา ทุรุตฺตานํ คือเป็นผู้อดกลั้นต่อถ้อยคำชั่วร้ายที่ผู้อื่นกล่าว. บทว่า
อปฺปฏิกูลวาที คือไม่กระทำการถือเอาโดยความเป็นคู่ว่า ผู้ชื่อโน้นได้

ด่าเรา ผู้ชื่อโน้นได้ประหารเรา กล่าวแต่วาจาที่สมควรแก่เหตุเท่านั้น.
บทว่า อธิวาสนํ ความว่า บัณฑิตทั้งหลายกล่าวความอดกลั้นนี้ของ
ผู้นั้น ว่าเป็นสวัสดิมงคล คือเป็นมงคลที่ปราศจากโทษ.

บทว่า สหายมิตฺเต ได้แก่ ผู้เป็นสหายด้วย ผู้เป็นทั้งสหาย
และมิตรด้วย ในบุคคล ๒ จำพวกนั้น ผู้ที่เล่นฝุ่นร่วมกันมา ชื่อว่า
สหาย ผู้ที่อยู่ร่วมกัน ๑๐ ปี ๑๒ ปี ชื่อว่าเป็นทั้งสหายและมิตร ไม่ดูหมิ่น
มิตรสหายเหล่านั้น แม้ทั้งปวงด้วยศิลปะอย่างนี้ว่า เรามีศิลปะ พวก

เหล่านี้ไร้ศิลปะ หรือด้วยสกุล กล่าวคือกุลสมบัติอย่างนี้ว่า เรามีสกุล
พวกเหล่านี้ไม่มีสกุล หรือด้วยทรัพย์อย่างนี้ว่า เรามั่งคั่ง พวกเหล่านี้
เป็นคนเข็ญใจ หรือด้วยชาติอย่างนี้ว่า เราถึงพร้อมด้วยชาติ พวก
เหล่านี้เป็นคนชาติชั่ว.

บทว่า รุจิปฺโ ได้แก่ ผู้มีปัญญาดี คือมีปัญญางาม. บทว่า
อตฺถกาเล ได้แก่ ในเมื่อมีความต้องการ คือเหตุบางอย่างเกิดขึ้น.
บทว่า มตีมา ความว่า ชื่อว่า เป็นผู้มีความรู้ปรุโปร่ง เพราะเป็น
ผู้สามารถในการกำหนดพิจารณาประโยชน์ คือสิ่งที่ต้องประสงค์ ไม่
ดูหมิ่นสหายเหล่านั้น. บทว่า สหาเยสุ ความว่า โบราณกบัณฑิต
ทั้งหลายกล่าวการไม่ดูหมิ่นสหายของผู้นั้น ว่าเป็นสวัสดิมงคลในสหาย
ทั้งหลายโดยแท้.


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ม.ค. 2019, 13:39 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ถ้าเช่นนั้น ผู้นั้น ย่อมเป็นผู้อันมงคลที่ปราศจากโทษคุ้มครอง
แล้ว ทั้งในโลกนี้และโลกหน้า ในข้อนั้น บัณฑิตพึงกล่าวความสวัสดี
เพราะอาศัยสหายผู้เป็นบัณฑิต ด้วยกุสนาลิกชาดก.

บทว่า สนฺโต ความว่า สัตบุรุษทั้งหลายผู้เป็นบัณฑิต เป็น
มิตรแท้ของผู้ใด. บทว่า สํวิสฺสฏฺ€า ได้แก่ ผู้ถึงความคุ้นเคย ด้วย
สามารถแห่งการเข้าไปสู่เรือนแล้ว ถือเอาสิ่งที่ต้องการแล้ว. บทว่า
อวิสํวาทกสฺส คือผู้มีปกติกล่าวไม่คลาดเคลื่อน. บทว่า น มิตฺตทุพฺภี

ความว่า อนึ่ง ผู้ใดเป็นผู้ไม่ประทุษร้ายมิตร. บทว่า สํวิภาคี ธเนน
คือกระทำการแบ่งปันทรัพย์ของตนให้แก่มิตร. บทว่า มิตฺเตสุ ความว่า
บัณฑิตทั้งหลายกล่าวการได้ประโยชน์ เพราะอาศัยมิตรและการแบ่งปัน
ของผู้นั้น ว่า ชื่อว่าเป็นสวัสดิมงคลในมิตรทั้งหลาย จริงอยู่ เขาผู้

อันมิตรทั้งหลายเห็นปานนี้รักษาแล้ว ย่อมถึงซึ่งความสวัสดีในข้อนั้น
บัณฑิตพึงกล่าวความสวัสดี เพราะอาศัยมิตรทั้งหลาย ด้วยชาดกทั้งหลาย
มีมหาอุกกุสชาดกเป็นต้น.

บทว่า ตุลฺยวยา ได้แก่ มีวัยเสมอกัน. บทว่า สมคฺคา
ได้แก่ อยู่ร่วมกันด้วยความปรองดอง. บทว่า อนุพฺพตา ได้แก่
ประพฤติตามใจกัน. บทว่า ธมฺมกามา ได้แก่ ชอบสุจริตธรรม ๓
ประการ. บทว่า ปชาตา ได้แก่ มีปกติยังบุตรให้คลอด คือไม่เป็น

หญิงหมัน. บทว่า ทาเรสุ ความว่า บัณฑิตทั้งหลายกล่าวว่า มาตุคาม
ผู้ประกอบด้วยคุณเหล่านี้อยู่ในเรือน ย่อมเป็นสวัสดิมงคลของสามี ใน
ข้อนั้น บัณฑิตพึงกล่าวความสวัสดีเพราะอาศัยมาตุคามผู้มีศีล ด้วยมณิ-


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ม.ค. 2019, 13:40 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
โจรชาดก สัมพุลชาดก และขัณฑหาลชาดก. บทว่า โสเจยฺยํ แปลว่า
ความเป็นผู้สะอาด. บทว่า อเทฺวชฺฌตา ความว่า ทรงทราบราชเสวก
คนใด ด้วยความเป็นผู้ไม่ร้าวรานกับพระองค์ คือด้วยความเป็นผู้ไม่
ร้าวรานเป็นใจ ๒ กับพระองค์อย่างนี้ว่า ราชเสวกนั้นจักไม่แยกกับเรา
ออกไปเป็น ๒ ฝ่าย.

บทว่า สุหทยํ มมํ ความว่า และทรงทราบราชเสวกคนใด
ว่า ราชเสวกผู้นี้มีความจงรักภักดีต่อเรา. บทว่า ราชูสุ เว ความว่า
เมื่อเป็นเช่นนั้น บัณฑิตทั้งหลายย่อมกล่าวคุณความดีของราชเสวกนั้นๆ
ที่มีอยู่ในพระราชาทั้งหลาย ว่าเป็นความสวัสดิมงคลโดยแท้. บทว่า

ททาติ สทฺโธ คือเชื่อกรรมและผลแห่งกรรมแล้วให้. บทว่า สคฺเคสุ
เว ความว่า เมื่อเป็นเช่นนั้น บัณฑิตทั้งหลายย่อมกล่าวคุณข้อนั้น
ของผู้นั้นว่า เป็นสวัสดิมงคล คือเป็นมงคลที่ปราศจากโทษในสวรรค์
คือในเทวโลก บัณฑิตพึงกล่าวอ้างข้อนั้นด้วยเรื่องเปรตและเรื่องวิมาน

เปรตให้พิสดาร. บทว่า ปุนนฺติ วทฺธา ความว่า สัตบุรุษทั้งหลาย
ผู้รู้แจ้งด้วยญาณ ยังบุคคลใดให้บริสุทธิ์ คือให้หมดจดด้วยอริยธรรม.

บทว่า สมจริยาย ได้แก่ ในสัมมาปฏิบัติ. บทว่า พหุสฺสุตา
ได้แก่ ผู้สดับมากเพื่อปฏิเวธ. บทว่า อิสโย ได้แก่ ผู้แสวงหาคุณ.
บทว่า สีลวนฺโต ได้แก่ ผู้ประกอบด้วยอริยศีล. บทว่า อรหนฺตมชฺเฌ
ความว่า บัณฑิตทั้งหลายย่อมยกย่องความดีของสัตบุรุษนั้นว่า เป็น

สวัสดิมงคล อันจะพึงได้ในท่ามกลางพระอรหันต์ จริงอยู่พระอรหันต์
ทั้งหลาย เมื่อบอกมรรคที่ตนได้แล้วให้ผู้อื่นปฏิบัติ ย่อมยังบุคคลผู้ยินดี
ให้บริสุทธิ์ด้วยอริยธรรม แม้ผู้นั้นก็เป็นพระอรหันต์เทียว.


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ม.ค. 2019, 13:41 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
พระมหาสัตว์ถือเอายอดแห่งเทศนาด้วยพระอรหัต แสดงมงคล
แปดด้วยคาถา ๘ คาถาอย่างนี้แล้ว เมื่อจะสรรเสริญมงคลเหล่านั้น จึง
กล่าวคาถาสุดท้ายว่า:-

ความสวัสดีเหล่านี้แล ผู้รู้สรรเสริญ
แล้ว มีสุขเป็นผลกำไรในโลก นรชนผู้มีปัญญา
พึงเสพความสวัสดีเหล่านั้นไว้ในโลกนี้ ก็ใน
มงคล มีประเภท คือ ทิฏฐมงคล สุตมงคล
และมุตมงคล มงคลสักนิดหนึ่งที่จะเป็นมงคล
จริงๆ ไม่มีเลย.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า น หิ มงฺคเล ความว่า ก็ใน
มงคลมีประเภท คือ ทิฏฐมงคล สุตมงคล และมุตมงคลนั้น แม้มงคล
นั้นสักนิดหนึ่ง ที่ชื่อว่าเป็นมงคลจริงๆ ไม่มีเลย ก็พระนิพพานอย่าง
เดียวเท่านั้น เป็นปรมัตถมงคลจริงๆ.

พระฤๅษีทั้งหลายสดับมงคลเหล่านั้นแล้ว พอล่วงไปได้ ๗
๘ วัน ก็พากันลาอาจารย์ไปในพระราชอุทยานนั้น พระราชาเสด็จ
ไปสำนักพระฤๅษีเหล่านั้น แล้วถามปัญหา พระฤๅษีทั้งหลายได้กล่าว
แก้มงคลปัญหา ตามทำนองที่อาจารย์บอกมาแด่พระราชา แล้วมา
ดินแดนหิมพานต์ ตั้งแต่นั้นมามงคลได้ปรากฏในโลก ผู้ที่ประพฤติใน

ข้อมงคลทั้งหลาย ตายไปได้เกิดในสวรรค์ พระโพธิสัตว์เจริญพรหม-
วิหาร ๔ พาหมู่ฤๅษีไปเกิดในพรหมโลก.

พระศาสดา ครั้นทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแสดงแล้ว ตรัสว่า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย มิใช่แต่ในบัดนี้เท่านั้น ที่เรากล่าวแก้มงคลปัญหา
แม้ในกาลก่อน เราก็กล่าวแก้มงคลปัญหามาแล้ว ดังนี้ แล้วทรง
ประชุมชาดกว่า หมู่ฤๅษีในครั้งนั้น ได้มาเป็นพุทธบริษัทในบัดนี้

อันเตวาสิกผู้ใหญ่ผู้ถามมงคลปัญหาในครั้งนั้น ได้มาเป็นพระสารีบุตร
ในบัดนี้ ส่วนอาจารย์ในครั้งนั้น ได้มาเป็นเราตถาคต ฉะนี้แล.
จบ อรรถกถามหามงคลชาดกที่ ๑๕

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ม.ค. 2019, 13:42 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
อรรถกถาฆตบัณฑิตชาดกที่ ๑๖

พระศาสดาเมื่อประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน ทรงปรารภ
กุฎุมพีลูกตาย ตรัสพระธรรมเทศนานี้ มีคำเริ่มต้นว่า อุฏฺเ€หิ กณฺห
ดังนี้.

เนื้อเรื่องเหมือนกับเรื่องมัฏฐกุณฑลีนั่นแหละ ส่วนในชาดกนี้
มีความย่อดังต่อไปนี้:-

พระศาสดาเสด็จเข้าไปหาอุบาสกนั้นแล้วตรัสถามว่า ดูก่อนอุบา-
สก ท่านเศร้าโศกถึงลูกตายหรือ ? เมื่ออุบาสกกราบทูลว่า ถูกแล้วพระ-
เจ้าข้า พระองค์จึงตรัสว่า ดูก่อนอุบาสก โบราณกบัณฑิตฟังถ้อยคำ
ของบัณฑิตแล้ว ไม่เศร้าโศกถึงลูกที่ตายไปแล้ว ผู้อันอุบาสกนั้นกราบ
ทูลอาราธนาให้ตรัสเรื่องราว จึงทรงนำเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อ
ไปนี้:-

ในอดีตกาล พระราชาทรงพระนามว่ามหาวังสะ ครองราช
สมบัติอยู่ในอสิตัญชนคร แคว้นกังสโคตรใกล้อุตราปถประเทศ พระองค์
มีพระราชโอรส ๒ พระองค์ องค์หนึ่งพระนามว่ากังสะ องค์หนึ่งพระ-
นามว่าอุปกังสะ มีพระราชธิดาองค์หนึ่งพระนามว่า เทวคัพภา ในวัน

ที่พระราชธิดานั้นประสูติ พราหมณ์ผู้ทายลักษณะพยากรณ์ไว้ว่า พระ-
โอรสที่เกิดในพระครรภ์ของพระนางเทวคัพภานั้น จักทำกังสโคตร
กังสวงศ์ให้พินาศ พระราชาไม่อาจให้สำเร็จโทษพระราชธิดาได้ เพราะ
ทรงสิเนหามาก แม้พระเชษฐาทั้งสองก็ทรงทราบเหมือนกัน พระราชา

ดำรงราชสมบัติอยู่ตลอดพระชนมายุแล้ว เสด็จสวรรคตด้วยประการฉะนี้
เมื่อพระองค์เสด็จสวรรคตแล้ว กังสราชโอรสได้เป็นพระราชา อุปกังส-
ราชโอรสได้เป็นอุปราช ทั้ง ๒ พระองค์ทรงพระดำริว่า ถ้าเราจักให้


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ม.ค. 2019, 14:02 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
สำเร็จโทษภคินี เราก็จักถูกครหาเราจักไม่ให้ภคินีนี้แก่ใครๆ จักเลี้ยง
ดูโดยไม่ให้มีสามี ดังนี้ ทั้ง ๒ พระองค์จึงให้สร้างปราสาทเสาเดียวให้
ราชธิดาอยู่ ณ ปราสาทนั้น นางทาสีนามว่านันทโคปาได้เป็นปริจาริกา
ของพระนาง ทาสนามว่าอันธกเวณฑุ ผู้เป็นสามีของนางนันทโคปา
เป็นผู้พิทักษ์รักษาพระนาง.

ครั้งนั้น พระเจ้ามหาสาครราช เสวยราชสมบัติอยู่ในอุตตร-
ปถประเทศ พระองค์มีพระราชโอรส ๒ พระองค์ องค์หนึ่งพระนาม
ว่าสาคร องค์หนึ่งพระนามว่าอุปสาคร ก็ในบรรดาพระราชโอรส ๒
พระองค์นั้น เมื่อพระชนกเสด็จสวรรคต สาครราชโอรสได้เป็นพระ
ราชา อุปสาครราชโอรสได้เป็นอุปราช อุปสาครอุปราชนั้นเป็นสหาย
ของอุปกังสอุปราช สำเร็จการศึกษาคราวเดียวกัน ในตระกูลอาจารย์
คนเดียวกัน.

อุปสาครอุปราชได้ทำมิดีมิงาม นางสนมกำนัลในของพระเจ้าพี่
สาครราช กลัวพระราชอาชญาหนีไปสำนักอุปกังสอุปราช ในแคว้น
กังสโคตร อุปกังสอุปราชพาเข้าเฝ้าพระเจ้ากังสราช พระเจ้ากังสราช
ทรงประทานยศใหญ่แก่อุปสาครอุปราช อุปสาครอุปราชเมื่อไปเฝ้า

พระราชา เห็นปราสาทเสาเดียว ซึ่งเป็นที่ประทับของพระนางเทวคัพภา
จึงถามว่านี่ที่อยู่ของใคร ครั้นทราบความนั้นแล้ว ก็มีจิตปฏิพัทธ์ใน
พระนางเทวคัพภา.

วันหนึ่ง พระนางเทวคัพภาทอดพระเนตรเห็นอุปสาครอุปราช
ไปเฝ้าพระราชาพร้อมกับอุปกังสอุปราช จึงตรัสถามว่า นั่นใคร ทรง
ทราบจากนางนันทโคปาว่า โอรสพระเจ้ามหาสาครราชพระนามว่า
อุปสาคร ก็มีจิตปฏิพัทธ์ในอุปสาครอุปราชนั้น อุปสาครอุปราชให้สิน
บนนางนันทโคปา แล้วกล่าวว่า น้องหญิง ท่านอาจที่จักพาพระนาง
เทวคัพภามาให้เราไหม ? นางนันทโคปากล่าวว่า ข้อนั้นไม่ยากดอก


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ม.ค. 2019, 14:03 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
นาย แล้วก็บอกเรื่องนั้นแก่พระนางเทวคัพภา ตามปกติพระนางก็มีจิต
ปฏิพัทธ์ในอุปสาครอุปราชอยู่แล้ว พอได้ฟังดังนั้นก็รับว่าดีแล้ว นาง
นันทโคปาให้สัญญาแก่อุปสาครอุปราชให้ขึ้นปราสาทในเวลาราตรี อุป-
สาครอุปราชได้ร่วมสังวาสกับพระนางเทวคัพภา โดยทำนองนั้นบ่อยๆ

เข้าพระนางได้ตั้งครรภ์ต่อมาข่าวพระนางทรงครรภ์ก็ได้ปรากฏขึ้น พระ-
เชษฐาทั้งสองจึงถามนางนันทโคปา นางนันทโคปาทูลขออภัยแล้ว
กราบทูลความลับนั้นให้ทรงทราบ พระเชษฐาทั้ง ๒ พระองค์ทรงทราบ
แล้ว จึงปรึกษากันว่า เราไม่อาจที่จะสำเร็จโทษน้องหญิงได้ ถ้าเธอ

คลอดพระธิดา เราจักไม่สำเร็จโทษ แต่ถ้าเป็นพระโอรส เราจักสำเร็จ
โทษเสีย แล้วประทานพระนางเทวคัพภาแก่อุปสาครอุปราช พระนาง
เทวคัพภาทรงครรภ์ครบกำหนดแล้วก็ประสูติพระธิดา พระเชษฐาทั้ง
สองทรงทราบแล้วดีพระทัย ตั้งพระนามให้พระธิดานั้นว่า อัญชนเทวี

ได้พระราชทานบ้านส่วยชื่อโภควัฒมานะแก่กษัตริย์ทั้ง ๒ อุปสาครอุป-
ราช จึงพาพระนางเทวคัพภาไปประทับ ณ โภควัฒมานคาม พระนาง
เทวคัพภาก็ทรงครรภ์อีก แม้นางนันทโคปาก็ตั้งครรภ์ในวันนั้นเหมือน
กัน เมื่อหญิงทั้งสองมีครรภ์ครบกำหนดแล้ว พระนางเทวคัพภาประสูติ

พระโอรส แม้นางนันทโคปาก็คลอดธิดาในวันเดียวกันนั่นเอง พระ-
นางเทวคัพภากลัวพระโอรสจะพินาศด้วยราชภัย จึงส่งพระโอรสไปให้
นางนันทโคปา และให้นางนันทโคปานำธิดามาให้เปลี่ยนกันเลี้ยงเงียบ.


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ม.ค. 2019, 14:03 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
อำมาตย์ทั้งหลายกราบทูลความที่พระนางเทวคัพภาประสูติแล้ว
ให้พระเชษฐาทั้ง ๒ ทรงทราบ พระเชษฐาทั้ง ๒ พระองค์นั้นตรัสถาม
ว่า ประสูติโอรสหรือธิดา เมื่อได้รับตอบว่า ธิดา จึงรับสั่งว่า ถ้าเช่นนั้น
ท่านทั้งหลายจงเลี้ยงไว้เถิด พระนางเทวคัพภาประสูติพระโอรสรวม ๑๐

องค์ นางนันทโคปาก็คลอดลูกหญิงรวม ๑๐ คน ได้เปลี่ยนให้กันเลี้ยง
ด้วยอุบายนี้ โอรสของพระนางเทวคัพภาเจริญอยู่ในสำนักนางนันท-
โคปา ลูกหญิงของนางนันทโคปาเจริญอยู่ในสำนักของพระนางเทวคัพ-
ภา ใครๆ มิได้รู้ความลับเรื่องนั้น.

โอรสองค์ใหญ่ของพระนางเทวคัพภา นามว่าวาสุเทพ องค์ที่ ๒
นามว่าพลเทพ องค์ที่ ๓ นามว่าจันทเทพ องค์ที่ ๔ นามว่าสุริยเทพ
องค์ที่ ๕ นามว่าอัคคิเทพ องค์ที่ ๖ นามว่าวรุณเทพ องค์ที่ ๗ นามว่า
อัชชุนะ องค์ที่ ๘ นามว่าปัชชุนะ องค์ที่ ๙ นามว่าฆตบัณฑิต องค์
ที่ ๑๐ นามว่าอังกุระ โอรสเหล่านั้นได้ปรากฏว่าพี่น้อง ๑๐ คนเป็น
บุตรของอันธกเวณฑุทาส.

ต่อมาโอรสเหล่านั้น ครั้นเจริญวัยแล้วมีกำลังเรี่ยวแรงมาก เป็น
ผู้หยาบช้ากล้าแข็ง พากันเที่ยวปล้นประชาชน แม้คนนำบรรณาการ
ไปถวายพระราชา ก็พากันปล้นเอาหมด ประชาชนประชุมกันร้องทุกข์
ที่พระลานหลวงว่า พี่น้อง ๑๐ คน ซึ่งเป็นบุตรของอันธกเวณฑุทาส

ปล้นแว่นแคว้น พระราชารับสั่งให้เรียกตัวอันธกเวณฑุทาสมาตรัสคุก
คามว่า เหตุไร ? เจ้าจึงปล่อยให้ลูกทำการปล้น ดังนี้ เมื่อประชาชน


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ม.ค. 2019, 14:04 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ร้องทุกข์ถึง ๒ ครั้ง ๓ ครั้งอย่างนี้ พระราชาก็ทรงคุกคามอันธกเวณฑุ
เขากลัวต่อมรณภัย ทูลขออภัยโทษกะพระราชาแล้วกราบทูลว่า ข้าแต่
พระองค์ผู้สมมติเทพ กุมารเหล่านั้นมิใช่บุตรของข้าพระองค์ เป็นโอรส
ของอุปสาครอุปราช แล้วกราบทูลความลับเรื่องนั้นให้ทรงทราบ พระ-
ราชาทรงตกพระทัย ตรัสถามอำมาตย์ทั้งหลายว่า เราจะใช้อุบายอย่างไร

จึงจักจับกุมารเหล่านั้นได้ ? เมื่อพวกอำมาตย์กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์
ผู้สมมติเทพ กุมารเหล่านั้นลำพองจิตด้วยมวยปล้ำ ข้าพระองค์จักให้ทำ
การต่อสู้ขึ้นในพระนคร แล้วให้จับกุมารเหล่านั้นผู้มาสู่สนามยุทธฆ่า
เสีย ณ ที่นั้น ดังนี้ จึงรับสั่งให้เรียกนักมวยปล้ำมา ๒ คน คนหนึ่ง

ชื่อวานุระ อีกคนหนึ่งชื่อมุฏฐิกะ แล้วให้ตีกลองประกาศทั่วพระนครว่า
จากวันนี้ไป ๗ วัน จักมีการต่อสู้ ดังนี้แล้วให้ตระเตรียมสนามต่อสู้ที่
พระลานหลวง ให้ทำสังเวียนกั้นสนามต่อสู้แล้วให้ผูกธงและแผ่นผ้า.

เสียงเล่าลือกันแซ่ไปทั่วนคร ประชาชนพากันผูกล้อเลื่อนและ
เตียงน้อยใหญ่ วานุระแลมุฏฐิกะก็มายังสนามต่อสู้ โห่ร้องคำราม
ตบมือเดินไปมาอยู่ แม้กุมารพี่น้องทั้ง ๑๐ ก็มาแล้วยื้อแย่งตามถนนขาย
อาหาร ของหอมและเครื่องย้อม แล้วนุ่งห่มผ้าสี แย่งเอาของหอมตาม

ร้านขายของหอม แลดอกไม้ตามร้านขายดอกไม้มาประดับตัวทัดดอกไม้
๒ หู โห่ร้องคำรามตบมือเข้าสนามต่อสู้ ขณะนั้นวานุระเดินตบมืออยู่
พลเทพเห็นดังนั้น จึงคิดว่า เราจะไม่ถูกต้องวานุระด้วยมือ แล้วไป
นำเชือกผูกช้างเส้นใหญ่มาแต่โรงช้าง โห่ร้องคำรามแล้วโยนเชือกไป
พันท้องวานุระ รวบปลายเชือกทั้ง ๒ เข้ากัน โห่ร้องยกขึ้นหมุนเหนือ
ศีรษะแล้วฟาดลงแผ่นดิน โยนไปนอกสังเวียน เมื่อวานุระตายแล้ว


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ม.ค. 2019, 14:05 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
พระราชารับสั่งให้มุฏฐิกะคนปล้ำทำการต่อสู้ต่อไป มุฏฐิกะลุกออกไปโห่
ร้องคำรามตบมืออยู่ พลเทพทุบมุฏฐิกะจนกระดูกละเอียด เมื่อมุฏฐิกะ
กล่าวว่า ท่านเป็นนักมวยปล้ำ ฉันไม่ใช่นักมวยปล้ำ จึงตอบว่า เรา
ไม่เข้าใจว่าท่านเป็นนักมวยปล้ำหรือไม่ใช่นักมวยปล้ำ แล้วจับมือทั้ง ๒

ฟาดลงบนแผ่นดินให้ตายแล้วโยนไปนอกสังเวียน มุฏฐิกะเมื่อจะตายได้
ตั้งความปรารถนาไว้ว่า ขอให้เราเป็นยักษ์ได้กินพลเทพ ครั้นเขาตายไป
แล้วจึงเกิดเป็นยักษ์อยู่ในดงชื่อกาฬมัตติกะ.

พระราชาเสด็จลุกขึ้นตรัสว่า ท่านทั้งหลายจงจับพี่น้องทั้ง ๑๐
คนเหล่านี้ให้ได้ ขณะนั้น วาสุเทพขว้างจักรไปตกถูกพระเศียรกษัตริย์
สองพี่น้องสิ้นพระชนม์ มหาชนพากันสะดุ้งหวาดกลัว หมอบลงแทบ
บาทของกุมารเหล่านั้นด้วยกล่าวว่า ขอพระองค์ได้เป็นที่พึ่งของพวกข้า-

พระองค์เถิด กุมารเหล่านั้นครั้นปลงพระชนม์พระเจ้าลุงทั้ง ๒ ก็ยึด
ราชสมบัติอสิตัญชนคร ยกมารดาบิดาขึ้นครองราชสมบัติแล้วปรึกษา
กันว่า เรา ๑๐ คนจักชิงราชสมบัติในชมพูทวีปทั้งหมด แล้วชวนกัน
ยกออกไปโดยลำดับ ถึงอยุชฌนครซึ่งเป็นที่ประทับของพระเจ้ากาล-

โยนกราชล้อมเมืองไว้ ทำลายค่ายพังกำแพงเข้าไปจับพระราชา ยึด
ราชสมบัติอยู่ในเงื้อมมือของตน แล้วพากันไปถึงกรุงทวาราวดี.

ก็กรุงทวาราวดีนั้นมีสมุทรตั้งอยู่ข้างหนึ่ง มีภูเขาตั้งอยู่ข้างหนึ่ง
ได้ยินว่านครนั้นมีอมนุษย์รักษา ยักษ์ผู้ยืนรักษานครนั้น เห็นปัจจามิตร
แล้วแปลงเพศเป็นลา ร้องเสียงเหมือนลา ขณะนั้น นครทั้งสิ้นก็เลื่อน
ลอยไปอยู่บนเกาะเกาะ ๑ กลางสมุทร ด้วยอานุภาพยักษ์ เมื่อพวก
ปัจจามิตรไปแล้ว นครก็กลับมาประดิษฐานตามเดิมอีก แม้คราวนั้น


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ม.ค. 2019, 16:50 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ยักษ์เพศลานั้นรู้ว่ากุมาร ๑๐ คนพี่น้องมา ก็ร้องเป็นเสียงลาขึ้น นคร
ก็เลื่อนลอยไปประดิษฐานอยู่บนเกาะ กุมารเหล่านั้นไม่เห็นนครก็พา
กันกลับ นครก็มาประดิษฐานอยู่ตามเดิมอีก กุมารเหล่านั้นกลับมาอีก
ยักษ์เพศลาก็ได้ทำเหมือนอย่างนั้นอีก กุมารเหล่านั้นเมื่อไม่อาจชิงราช-
สมบัติในกรุงทวาราวดีได้ ก็พากันไปหากัณหทีปายนดาบสนมัสการแล้ว

ถามว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลายไม่อาจชิงราชสมบัติทวาราวดี
ขอท่านได้บอกอุบายแก่พวกข้าพเจ้าสักอย่างหนึ่ง เมื่อพระดาบสบอกว่า
มีลาตัวหนึ่งเที่ยวอยู่ที่หลังคูแห่งโน้น ลานั้นเห็นพวกอมิตรแล้วร้องขึ้น
ขณะนั้น นครก็เลื่อนลอยไปเสีย ท่านทั้งหลายจงจับเท้าของลานั้น นี้
เป็นอุบายที่จะให้ท่านถึงความสำเร็จดังนี้ กุมารทั้ง ๑๐ นมัสการพระ-

ดาบส แล้วไปหมอบจับเท้าของลาวิงวอนว่า ข้าแต่นาย คนอื่นนอกจาก
ท่านเสียแล้วไม่เป็นที่พึ่งของพวกข้าพเจ้าได้ กาลเมื่อพวกข้าพเจ้ายึดนคร
ขอท่านอย่าได้ร้องขึ้นเลย ยักษ์เพศลากล่าวว่า เราไม่อาจที่จะไม่ร้อง
แต่ว่าท่าน ๔ คนจงมาก่อน จงถือเอาไถเหล็กใหญ่ๆ แล้วตอกหลัก

เหล็กใหญ่ๆ ลงกับพื้นแผ่นดิน ที่ประตูเมืองทั้ง ๔ ด้าน กาลเมื่อนครจะ
เขยื่อนขึ้นจงจับไถแล้วช่วยกันเอาโซ่เหล็กที่ผูกกับไถล่ามไว้กับหลักเหล็ก
นครจักไม่อาจลอยไปได้.

กุมารเหล่านั้นรับว่า ดีแล้ว ครั้นเวลาเที่ยงคืนนั้น ก็พากันถือ
เอาไถแล้วตอกหลักลงบนแผ่นดินที่ประตูเมืองทั้ง ๔ ด้านยืนอยู่ ขณะ
นั้น ยักษ์เพศลาก็ร้องขึ้น นครเริ่มจะเลื่อนลอย กุมารเหล่านั้นยืนอยู่
ที่ประตูเมืองทั้ง ๔ ด้าน จับไถเหล็ก ๔ คัน เอาโซ่เหล็กผูกกับไถล่าม

ไว้กับหลักเหล็ก นครก็ไม่อาจเขยื้อนขึ้นได้ ลำดับนั้น กุมาร ๑๐ พี่น้อง
ก็เข้านคร ปลงพระชนม์พระราชาแล้วยึดราชสมบัติได้ กุมารเหล่านั้น
ได้ใช้จักรปลงพระชนม์พระราชาทั้งหมดในนคร ๖ หมื่น ๓ พันนคร
แล้วมารวมกันอยู่ที่กรุงทวาราวดี แบ่งราชสมบัติเป็น ๑๐ ส่วน แต่หา

ทันนึกถึงอัญชนเทวีเชษฐภคินีไม่ ต่อมานึกขึ้นได้จึงปรึกษากันใหม่ว่า
จะแบ่งเป็น ๑๑ ส่วน อังกุรกุมารพูดขึ้นว่า ท่านทั้งหลายจงให้ส่วนของ
เราแก่อัญชนเทวีเชษฐภคินีเถิด เราจะทำการค้าขายเลี้ยงชีพ แต่ท่าน
ทั้งหลายต้องแบ่งส่วยในชนบทของตนให้แก่เราทุกๆ คน พี่น้อง ๙ องค์
รับว่า ดีแล้ว ดังนี้แล้วมอบราชสมบัติส่วนของอังกุรกุมารให้แก่อัญชน-


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ม.ค. 2019, 16:51 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
เทวีเชษฐภคินี ได้เป็นพระราชา ๙ องค์กับเชษฐภคินี อยู่ด้วยกันใน
กรุงทวาราวดี ส่วนน้องกุรกุมารได้ทำการค้าขาย.

เมื่อพระราชาพี่น้องเหล่านั้นเจริญด้วยบุตรธิดาต่อๆ มาอีกอย่างนี้
ครั้นกาลล่วงไปนาน พระราชมารดาบิดาก็สิ้นพระชนม์ลง ได้ยินว่า
อายุกาลของมนุษย์ในครั้งนั้นถึง ๒๐,๐๐๐ ปี ครั้งนั้น พระปิโยรสองค์
๑ ของวาสุเทพมหาราชสิ้นพระชนม์ พระราชาทรงแต่เศร้าโศกละ

สรรพกิจเสีย นอนกอดแคร่พระแท่นบ่นเพ้ออยู่ กาลนั้น ฆตบัณฑิตคิด
ว่า เว้นเราเสียแล้ว คนอื่นใครเล่าชื่อว่าสามารถกำจัดความโศกของพี่
ชายเราย่อมไม่มี เราจักใช้อุบายกำจัดความโศกของพี่ชาย คิดดังนี้แล้ว

จึงทำเป็นคนบ้าแหงนดูอากาศเดินบ่นไปทั่วเมืองว่า ท่านจงให้กระต่าย
แก่เรา ท่านจงให้กระต่ายแก่เรา ดังนี้ ข่าวเล่าลือกันไปทั่วเมืองว่า ฆต-
บัณฑิตเป็นบ้าเสียแล้ว.

เวลานั้น อำมาตย์ชื่อโรหิเณยยะไปเฝ้าพระเจ้าวาสุเทพ เมื่อจะ
เริ่มสนทนากับพระองค์ ได้กล่าวคาถาที่ ๑ ว่า:-
ข้าแต่พระองค์ผู้กัณหวงศ์ ขอพระองค์
จงเสด็จลุกขึ้นเถิด จะมัวทรงบรรทมอยู่ทำไม
ความเจริญอะไรจะมีแก่พระองค์ด้วยพระสุบิน
เล่า พระภาดาของพระองค์แม้ใด เสมอด้วย

พระหฤทัย และเสมอด้วยพระเนตรข้างขวา
ลมได้กระทบดวงหทัยของพระภาดานั้น ข้าแต่
พระองค์ผู้มีพระเกศางาม ฆตบัณฑิตทรงเพ้อไป.

โรหิเณยยะอำมาตย์ ทูลทักทายด้วยโคตรว่า ข้าแต่พระองค์ผู้
กัณหวงศ์ ในคาถานั้น นัยว่าพระวาสุเทพนั้น มีโคตรว่ากัณหายนะ.
บทว่า โก อตฺโถ คือ ความเจริญชื่ออะไร. บทว่า หทยํ จกฺขุฺจ
ทกฺขิณํ ความว่า เสมอด้วยพระหฤทัยด้วย เสมอด้วยพระเนตรข้างขวา
ด้วย. บทว่า ตสฺส วาตา พลิยฺยนฺติ ความว่า ลมกระทบดวงหทัย

ของพระภาดานั่งอยู่ ณ ที่นี้. บทว่า ชปฺปติ คือ ทรงเพ้อไปว่า ท่าน
ทั้งหลายจงให้กระต่ายแก่เรา. บทว่า เกสว ความว่า ได้ยินว่าพระเจ้า
วาสุเทพนั้น ทรงปรากฏพระนามว่า เกสว เพราะทรงมีพระเกษางาม.
โรหิเณยยะอำมาตย์ ทูลทักทายพระเจ้าวาสุเทพด้วยพระนามนั้น.


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ม.ค. 2019, 16:51 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
เมื่ออำมาตย์ทูลอย่างนี้แล้ว พระศาสดาผู้ตรัสรู้แล้ว ทรงทราบ
ความที่ฆตบัณฑิตมีจิตมั่นคง จึงตรัสพระคาถาที่ ๒ ว่า:-
พระเจ้าเกสวราช ทรงสดับคำของโรหิ-
เณยยะอำมาตย์นั้นแล้ว อัดอั้นพระหฤทัยด้วย
ความโศกถึงพระภาดา มีพระวรกายกระสับ
กระส่ายเสด็จลุกขึ้น.

พระราชาเสด็จลุกขึ้น รีบเสด็จลงจากปราสาทไปหาฆตบัณฑิต
จับหัตถ์ทั้ง ๒ ไว้แน่น เมื่อจะเจรจากับฆตบัณฑิต ได้กล่าวคาถา
ที่ ๓ ว่า:-

เหตุไรหนอ เจ้าจึงเป็นเหมือนคนบ้า
เที่ยวบ่นเพ้ออยู่ทั่วนครทวาราวดีนี้ว่า กระต่าย
กระต่าย ใครเขาลักกระต่ายของเจ้าไปหรือ ?
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า เกวลํ ทฺวารกํ อิมํ ความว่า พระ-
ราชาตรัสถามว่า เพราะเหตุไรเจ้าจึงเป็นดังคนบ้า เที่ยวบ่นเพ้ออยู่ทั่ว
ทวาราวดีนครนี้ว่า กระต่าย กระต่าย ใครมาลักเอากระต่ายของเจ้าไป
หรือ ? คือกระต่ายของเจ้าใครลักไปแล้วหรือ ?

เมื่อพระราชาตรัสอย่างนี้แล้ว ฆตบัณฑิตก็ยังตรัสคำนั้นแหละ
อยู่บ่อยๆ พระราชาจึงตรัส ๒ คาถาอีกว่า:-
เจ้าอยากได้กระต่ายทอง กระต่ายเงิน
กระต่ายแก้วมณี กระต่ายสังขศิลา หรือกระ
ต่ายแก้วประพาฬประการใด เจ้าจงบอกแก่เรา
เราจักให้เขาทำให้เจ้า ถ้าแม้เจ้าไม่ชอบกระต่าย
เหล่านี้ ฝูงกระต่ายป่าอื่นๆ มีอยู่ในป่า เราจัก
ให้เขานำเอากระต่ายเหล่านั้นให้เจ้า เจ้าต้อง
การกระต่ายชนิดไรเล่า ?
พึงทราบความย่อในพระคาถานั้น ดังนี้.


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ม.ค. 2019, 13:45 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:

ขออนุโมทนา สาธุ บุญกับทุกท่าน
ที่ติดตามอ่านมาโดยตลอด หวังว่าคงจะ
เกิดประโยชน์ในการนำไปใช้ในชีิวิตประจำ
วันบ้างไม่มากก็น้อย

:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 2252 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 147, 148, 149, 150, 151  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 0 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร