วันเวลาปัจจุบัน 24 ก.ค. 2025, 08:49  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 228 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 7, 8, 9, 10, 11, 12, 13 ... 16  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ก.ค. 2013, 16:06 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5019


 ข้อมูลส่วนตัว


:b1:

:b8: :b8: :b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ก.ค. 2013, 16:07 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
Waliporn
พิจารณาใหม่ ศึกษาใหม่
วิญญาณขันธ์หมวดละ ๑ คือ วิญญาณขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต..........
ไม่ว่า วิญญาณขันธ์ 5 หรือ วิญญาณ 6 ก็เรื่องเดียวกัน
ที่ mark สี ไว้ เป็นความเข้าใจผิดที่ waliaporn ต้องทบทวนใหม่


วิญญานขันธ์ไม่ใช่ผัสสสัมปยุต ตัวที่เป็นผัสสสัมปยุตคือ......วิญญาน

วิญญานเป็นคนละสภาวะกับวิญญานขันธ์

วิญญานเป็นสภาพรู้อารมรณ์ อันได้แก่ ผัสสะ รูป เวทนา สัญญา สังขาร
และรู้ธัมมารมณ์อันเป็นสัญญาของ นามทั้งห้าที่กล่าวมาข้างต้น
เราเรียกตัวรู้อารมณ์ทั้งหมดว่า ......วิญญาน๖

ส่วนวิญญานขันธ์เกิดจาก วิญญานไปรู้รูป แล้วยึดมั่นรูปไว้จนเกิดเป็น รูปขันธ์และวิญญานขันธ์
การเกิดการกระทบหรือเกิดผัสสะครั้งเดียว ย่อมเกิดวิญญานขันธ์เพียงครั้งเดียว(ยังมีขันธ์ตัวอื่นประกอบด้วย)

มาทางไหนกลับไปทางนั้น โฮฮับ มามั่วแถวนี้อีกล่ะ
Quote Tipitaka:
วิญญาณขันธ์ เป็นไฉน
[๗๔] วิญญาณขันธ์หมวดละ ๑ คือ วิญญาณขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต
http://84000.org/tipitaka/pitaka3/v.php?B=35&A=1240&Z=1498

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ก.ค. 2013, 17:54 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 ธ.ค. 2012, 15:49
โพสต์: 932


 ข้อมูลส่วนตัว


ศึกษาธรรมะ ศึกษาคำแต่งใหม่กันซะ ง่ายๆชนเหล่าใดบริโภคกายคตาสติชนเหล่านั้นบริโภคอมตะธรรม


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 ก.ค. 2013, 00:44 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


walaiporn เขียน:
eragon_joe เขียน:
มันมี สภาวะที่เหมาะสม ที่จะพิจารณาอายตนะ
สภาวะที่อายตนะจะปรากฎ...และ...แสดงตามหน้าที่...เราพิจารณาตรงนั้น

เมื่อ ซาก ไม่ปรากฎอายตนะ
เมื่อ ซาก ไม่ปรากฎลักษณะแห่งอายตนะ
เราพิจารณา การเกิด-ดับ ของอายตน ในสิ่งที่ไม่ปรากฎอายตนะ ได้ด้วยหรือ...

:b1:




เหตุปัจจัย สร้างมาไม่เหมือนกันน่ะ

วลัยพร เป็นคนมองอะไรง่ายๆ คือ ตามที่เห็น มองแค่ว่า มีชีวิต กับไม่มีชีวิต

ตายแล้ว ก็แค่ซาก อายตนะ จะทำงานได้ไง มองแค่นั้น


ส่วนเรื่อง เกิด-ดับ อะไรนั่น มองตรงเวลา ผัสสะเกิด มองตรงนั้น รู้ที่ใจ แล้วก็เห็นเองแหละ ขณะที่กำลังเกิด เกิดอยู่ จนกระทั่งดับไป

หรือ เกิดนาน แล้วจึงดับ

หรือ เกิดสั้นๆ แล้วดับ

หรือ เกิดแล้ว ดับทันที

อันนี้ ก็แล้วแต่เหตุปัจจัยอีกน่ะแหละ

รู้แบบนี้ รู้ที่ตัวเอง จบที่ตัวเอง ไม่สร้างเหตุออกไป

ทำให้รู้ว่า ณ ขณะนั้นๆ ได้เกิดความรู้สึกนึกคิด แม้กระทั่ง อาการที่เกิดทางกาย ว่ามีปฏิกิริยาอย่างไรบ้าง หากสติทัน สมาธิดี ก็รู้หมด


บอกตามตรง วลัยพร ไม่ได้สนใจเรื่อง เกิด-ดับอะไร นี่หรอก

สนใจแค่ว่า รู้แล้ว หยุดทันไหม หรือปล่อยตามใจกิเลส โดยการแสดงการกระทำออกไปทาง วจีกรรมบ้าง กายกรรมบ้าง


หากใครสนใจคิดพิจรณาเรื่องเกิด-ดับ อันนี้ ก็ไม่เป็นไรนะ

เพราะ แบบไหนๆก็ได้ วิธีการรูปแบบใดๆก็ได้ เนื่องจาก เหตุปัจจัยสร้างมาไม่เหมือนกัน

หากคิดว่า รู้ รู้แล้ว หยุดการสร้างเหตุของการเกิดภพชาติใหม่ได้ ใช้ได้ทั้งนั้นแหละ

การเกิดดับของธรรมเป็นธรรมชาติอยู่แล้ว มีเหตุเกิดมีผัสสะเกิด มีผลแค่2 อย่างเองครับ คือ จิตปรุงแต่ง หรือไม่ปรุงแต่ง ไม่ว่าจะพิจารณาในแนวใดก็ต้องมาเข้าสู่การเกิดดับของธรรมอยู่ดี หากไม่เห็นการเกิดดับของธรรม จิตจะรู้ความจริงได้อย่างไร จิตรู้ความจริงของธรรมโดยอาศัยเหตุที่เป็นไปตามธรรมชาติคือพระไตรลักษณ์ เมื่อรู้เท่าทันความจริงแล้ว จิตจะปล่อยวางเองครับ ไม่ต้องไปบังคับหรือพยายามหยุด แต่เมื่อจิตปรุงแต่งเกิดแล้วนั่นแหละครับ จึงจะเข้าสู่การเข้าไปบังคับ คือ การไม่สร้างโดย กาย วาจา ใจ

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 ก.ค. 2013, 00:50 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


eragon_joe เขียน:
มันมี สภาวะที่เหมาะสม ที่จะพิจารณาอายตนะ
สภาวะที่อายตนะจะปรากฎ...และ...แสดงตามหน้าที่...เราพิจารณาตรงนั้น
เพื่อเข้าถึงแง่ เกิด-ดับ แห่งอายตนะ

เมื่อ ซาก ไม่ปรากฎอายตนะ
เมื่อ ซาก ไม่ปรากฎลักษณะแห่งอายตนะ
เราพิจารณา การเกิด-ดับ ของอายตน ในสิ่งที่ไม่ปรากฎอายตนะ ได้ด้วยหรือ...

:b1:

ซาก เป็นผลครับ ไม่ใช่เหตุ คือ ไม่มีการสร้างเหตุอีกต่อไป แต่ยังคงรับผลอยู่ เพราะยังอยู่ในธรรมชาติ คือ ภายใต้กฎพระไตรลักษณ์

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 ก.ค. 2013, 03:15 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
Waliporn
พิจารณาใหม่ ศึกษาใหม่
วิญญาณขันธ์หมวดละ ๑ คือ วิญญาณขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต..........
ไม่ว่า วิญญาณขันธ์ 5 หรือ วิญญาณ 6 ก็เรื่องเดียวกัน
ที่ mark สี ไว้ เป็นความเข้าใจผิดที่ waliaporn ต้องทบทวนใหม่


วิญญานขันธ์ไม่ใช่ผัสสสัมปยุต ตัวที่เป็นผัสสสัมปยุตคือ......วิญญาน

วิญญานเป็นคนละสภาวะกับวิญญานขันธ์

วิญญานเป็นสภาพรู้อารมรณ์ อันได้แก่ ผัสสะ รูป เวทนา สัญญา สังขาร
และรู้ธัมมารมณ์อันเป็นสัญญาของ นามทั้งห้าที่กล่าวมาข้างต้น
เราเรียกตัวรู้อารมณ์ทั้งหมดว่า ......วิญญาน๖

ส่วนวิญญานขันธ์เกิดจาก วิญญานไปรู้รูป แล้วยึดมั่นรูปไว้จนเกิดเป็น รูปขันธ์และวิญญานขันธ์
การเกิดการกระทบหรือเกิดผัสสะครั้งเดียว ย่อมเกิดวิญญานขันธ์เพียงครั้งเดียว(ยังมีขันธ์ตัวอื่นประกอบด้วย)

มาทางไหนกลับไปทางนั้น โฮฮับ มามั่วแถวนี้อีกล่ะ
Quote Tipitaka:
วิญญาณขันธ์ เป็นไฉน
[๗๔] วิญญาณขันธ์หมวดละ ๑ คือ วิญญาณขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต
http://84000.org/tipitaka/pitaka3/v.php?B=35&A=1240&Z=1498


ตลกจริงๆ ปากอ้าง"พุทธวจน" แต่ดันเอาพระอภิธรรมปิฎกมาแย้ง
สรุปยอมรับพระอภิธรรมปิฎกแล้วใช่มั้ย :b9:

เช่นนั้นเอาพระอภิธรรมปิฎกมาอ้าง ผมก็ไม่ได้ว่าอะไรหรอก
แต่เนื้อหาที่เอามาอ้างมันทำให้ผมตลกซ้ำสอง นั้นก็คือความไร้เดียงสาของเช่นนั้น

พระอภิธรรมที่เอามาอ้าง มันเป็นคนล่ะเรื่อง ที่เจ๊วไลพรแกกล่าวอ้าง เป็นวิญญานหก
ไม่ใช่วิญญานขันธ์ วิญญานหกด ต้องอ้างสูตรบทนี้.....
[๓๐๖] หมวดวิญญาณ ๖
๑. จักขุวิญญาณ [ความรู้สึกอาศัยตา
๒. โสตวิญญาณ [ความรู้สึกอาศัยหู
๓. ฆานวิญญาณ [ความรู้สึกอาศัยจมูก
๔. ชิวหาวิญญาณ [ความรู้สึกอาศัยลิ้น
๕. กายวิญญาณ [ความรู้สึกอาศัยกาย
๖. มโนวิญญาณ [ความรู้สึกอาศัยใจ

http://84000.org/tipitaka/read/byitem.p ... agebreak=0

แล้วที่อ้างวิญญานขันธ์เป็นผัสสสัมปยุตน่ะ ...ความหมายก็คือ
วิญญานขันธ์มีผัสสะเป็นปัจจัย


ผัสสะสัมปยุต ก็คือ สัมปยุตปัจจัยของ อายตนภายนอก+อายตนภายใน+วิญญาน


ผัสสะมีเหตุปัจจัยมาจาก อายตนภายนอก+อายตนภายใน+วิญญาน
กล่าวได้ว่า ผัสสะเกิดจาก อายตนภายนอก...อายตนภายในและวิญญาน มาสัมปยุตกัน

ด้วยเหตุนี้ วิญญานขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต
หมายถึง วิญญานขันธ์ มีเหตุปัจจัยมาจาก...อายตนภายนอก+อายตนภายใน+วิญญาน


วิญญานกับวิญญานขันธ์จึงเป็นธรรมคนล่ะต้วกัน


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 ก.ค. 2013, 06:43 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


ถ้าเป็นสมการที่โฮยกมา.....จะวิญญาณ (ไม่เขียนว่าขันธ์ต่อท้าย) หรือ...วิญญาณขันธ์....ก็อันเดียวกัน


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 ก.ค. 2013, 07:50 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5976

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
walaiporn เขียน:
eragon_joe เขียน:
มันมี สภาวะที่เหมาะสม ที่จะพิจารณาอายตนะ
สภาวะที่อายตนะจะปรากฎ...และ...แสดงตามหน้าที่...เราพิจารณาตรงนั้น

เมื่อ ซาก ไม่ปรากฎอายตนะ
เมื่อ ซาก ไม่ปรากฎลักษณะแห่งอายตนะ
เราพิจารณา การเกิด-ดับ ของอายตน ในสิ่งที่ไม่ปรากฎอายตนะ ได้ด้วยหรือ...

:b1:




เหตุปัจจัย สร้างมาไม่เหมือนกันน่ะ

วลัยพร เป็นคนมองอะไรง่ายๆ คือ ตามที่เห็น มองแค่ว่า มีชีวิต กับไม่มีชีวิต

ตายแล้ว ก็แค่ซาก อายตนะ จะทำงานได้ไง มองแค่นั้น


ส่วนเรื่อง เกิด-ดับ อะไรนั่น มองตรงเวลา ผัสสะเกิด มองตรงนั้น รู้ที่ใจ แล้วก็เห็นเองแหละ ขณะที่กำลังเกิด เกิดอยู่ จนกระทั่งดับไป

หรือ เกิดนาน แล้วจึงดับ

หรือ เกิดสั้นๆ แล้วดับ

หรือ เกิดแล้ว ดับทันที

อันนี้ ก็แล้วแต่เหตุปัจจัยอีกน่ะแหละ

รู้แบบนี้ รู้ที่ตัวเอง จบที่ตัวเอง ไม่สร้างเหตุออกไป

ทำให้รู้ว่า ณ ขณะนั้นๆ ได้เกิดความรู้สึกนึกคิด แม้กระทั่ง อาการที่เกิดทางกาย ว่ามีปฏิกิริยาอย่างไรบ้าง หากสติทัน สมาธิดี ก็รู้หมด


บอกตามตรง วลัยพร ไม่ได้สนใจเรื่อง เกิด-ดับอะไร นี่หรอก

สนใจแค่ว่า รู้แล้ว หยุดทันไหม หรือปล่อยตามใจกิเลส โดยการแสดงการกระทำออกไปทาง วจีกรรมบ้าง กายกรรมบ้าง


หากใครสนใจคิดพิจรณาเรื่องเกิด-ดับ อันนี้ ก็ไม่เป็นไรนะ

เพราะ แบบไหนๆก็ได้ วิธีการรูปแบบใดๆก็ได้ เนื่องจาก เหตุปัจจัยสร้างมาไม่เหมือนกัน

หากคิดว่า รู้ รู้แล้ว หยุดการสร้างเหตุของการเกิดภพชาติใหม่ได้ ใช้ได้ทั้งนั้นแหละ



การเกิดดับของธรรมเป็นธรรมชาติอยู่แล้ว มีเหตุเกิดมีผัสสะเกิด มีผลแค่2 อย่างเองครับ คือ จิตปรุงแต่ง หรือไม่ปรุงแต่ง ไม่ว่าจะพิจารณาในแนวใดก็ต้องมาเข้าสู่การเกิดดับของธรรมอยู่ดี

หากไม่เห็นการเกิดดับของธรรม จิตจะรู้ความจริงได้อย่างไร จิตรู้ความจริงของธรรมโดยอาศัยเหตุที่เป็นไปตามธรรมชาติคือพระไตรลักษณ์ เมื่อรู้เท่าทันความจริงแล้ว จิตจะปล่อยวางเองครับ ไม่ต้องไปบังคับหรือพยายามหยุด แต่เมื่อจิตปรุงแต่งเกิดแล้วนั่นแหละครับ จึงจะเข้าสู่การเข้าไปบังคับ คือ การไม่สร้างโดย กาย วาจา ใจ




แน่ใจหรือคะ?

บอกแล้ว เหตุปัจจัย สร้างมาไม่เหมือนกัน

ถ้าคุณยืนยันว่าต้องเห็นหรือเป็นแบบนั้น ที่กล่าวว่า

"หากไม่เห็นการเกิดดับของธรรม จิตจะรู้ความจริงได้อย่างไร"

งั้นอ่านคำสอนของพระพุทธเจ้า ที่ทรงตรัสไว้นะคะ หาอ่านดู เรื่อง ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม



เมื่อผัสสะเกิด เป็นเหตุให้ เกิดความรู้สึกนึกคิดต่างๆนานา แต่ไม่สร้างเหตุออกไป ตามความรู้สึกนึกคิดที่เกิดขึ้น ซึ่งเป็นการปฏิบัติธรรมเหมือนกัน


ฝ่ายเหตุ


walaiporn เขียน:
ปฏิบัติสมควรแก่ธรรม/หยุดสร้างเหตุนอกตัว

ภิกษุ ท. ! ธาตุที่สามารถสลัดซึ่งสิ่งที่ควรสลัด (นิสฺสารณิยธาตุ) ๕
อย่างเหล่านี้ มีอยู่. ห้าอย่างอย่างไรเล่า ?

ห้าอย่างคือ :-

ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้คือ เมื่อภิกษุ กระทำในใจอยู่ซึ่งกามทั้งหลาย,
จิตก็ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ตั้งอยู่ ไม่น้อมไป ในกามทั้งหลาย ;

แต่เมื่อภิกษุนั้น กระทำในใจอยู่ซึ่งเนกขัมมะ,
จิตก็แล่นไป ก็เลื่อมใส ก็ตั้งอยู่ ก็น้อมไป ในเนกขัมมะ.

จิตของเธอนั้น ชื่อว่าถึงดี อบรมดี ออกดี หลุดพ้นดีปราศจาก กามทั้งหลายด้วยดี ;
และเธอนั้นหลุดพ้นแล้ว จากอาสวะทั้งหลายอันทำ ความคับแค้นและเร่าร้อน
ที่เกิดเพราะกามเป็นปัจจัย ; เธอก็ไม่ต้องเสวยเวทนานั้น.

อาการอย่างนี้ นี้ เรากล่าวว่า ธาตุเป็นเครื่องสลัดเสียซึ่งกามทั้งหลาย.
ภิกษุ ท. ! ข้ออื่นยังมีอีก,
คือ เมื่อภิกษุ กระทำในใจอยู่ซึ่งพ๎ยาบาท,
จิตก็ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ตั้งอยู่ ไม่น้อมไป ในพ๎ยาบาท;

แต่เมื่อภิกษุนั้น กระทำในใจอยู่ซึ่งอัพ๎ยาบาท,
จิตก็แล่นไป ก็เลื่อมใส ก็ตั้งอยู่ ก็น้อมไป ในอัพ๎ยาบาท.

จิตของเธอนั้น ชื่อว่าถึงดี อบรมดี ออกดี หลุดพ้นดี ปราศจากพ๎ยาบาทด้วยดี;
และเธอนั้นหลุดพ้นจากอาสวะทั้งหลาย อันทำความคับแค้น และเร่าร้อน
ที่เกิดเพราะพ๎ยาบาทเป็นปัจจัย; เธอก็ไม่ต้องเสวยเวทนานั้น.

อาการอย่างนี้ นี้ เรากล่าวว่า ธาตุเป็นเครื่องสลัดเสียซึ่งพ๎ยาบาท.

ภิกษุ ท. ! ข้ออื่นยังมีอีก,
คือ เมื่อภิกษุ กระทำในใจอยู่ซึ่งวิหิงสา,
จิตก็ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ตั้งอยู่ ไม่น้อมไป ในวิหิงสา ;

แต่เมื่อภิกษุนั้น กระทำในใจอยู่ซึ่งอวิหิงสา,
จิตก็แล่นไป ก็เลื่อมใส ก็ตั้งอยู่ ก็น้อมไป ในอวิหิงสา,

จิตของเธอนั้น ชื่อว่าถึงดี อบรมดี ออกดี หลุดพ้นดี ปราศจาก วิหิงสาด้วยดี;
และเธอนั้นหลุดพ้นแล้ว จากอาสวะทั้งหลาย อันทำความคับแค้น และเร่าร้อน
ที่เกิดเพราะวิหิงสาเป็นปัจจัย; เธอก็ไม่ต้องเสวยเวทนานั้น.

อาการอย่างนี้ นี้เรากล่าวว่า ธาตุเป็นเครื่องสลัดเสียซึ่งวิหิงสา.
ภิกษุ ท. ! ข้ออื่นยังมีอีก,
คือ เมื่อภิกษุ กระทำในใจอยู่ซึ่งรูปทั้งหลาย,
จิตก็ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ตั้งอยู่ ไม่น้อมไป ในรูปทั้งหลาย ;

แต่เมื่อ ภิกษุนั้น กระทำในใจอยู่ซึ่งอรูป,
จิตก็แล่นไป ก็เลื่อมใส ก็ตั้งอยู่ ก็น้อมไป ในอรูป.

จิตของเธอนั้น ชื่อว่าถึงดี อบรมดี ออกดี หลุดพ้นดี ปราศจากรูปทั้งหลายด้วยดี;
และเธอนั้นหลุดพ้นแล้ว จากอาสวะทั้งหลาย อันทำความคับแค้นและเร่าร้อน
ที่เกิดเพราะรูปทั้งหลายเป็นปัจจัย; เธอก็ไม่ต้องเสวยเวทนานั้น.

อาการอย่างนี้ นี้เรากล่าวว่า ธาตุเป็นเครื่องสลัดเสียซึ่งรูปทั้งหลาย.

ภิกษุ ท. ! ข้ออื่นยังมีอีก, คือ
เมื่อภิกษุ กระทำในใจอยู่ซึ่งสักกายะ (ความยึดถือว่าตัวตน),
จิตก็ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ตั้งอยู่ ไม่น้อมไปในสักกายะ;

แต่เมื่อภิกษุนั้น กระทำในใจอยู่ซึ่งความดับแห่งสักกายะ,
จิตก็แล่นไป ก็เลื่อมใส ก็ตั้งอยู่ ก็น้อมไป ในความดับแห่งสักกายะ,

จิตของเธอนั้น ชื่อว่าถึงดี อบรมดี ออกดี หลุดพ้นดี ปราศจากสักกายะด้วยดี;
และเธอนั้นหลุดพ้นแล้ว จากอาสวะทั้งหลาย อันทำความคับแค้นและเร่าร้อน
ที่เกิดเพราะสักกายะ เป็นปัจจัย ; เธอก็ไม่ต้องเสวยเวทนานั้น.

อาการอย่างนี้ นี้เรากล่าวว่า ธาตุเป็นเครื่องสลัดเสียซึ่ง สักกายะ.

นันทิ (ความเพลิน) ในกาม ก็ไม่นอนตาม (ในจิต) ของเธอ;
นันทิในพ๎ยาบาท ก็ไม่นอนตาม (ในจิต) ของเธอ;
นันทิในวิหิงสา ก็ไม่นอนตาม (ในจิต)ของเธอ ;
นันทิในรูป ก็ไม่นอนตาม (ในจิต) ของเธอ ;
นันทิในสักกายะ ก็ไม่นอนตาม (ในจิต) ของเธอ.

เธอนั้น เมื่อกามนันทิก็ไม่นอนตาม พ๎ยาปาท นันทิก็ไม่นอนตาม วิหิงสานันทิก็ไม่นอนตาม รูปนันทิก็ไม่นอนตาม สักกายนันทิก็ไม่นอนตาม ดังนี้แล้ว ;

ภิกษุ ท. ! เรากล่าวภิกษุนี้ว่า ปราศจากอาลัยตัดตัณหาขาดแล้ว รื้อถอนสังโยชน์ได้แล้ว กระทำที่สุด แห่งกองทุกข์ได้แล้ว เพราะรู้เฉพาะซึ่งมานะโดยชอบ.

ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล ธาตุที่สามารถสลัดซึ่งสิ่งที่ควรสลัด ๕ อย่าง.
- ปญฺจก. อํ. ๒๒/๒๗๒/๒๐๐.




หมายเหตุ:

เมื่อผัสสะเกิด(สิ่งที่เกิดขึ้น) เช่น ตาเห็น หูได้ยินฯลฯ เป็นเหตุให้ มีความรู้สึกนึกคิดต่างๆ เกิดขึ้น ให้แค่รู้ ไม่สร้างเหตุออกไป ตามความรู้สึกนึกคิดที่เกิดขึ้น เป็นวิธีการ ดับเหตุของการเกิดภพชาติปัจจุบัน ให้สั้นลงไปเรื่อยๆ

ชั่วขณะ ที่เกิดผัสสะ แล้วไม่สร้างเหตุออกไป ตามความรู้สึกนึกคิดที่เกิดขึ้น เป็นการสลัดซึ่งสิ่งที่ควรสลัด ตามธรรมบทข้างบน




วิธีการดังกล่าวมานี้ ใช้ได้ทั้ง ผู้ที่ไม่มีเวลา และผู้ที่มีเวลา ทั้งผู้ที่ไม่เคยปฏิบัติรูปแบบใด มาก่อน เป็นการสร้างเหตุ ดับเหตุของการเกิด ภพชาติปัจจุบัน ที่กำลังจะเกิดขึ้นใหม่ เมื่อหลงสร้างเหตุออกไป ตามแรงผลักดันของกิเลส

การปฏิบัติแบบนี้ เรียกว่า ปฏิบัติธรรม สมควรแก่ธรรม




ฝ่ายผล


หากกระทำเช่นนี้ได้ คือ หยุดสร้างเหตุนอกตัวเนืองๆ ไม่สร้างเหตุออกไป ตามความรู้สึกนึกคิดที่เกิดขึ้น ขณะที่ผัสสะเกิด เป็นเหตุให้ เกิดการเห็นเนืองๆ ดังนี้คือ


ภิกษุ ท. ! ธรรมนี้ เป็นธรรมที่สมควรแก่ภิกษุ ผู้ปฏิบัติธรรม สมควรแก่ธรรม.

ธรรมนั้นคือข้อที่ภิกษุ เป็นผู้มากอยู่ด้วย ความรู้สึกเบื่อหน่ายในรูป,
เป็นผู้มากอยู่ด้วยความรู้สึกเบื่อหน่ายในเวทนา,
เป็นผู้มากอยู่ด้วยความรู้สึกเบื่อหน่ายในสัญญา,
เป็นผู้มากอยู่ด้วยความรู้สึกเบื่อหน่ายในสังขาร,
เป็นผู้มากอยู่ด้วยความรู้สึกเบื่อหน่ายในวิญญาณ;

ภิกษุนั้น เมื่อเป็นผู้มากอยู่ด้วย ความรู้สึกเบื่อหน่ายในรูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขาร ในวิญญาณ,
ย่อมรู้รอบ ซึ่งรูป ซึ่งเวทนา ซึ่งสัญญา ซึ่งสังขาร ซึ่งวิญญาณ ;

เมื่อเขารู้รอบอยู่ซึ่งรูป เวทนา ซึ่งสัญญา ซึ่งสังขาร ซึ่งวิญญาณ แล้ว,
ย่อมหลุดพ้นจากรูปจากเวทนา จากสัญญา จากสังขาร จากวิญญาณ,

ย่อมพ้นได้จาก ความเกิด ความแก่ ความเจ็บ ความตาย ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กายทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ ;

เราตถาคตกล่าวว่า เขาย่อมหลุดพ้นจากทุกข์ ดังนี้.
- ขนฺธ. สํ. ๑๗/๕๐/๘๓.



ภิกษุ ท. ! ธรรมนี้เป็นธรรมที่สมควรแก่ภิกษุ ผู้ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม
คือข้อที่ภิกษุเป็นผู้ตามเห็นความไม่เที่ยงในรูปอยู่เป็นประจำ,
เป็นผู้ตามเห็นความไม่เที่ยงในเวทนาอยู่เป็นประจำ,
เป็นผู้ตามเห็นความไม่เที่ยงในสัญญาอยู่เป็นประจำ,
เป็นผู้ตามเห็นความไม่เที่ยงในสังขารอยู่เป็นประจำ,
เป็นผู้ตามเห็นความไม่เที่ยงในวิญญาณอยู่เป็นประจำ ;

ภิกษุนั้นเมื่อตามเห็นความไม่เที่ยงในรูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขาร ในวิญญาณ อยู่เป็นประจำ,
ย่อมรู้รอบซึ่งรูป ซึ่งเวทนา ซึ่งสัญญา ซึ่งสังขาร ซึ่งวิญญาณ.
เมื่อเขารู้รอบอยู่ซึ่งรูป ซึ่งเวทนา ซึ่งสัญญา ซึ่งสังขาร ซึ่งวิญญาณ,
ย่อมหลุดพ้นจากรูป จากเวทนา จากสัญญา จากสังขาร จากวิญญาณ,
ย่อมพ้นได้จากความเกิดความแก่ ความเจ็บ ความตาย ความโศก
ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ;

เราตถาคตกล่าวว่า เขาย่อมหลุดพ้นจากทุกข์ ดังนี้.
- ขนฺธ. สํ. ๑๗/๕๑/๘๔.



ภิกษุ ท. ! ธรรมนี้ เป็นธรรมที่สมควรแก่ภิกษุ ผู้ปฏิบัติธรรม สมควรแก่ธรรม คือ
ข้อที่ภิกษุเป็นผู้ตามเห็นความเป็นทุกข์ ในรูป อยู่เป็นประจำ เป็นผู้ตามเห็นความเป็นทุกข์ ในเวทนา อยู่เป็นประจำ,

เป็นผู้ตามเห็นความเป็นทุกข์ ในสัญญา อยู่เป็นประจำ, เป็นผู้ตามเห็นความเป็นทุกข์ ในสังขารอยู่เป็นประจำ, เป็นผู้ตามเห็นความเป็นทุกข์ ในวิญญาณ อยู่เป็นประจำ ;

ภิกษุนั้น เมื่อตามเห็นความเป็นทุกข์ ในรูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขาร ในวิญญาณ อยู่เป็นประจำ,
ย่อมรู้รอบ ซึ่งรูป ซึ่งเวทนา ซึ่งสัญญา ซึ่งสังขาร ซึ่งวิญญาณ.

เมื่อเขารู้รอบอยู่ ซึ่งรูป ซึ่งเวทนา ซึ่งสัญญา ซึ่งสังขาร ซึ่งวิญญาณ,
ย่อมหลุดพ้นจากรูป จากเวทนา จากสัญญา จากสังขาร จากวิญญาณ,

ย่อมพ้นได้จากความเกิด ความแก่ ความเจ็บ ความตาย ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ;

เราตถาคตกล่าวว่า เขาย่อมหลุดพ้นได้จากทุกข์ ดังนี้.
- ขนฺธ. สํ. ๑๗/๕๑/๘๕.


ภิกษุ ท. ! ธรรมนี้ เป็นธรรมที่สมควรแก่ภิกษุ ผู้ปฏิบัติธรรม สมควรแก่ธรรม คือ
ข้อที่ภิกษุเป็นผู้ตามเห็นความเป็นทุกข์ ในรูป อยู่เป็นประจำ เป็นผู้ตามเห็นความเป็นทุกข์ ในเวทนา อยู่เป็นประจำ,
เป็นผู้ตามเห็นความเป็นทุกข์ ในสัญญา อยู่เป็นประจำ, เป็นผู้ตามเห็นความเป็นทุกข์ ในสังขารอยู่เป็นประจำ, เป็นผู้ตามเห็นความเป็นทุกข์ ในวิญญาณ อยู่เป็นประจำ ;


ภิกษุนั้น เมื่อตามเห็นความเป็นทุกข์ในรูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขาร ในวิญญาณ อยู่เป็นประจำ,
ย่อมรู้รอบ ซึ่งรูป ซึ่งเวทนา ซึ่งสัญญา ซึ่งสังขาร ซึ่งวิญญาณ.

เมื่อเขารู้รอบอยู่ ซึ่งรูป ซึ่งเวทนา ซึ่งสัญญา ซึ่งสังขาร ซึ่งวิญญาณ,
ย่อมหลุดพ้นจากรูป จากเวทนา จากสัญญา จากสังขาร จากวิญญาณ,

ย่อมพ้นได้จากความเกิด ความแก่ ความเจ็บ ความตาย ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ;

เราตถาคตกล่าวว่า เขาย่อมหลุดพ้นได้จากทุกข์ ดังนี้.
- ขนฺธ. สํ. ๑๗/๕๑/๘๕.


ภิกษุ ท. ! ธรรมนี้ เป็นธรรมที่สมควรแก่ภิกษุ ผู้ปฏิบัติธรรม สมควรแก่ธรรม คือ
ข้อที่ภิกษุ เป็นผู้ตามเห็น ความเป็นอนัตตา ในรูป อยู่เป็นประจำ,
เป็นผู้ตามเห็น ความเป็นอนัตตา ในเวทนา อยู่เป็นประจำ,
เป็นผู้ตามเห็น ความเป็นอนัตตา ในสัญญา อยู่เป็นประจำ,
เป็นผู้ตามเห็น ความเป็นอนัตตาในสังขาร อยู่เป็นประจำ,
เป็นผู้ตามเห็น ความเป็นอนัตตา ในวิญญาณ อยู่เป็นประจำ ;

ภิกษุนั้น เมื่อตามเห็นความเป็นอนัตตา ในรูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขาร ในวิญญาณ อยู่เป็นประจำ,
ย่อมรู้รอบ ซึ่งรูป ซึ่งเวทนา ซึ่งสัญญา ซึ่งสังขาร ซึ่งวิญญาณ,
เมื่อเขารู้รอบอยู่ ซึ่งรูป ซึ่งเวทนา ซึ่งสัญญา ซึ่งสังขาร ซึ่งวิญญาณ,

ย่อมหลุดพ้นจากรูป จากเวทนาจากสัญญา จากสังขาร จากวิญญาณ,
ย่อมพ้นได้จากความเกิด ความแก่ ความเจ็บ ความตาย ความโศก
ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ ;

เราตถาคต กล่าวว่า เขาย่อมหลุดพ้นได้จากทุกข์ ดังนี้.


การหยุดสร้างเหตุนอกตัว ไม่สร้างเหตุออไป ตามความรู้สึกนึกคิดที่เกิดขึ้น ขณะที่ผัสสะเกิด เรียกว่า โยนิโสมนสิการ

คือ ดูตามความเป็นจริง(โยนิ/เหตุ) หมายถึง สิ่งที่เกิดขึ้นภายนอก/ผัสสะ

รู้ตามความเป็นจริง(มนสิการ) คือ รู้ตามความเป็นจริง กับสิ่งที่เกิดขึ้นทั้งกายและจิต

เมื่อหยุดสร้างเหตุนอกตัวเนืองๆ เป็นเหตุให้ เกิดการเห็นเนืองๆของสิ่งที่เกิดขึ้นทั้งภายนอกและภายใน ผลที่ตามมาคือ สิ่งที่พระองค์ทรงตรัสไว้

นี่แหละเรียกว่า การเห็นตามความเป็นจริง ปราศจากความมีตัวตน เข้าไปเกี่ยวข้องกับสภาวะ/สิ่งที่เกิดขึ้น/ผัสสะ


ถึงแม้ยังมีกิเลส ย่อมมีการปรุงแต่งทางความคิดเกิดขึ้น เรียกว่า มโนกรรม

นี่เป็นเรื่องปกติ หากยังมีกิเลสอยู่ หรือสติยังไม่ทัน หากสติทัน การปรุงแต่งทางความคิดจะเกิดขึ้น จะดับทันที


การสร้างเหตุทางมโนกรรม ยังดีกว่า หยุดตัวเองไม่ได้ ปล่อยให้แรงกิเลสผลักดัน หลงสร้างเหตุออกไปทาง วจีกรรม และกายกรรม


รู้และหยุดทัน

ดีกว่า หลงและสร้างออกไป



ถึงแม้จะหลงสร้างออกไปบ้าง เมื่อพยามหยุดตัวเองบ่อยๆ เป็นเหตุให้ เกิดการสำรวม สังวร ระวังมากขึ้นเอง ความผิดพลาด ย่อมน้อยลง ลดลงไปเรื่อยๆ เหตุเพราะ เป็นทุกข์ เกิดความเบื่อหน่าย จนกระทั่ง จิตปล่อยวางลงไปเอง โดยไม่ต้องพยายามคิดพิจรณา เพื่อที่จะปล่อยวาง

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 ก.ค. 2013, 08:37 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5976

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


ปฏิจจสมุปบาท

แบ่งออกมาเป็นสองส่วน คือ ภพชาติปัจจุบัน ๑ ภพชาติ การเวียนว่าย ตายเกิด ในวัฏฏสงาร ๑

ภพชาติปัจจุบัน

ถ้ากล่าวถึงการใช้ชีวิตหรือการดำเนินชีวิตปัจจุบัน เริ่มตั้งแต่ ผัสสะเกิด ไม่นับมรณะ คือ ยังไม่ตาย นั่นแหละคือ ภพชาติปัจจุบัน หรือ ปัจจุบัน ขณะ

ในแต่ละขณะๆๆๆๆ ที่ผัสสะเกิดขึ้น แล้วเป็นเหตุให้ เกิดความรู้สึก นึกคิดต่างๆเกิดขึ้น

เหตุของความไม่รู้ที่มีอยู่ เป็นเหตุให้ เกิดการตอบสนองหรือสร้างเหตุออกไป ตามความรู้สึกนึกคิดที่เกิดขึ้น เพราะเหตุนี้ ภพชาติใหม่ จึงเกิดขึ้นเนืองๆ สุขและทุกข์ ในชีวิต จึงเกิดขึ้น เพราะเหตุนี้


ถ้าเป็นวงกลม เริ่มตั้งแต่ อวิชชา จนถึงมรณะ แล้ววนกลับมาไปหา เริ่มต้นที่อวิชชาใหม่ หมายถึง การเวียนว่ายตายเกิด ในวัฏฏสงสาร คือ ตายแล้วเกิดพร้อมด้วยอวิชชาที่มีอยู่ ตายแล้วเกิด ซ้ำซากเวียนวนอยู่อย่างนั้น

เหตุของ อวิชชาที่มีอยู่ ขณะกำลังใกล้ตาย จิตย่อมปรุงแต่งไปตามเหตุปัจจัยที่เคยกระทำไว้ เหตุจาก มโนกรรม วจีกรรม กายกรรม

บางคนปรากฏเป็นภาพขึ้นมา แล้วแสดงออกเป็น กิริยาทางกายให้กาย ทางคำพูดให้เห็น

ขณะที่ตายลง วิญญาณออกจากร่าง ชั่วขณะนั้น หากยังมีเหตุปัจจัยอยู่ จิตระลึกถึงสิ่งใดอยู่ ย่อมไปตามนั้น

หากมีสติ สัมปชัญญะ รู้อยู่ จิตย่อมไปตามนั้น หรือ หากหมดเหตุปัจจัย หมายถึง พระอรหันต์ ไม่ต้องเวียนว่ายตายเกิดอีกต่อ เพราะ อวิชชาดับ ทุกสรรพสิ่ง ย่อมดับลงตามเหตุปัจจัย

เมื่อยังมีเหตุของการเกิด คือ วิญญาณ หมายถึง วิญญาณปฏิสนธิ หรือ ปฏิสนธิวิญญาณ

เมื่อเกิดใหม่ ย่อมมี เปลือกห่อหุ้ม ได้แก่ กาย ย่อมมีวิญญาณอาศัย ได้แก่ จิต หมายถึง นามรูป

เมื่อมีนามรูป คือ กายและจิต ย่อมมี สฬายตนะหรืออายตนะ

เมื่อมี อายตนะ ย่อมมีการทำงานของอายตนะ คือ ผัสสะ


เมื่อผัสสะเกิด ย่อมมีเวทนา คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อุเบกขาเวทนา

เมื่อมีเหตุปัจจัยกับสิ่งที่เกิดขึ้น ย่อมก่อให้เกิดความรู้สึก สุขเวทนา ทุกขเวทนา

หากไม่มีเหตุปัจจัยกับสิ่งๆนั้น ย่อมรู้สึก เฉยๆ หรือ อุเบกขาเวทนา

เพราะเหตุนี้ พระพุทธเจ้า จึงทรงตรัสเรียก อายตนะว่า กรรมเก่า

เมื่อผัสสะเกิด แล้วทำให้เกิดความรู้สึกนึกคิด เหตุของความไม่รู้ที่มีอยู่ เป็นเหตุให้ หลงสร้างเหตุออกใหม่ ตามความรู้สึกนึกคิดที่เกิดขึ้น เรียกว่า กรรมใหม่


เหตุของความไม่รู้(อวิชชา) ที่มีอยู่ เป็นเหตุให้ ไม่รู้ว่า เพราะเหตุใด เมื่อผัสะเกิดในแต่ละครั้ง ทำไมความรู้สึกที่เกิดขึ้น จึงไม่เหมือนกัน แม้กระทั่ง รู้สึกเฉยๆ ก็ไม่รู้

จึงหลงสร้างเหตุออกไป ตามแรงผลักดันของกิเลส ได้แก่ อุปทาน(สังขาร) ที่มีอยู่ ได้แก่ กามุปาทาน
ทิฏฐุปาทาน สีลัพพัตตุปาทาน อัตตวาทุปาทาน

http://www.84000.org/tipitaka/pitaka2/v ... 151&Z=2295

ภพจึงเกิด คือ มโนกรรม

ชาติ ส่วนมาก ให้คำอธิบายว่า หมายถึง กำเนิด หรือ คลอดออกมา เมื่อเป็นแบบนี้ การอธิบาย จึงวกกลับไปกลับมา ไม่มีที่จบ ถึงจะจบ แต่ยังมีข้อคัดค้าน

ซึ่งชาติ อีกความหมายก็มีอยู่ ซึ่งเป็นเหตุจาก ภพ คือ ชาติ ที่เป็นฝ่ายผล ที่มีเหตุจาก ภพ(มโนกรรม)

เป็นชาติ ที่หมายถึง การเกิดขึ้นของกองทุกข์หรือความทุกข์ แต่เป็นความทุกข์ชนิดที่ประกอบหรือถูกครอบงำด้วยอุปาทาน (อุปาทานทุกข์)


ผัสสะเกิด -ดับ ตามเหตุปัจจัย เหตุของความไม่รู้ที่มีอยู่ จึงหลงสร้างเหตุออกไป แทนที่มีสติ รู้อยู่ และปล่อยให้ ผัสสะ(สิ่งที่เกิดขึ้น) เกิด-ดับ ตามเหตุปัจจัย


การอธิบาย ปฏิจจสมุปบาท วลัยพร จึงแบ่งออกเป็นสองส่วน คือ ภพชาติปัจจุบัน กับ ภพชาติการเกิด เวียนว่ายในวัฏฏสงสาร

ไม่มีวกวนกลับไปกลับมา แต่ชี้ให้เห็นเหตุของการกระทำ ที่เป็นเหตุของการเกิด ภพชาติปัจจุบน(ภพ) และผลที่ได้รับ ในภพชาติปัจจุบัน(ชาติ)

ส่วนภพชาติ การเวียนว่ายในวัฏฏสงสาร เกิดจาก เหตุของอวิชชา หรือความไม่รู้ที่มีอยู่ จึง ตายแล้วเกิด ตายแล้วเกิด ซ้ำซากอยู่อย่างนั้น ส่วนจะเกิดในภพไหนนั้น(๓๑ ภพภูมิ) นั่นก็แล้วแต่เหตุปัจจัย ช่วงขณะที่กำลังจะตาย จิตระลึกถึงอะไรอยู่ ภพย่อมเกิดขึ้น ขณะนั้น ย่อมไปตามนั้น


เป็นอีกหนึ่งมุมอง ในการพูดเรื่อง ปฏิจจสมุปปบาท ที่ไม่มีปริยัติหรือคำเรียก ที่มีรายละเอียดว่า สิ่งๆนั้น เรียกว่า อย่างนั้น อย่างนี้ แต่ใช้ภาษาแบบชาวบ้าน

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


แก้ไขล่าสุดโดย walaiporn เมื่อ 18 ก.ค. 2013, 09:05, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 ก.ค. 2013, 08:56 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5976

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


โยนิโสมนสิการ


เหมือนเรื่อง โยนิโสมนสิการ มีคำอธิบายมากมาย ในปัจจุบันนี้

บ้างก็ว่า คิดพิจรณาโดยแยบคาย ขึ้นชื่อว่า ความคิด ล้วนมีแต่ เป็นการนำ ความมีตัวตนเข้าไปเกี่ยวข้องกับสิ่งที่เกิดขึ้น

ตราบใด ที่ยังมีมิจฉาทิฏฐิ การคิดพิจรณาที่เกิดขึ้น ล้วนเป็น มิจฉาทิฏฐิ


บ้างก็บอกว่า คิดแล้ว รู้ว่า เป็นกุศล เป็น อกุศล ตราบใดที่ยังมีมิจฉาทิฏฐิ การคิดพิจรณาที่เกิดขึ้น ล้วนเป็น มิจฉาทิฏฐิ

ไม่ว่าจะคิดพิจรณาแบบใดก็ตาม ล้วนเกิดจาก อุปทานที่มีอยู่ จึงเป็น มิจฉาทิฏฐิ คือ กามุปาทาน
ทิฏฐุปาทาน สีลัพพัตตุปาทาน อัตตวาทุปาทาน.

แทนที่จะเป็นการกระทำฝ่าย โยนิโสมนสิการ กลับเป็น อโยนิโสมนสิการ เหตุจาก อวิชชา ที่มีอยู่

ภาษาบาลี ที่เป็นรากศัพท์ ไม่ควรทิ้ง การจะรู้ว่า คำเรียกนั้นๆ มีลักาณะ อาการที่เกิดขึ้น เป็นอย่างไร ต้องรู้ชัดโดยสภาวะ แล้วนำไปเปรียบเทียบ กับภาษานั้นๆ ซึ่งมีการแปลไว้หลายคำ

โยนิ หรือ โยนี แปลตรงตัวอยู่แล้ว แปลว่า เหตุ

มนสิการ แปลตรงตัวแล้ว การกระทำไว้ในใจ

การเทียบเคียง โดยการนำคสอนของพระพุทธเจ้า มาเทียบเคียง เหตุเกิดตรงไหน ดับที่นั่น

อะไรคือ เหตุ

เหตุคือ สิ่งที่เกิดขึ้น(ผัสสะ)

เหตุมาจากไหน ต้องสาวลงไปอีก สิ่งที่เกิดขึ้น ณ ปัจจุบัน ขณะ ล้วนเกิดจาก เหตุปัจจัย ที่ทำไว้ในอดีต
เมื่อมีเหตุ ย่อมมีผล ผลของเหตุในอดีต ส่งมาให้ได้รับ ในรูปของสิ่งที่เกิดขึ้น ในรูปของ ผัสสะ หรือ สิ่งที่เกิดขึ้น ณ ปัจจุบัน ขณะ

สิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสสอนไว้ ล้วนเป็นการดับที่เหตุของการเกิด โยนิโสมนสิการ ก็เช่นเดียวกัน เป็นธรรมที่ดับ เหตุของการเกิด ไม่ใช่เป็นการสร้าง เหตุของการเกิดขึ้นมาใหม่ หรือ เรียกว่า กรรมใหม่

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 ก.ค. 2013, 10:37 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 ธ.ค. 2012, 15:49
โพสต์: 932


 ข้อมูลส่วนตัว


walaiporn เขียน:
ปฏิจจสมุปบาท

แบ่งออกมาเป็นสองส่วน คือ ภพชาติปัจจุบัน ๑ ภพชาติ การเวียนว่าย ตายเกิด ในวัฏฏสงาร ๑

ภพชาติปัจจุบัน

ถ้ากล่าวถึงการใช้ชีวิตหรือการดำเนินชีวิตปัจจุบัน เริ่มตั้งแต่ ผัสสะเกิด ไม่นับมรณะ คือ ยังไม่ตาย นั่นแหละคือ ภพชาติปัจจุบัน หรือ ปัจจุบัน ขณะ

ในแต่ละขณะๆๆๆๆ ที่ผัสสะเกิดขึ้น แล้วเป็นเหตุให้ เกิดความรู้สึก นึกคิดต่างๆเกิดขึ้น

เหตุของความไม่รู้ที่มีอยู่ เป็นเหตุให้ เกิดการตอบสนองหรือสร้างเหตุออกไป ตามความรู้สึกนึกคิดที่เกิดขึ้น เพราะเหตุนี้ ภพชาติใหม่ จึงเกิดขึ้นเนืองๆ สุขและทุกข์ ในชีวิต จึงเกิดขึ้น เพราะเหตุนี้


ถ้าเป็นวงกลม เริ่มตั้งแต่ อวิชชา จนถึงมรณะ แล้ววนกลับมาไปหา เริ่มต้นที่อวิชชาใหม่ หมายถึง การเวียนว่ายตายเกิด ในวัฏฏสงสาร คือ ตายแล้วเกิดพร้อมด้วยอวิชชาที่มีอยู่ ตายแล้วเกิด ซ้ำซากเวียนวนอยู่อย่างนั้น

เหตุของ อวิชชาที่มีอยู่ ขณะกำลังใกล้ตาย จิตย่อมปรุงแต่งไปตามเหตุปัจจัยที่เคยกระทำไว้ เหตุจาก มโนกรรม วจีกรรม กายกรรม

บางคนปรากฏเป็นภาพขึ้นมา แล้วแสดงออกเป็น กิริยาทางกายให้กาย ทางคำพูดให้เห็น

ขณะที่ตายลง วิญญาณออกจากร่าง ชั่วขณะนั้น หากยังมีเหตุปัจจัยอยู่ จิตระลึกถึงสิ่งใดอยู่ ย่อมไปตามนั้น

หากมีสติ สัมปชัญญะ รู้อยู่ จิตย่อมไปตามนั้น หรือ หากหมดเหตุปัจจัย หมายถึง พระอรหันต์ ไม่ต้องเวียนว่ายตายเกิดอีกต่อ เพราะ อวิชชาดับ ทุกสรรพสิ่ง ย่อมดับลงตามเหตุปัจจัย

เมื่อยังมีเหตุของการเกิด คือ วิญญาณ หมายถึง วิญญาณปฏิสนธิ หรือ ปฏิสนธิวิญญาณ

เมื่อเกิดใหม่ ย่อมมี เปลือกห่อหุ้ม ได้แก่ กาย ย่อมมีวิญญาณอาศัย ได้แก่ จิต หมายถึง นามรูป

เมื่อมีนามรูป คือ กายและจิต ย่อมมี สฬายตนะหรืออายตนะ

เมื่อมี อายตนะ ย่อมมีการทำงานของอายตนะ คือ ผัสสะ


เมื่อผัสสะเกิด ย่อมมีเวทนา คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อุเบกขาเวทนา

เมื่อมีเหตุปัจจัยกับสิ่งที่เกิดขึ้น ย่อมก่อให้เกิดความรู้สึก สุขเวทนา ทุกขเวทนา

หากไม่มีเหตุปัจจัยกับสิ่งๆนั้น ย่อมรู้สึก เฉยๆ หรือ อุเบกขาเวทนา

เพราะเหตุนี้ พระพุทธเจ้า จึงทรงตรัสเรียก อายตนะว่า กรรมเก่า

เมื่อผัสสะเกิด แล้วทำให้เกิดความรู้สึกนึกคิด เหตุของความไม่รู้ที่มีอยู่ เป็นเหตุให้ หลงสร้างเหตุออกใหม่ ตามความรู้สึกนึกคิดที่เกิดขึ้น เรียกว่า กรรมใหม่


เหตุของความไม่รู้(อวิชชา) ที่มีอยู่ เป็นเหตุให้ ไม่รู้ว่า เพราะเหตุใด เมื่อผัสะเกิดในแต่ละครั้ง ทำไมความรู้สึกที่เกิดขึ้น จึงไม่เหมือนกัน แม้กระทั่ง รู้สึกเฉยๆ ก็ไม่รู้

จึงหลงสร้างเหตุออกไป ตามแรงผลักดันของกิเลส ได้แก่ อุปทาน(สังขาร) ที่มีอยู่ ได้แก่ กามุปาทาน
ทิฏฐุปาทาน สีลัพพัตตุปาทาน อัตตวาทุปาทาน

http://www.84000.org/tipitaka/pitaka2/v ... 151&Z=2295

ภพจึงเกิด คือ มโนกรรม

ชาติ ส่วนมาก ให้คำอธิบายว่า หมายถึง กำเนิด หรือ คลอดออกมา เมื่อเป็นแบบนี้ การอธิบาย จึงวกกลับไปกลับมา ไม่มีที่จบ ถึงจะจบ แต่ยังมีข้อคัดค้าน

ซึ่งชาติ อีกความหมายก็มีอยู่ ซึ่งเป็นเหตุจาก ภพ คือ ชาติ ที่เป็นฝ่ายผล ที่มีเหตุจาก ภพ(มโนกรรม)

เป็นชาติ ที่หมายถึง การเกิดขึ้นของกองทุกข์หรือความทุกข์ แต่เป็นความทุกข์ชนิดที่ประกอบหรือถูกครอบงำด้วยอุปาทาน (อุปาทานทุกข์)


ผัสสะเกิด -ดับ ตามเหตุปัจจัย เหตุของความไม่รู้ที่มีอยู่ จึงหลงสร้างเหตุออกไป แทนที่มีสติ รู้อยู่ และปล่อยให้ ผัสสะ(สิ่งที่เกิดขึ้น) เกิด-ดับ ตามเหตุปัจจัย


การอธิบาย ปฏิจจสมุปบาท วลัยพร จึงแบ่งออกเป็นสองส่วน คือ ภพชาติปัจจุบัน กับ ภพชาติการเกิด เวียนว่ายในวัฏฏสงสาร

ไม่มีวกวนกลับไปกลับมา แต่ชี้ให้เห็นเหตุของการกระทำ ที่เป็นเหตุของการเกิด ภพชาติปัจจุบน(ภพ) และผลที่ได้รับ ในภพชาติปัจจุบัน(ชาติ)

ส่วนภพชาติ การเวียนว่ายในวัฏฏสงสาร เกิดจาก เหตุของอวิชชา หรือความไม่รู้ที่มีอยู่ จึง ตายแล้วเกิด ตายแล้วเกิด ซ้ำซากอยู่อย่างนั้น ส่วนจะเกิดในภพไหนนั้น(๓๑ ภพภูมิ) นั่นก็แล้วแต่เหตุปัจจัย ช่วงขณะที่กำลังจะตาย จิตระลึกถึงอะไรอยู่ ภพย่อมเกิดขึ้น ขณะนั้น ย่อมไปตามนั้น


เป็นอีกหนึ่งมุมอง ในการพูดเรื่อง ปฏิจจสมุปปบาท ที่ไม่มีปริยัติหรือคำเรียก ที่มีรายละเอียดว่า สิ่งๆนั้น เรียกว่า อย่างนั้น อย่างนี้ แต่ใช้ภาษาแบบชาวบ้าน
แค่เรียนในสิ่งที่แต่งใหม่กผิดแล้ว เลี้ยวกลับยังทันนะครับ ถามีเวลาลองศึกษาที่นี้ดูhttp://watnapp.com/


แก้ไขล่าสุดโดย amazing เมื่อ 18 ก.ค. 2013, 11:19, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 ก.ค. 2013, 11:16 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
ถ้าเป็นสมการที่โฮยกมา.....จะวิญญาณ (ไม่เขียนว่าขันธ์ต่อท้าย) หรือ...วิญญาณขันธ์....ก็อันเดียวกัน


วิญญานเป็น......ตัวรู้อารมณ์

วิญญานขันธ์เป็นตัวยึดอารมณ์ หรืออุปาทานขันธ์

วิญญานไปรู้อารมณ์ตัวไหน แล้วไม่ยึดมันก็ไม่เกิดขันธ์

อย่างเช่น วิญญานไปรู้สังขาร(จิตสังขาร) รู้แล้วไม่ยึดกายสังขารก็ไม่เกิด
หรือวิญญานรู้เวทนาและสัญญา รู้แล้วไม่ยึดสังขารขันธ์ย่อมไม่เกิดฯลฯ


พูดให้ฟังง่ายๆ วิญญานคือจิต ขันธ์คืออุปาทาน


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 ก.ค. 2013, 11:16 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 ธ.ค. 2012, 15:49
โพสต์: 932


 ข้อมูลส่วนตัว


ดูเรื่องภพภูมิที่บอกว่ามี31ภูมิ ภพภูมิตามพุทธวจนมีมากกว่า31ภูมิแน่ๆอ่านได้ที่นี่http://15c78e68827edd100d00-3e5118b4a901d5cb5f2a37359b3bf3bc.r28.cf1.rackcdn.com/%E0%B8%9E%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%A7%E0%B8%88%E0%B8%99_11_%E0%B8%A0%E0%B8%9E%E0%B8%A0%E0%B8%B9%E0%B8%A1%E0%B8%B4.pdf


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 ก.ค. 2013, 11:24 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


amazing เขียน:
[แค่เรียนในสิ่งที่แต่งใหม่กผิดแล้ว เลี้ยวกลับยังทันนะครับ ถามีเวลาลองศึกษาที่นี้ดูhttp://watnapp.com/

คุณอเมซิ่งครับ วันไหนคุณไปวัดที่คุณแนะนำ ผมรบกวนคุณช่วยถามอาจารย์ของคุณ
ถามว่า "ถ้าไม่เอาอรรถกถา ไม่เอาครูบาอาจารย์รุ่นหลัง ถามครับว่า
ท่านไปเรียนแปลบาลีมาจากใคร
แล้วทำไมไม่สอนเป็นบาลีไปเลย สอนด้วยภาษาไทยทำไม
แล้วท่านแสดงความเห็นในคำสอน ความเห็นของท่านเป็นพุทธวจนหรือครับ :b13:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 ก.ค. 2013, 11:27 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5976

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


amazing เขียน:
แค่เรียนในสิ่งที่แต่งใหม่กผิดแล้ว เลี้ยวกลับยังทันนะครับ ถามีเวลาลองศึกษาที่นี้ดูhttp://watnapp.com/





ช่างมีความพยายามสูง เหมือนกันหมด พิมพ์นิยมจริงๆ :b32:

เห็นประกาศปาวๆไม่ใช่เหรอว่า บรรลุธรรม

เมื่อบรรลุธรรม ไหงสักกายะทิฏฐิ จึงเต็มเปี่ยม

ไปศึกษาเรื่อง ทิฏฐิบ้าง ก็ดีนะ จะได้รู้ว่า คำว่า ถูก-ผิด ดี-ชั่ว กุศล-อกุศล บาป-บุญ คุณ-โทษ คือ มีลักษณะเกิดเป็นคู่ๆ แบบนี้ มาจากไหน อะไรเป็นเหตุปัจจัย

http://www.navy.mi.th/newwww/code/speci ... dham2.htm#ท๑๐


ถ้าต้องการรายละเอียดเพิ่ง ก็ศึกษาเรื่อง อุปทานนะ

http://www.84000.org/tipitaka/pitaka2/v ... 151&Z=2295


ถ้ายังต้องการรายละเอียดอีก ก็ศึกษาเรื่อง สักกายะทิฏฐิเพิ่ม

ความยึดมั่นถือมั่น ในตัวตน ของเขา ของเรา เพราะ เหตุนี้ เมื่อ ผัสสะเกิด จึงชอบพูดว่า นั่นถูก นี่ผิด นั่นดี นี่ชั่วฯลฯ เหตุจาก ทิฏฐิกิเลสหรือสักกายะทิฏฐิสังโยชน์(ความยึดมั่นในตัวตน ของตน) ที่มีอยู่

ซึ่งทั้งนี้ ทั้งนั้น ล้วนเกิดจาก เหตุของอวิชชา ที่มีอยู่ เมื่อผัสสะเกิด เอาความมีตัวตน ที่เกิดจากอุปทานที่มีอยู่ เข้าไปตัดสินในสิ่งที่เกิดขึ้นหรือผัสสะนั้นๆ

แทนที่จะ มีสติรู้อยู่ในกายและจิต แล้วผัสสะ ที่กำลังเกิดขึ้นอยู่นั้น ย่อมเกิดขึ้นและดับลง ตามเหตุปัจจัยเอง หากไม่ไปสานต่อ

นี่กลับไม่ยอมหยุด ยังก้าวล่วงออกมาทางวจีกรรม กายกรรม เหตุจาก กิเลส(โมหะ)บดบังสภาวะ ตามความเป็นจริง

แทนที่จะเห็นการเกิด-ดับ ของผัสสะที่กำลังเกิดขึ้น กลับกลายเป็น หลงสร้างเหตุใหม่ให้เกิดขึ้น โดยการกล่าวว่า สิ่งนั้นถูก สิ่งนี้ผิด

ทั้งๆที่ ทุกสรรพสิ่ง ล้วนเกิดขึ้นเอง และดับลงเอง ตามเหตุปัจจัย

เหตุจาก อวิชชา ที่มีอยู่ ไม่หยั่งรู้ในเงื่อนต้น ไม่หยั่งรู้ในเงื่อนปลาย ไม่หยั่งรู้ทั้งในเงื่อนต้นทั้งในเงื่อนปลาย และไม่หยั่งรู้ในธรรมะที่อาศัยกันบังเกิดขึ้น

จึงเป็นเหตุให้ ไม่รู้ชัดในผัสสะหรือสิ่งที่เกิดขึ้นว่า ทำไม ในแต่ละผัสสะ จึงทำให้เกิด ความรู้สึกนึกคิดในแต่ละครั้ง ไม่เหมือนกัน

เมื่อไม่รู้ จึงมีแต่หลงสร้างเหตุของการเกิด ตามอุปทาน ยึดมั่นถือมั่น ความมีตัวตนที่มีอยู่ อุปมาอุปมัย เมื่อเขาด่าฉัน ฉันไม่ผิด ต้องด่ากลับไป

เพราะความยึดมั่นถือมั่นในตัวกู ของกู เมื่อคิดว่า ตนเองไม่ผิด ตนเองย่อมไม่ยอม

แล้วเคยรู้ไหม สิ่งที่เกิดขึ้นในแต่ละขณะๆนั้น อะไรเป็นเหตุปัจจัยให้เกิด นั่นแหละคือ เหตุของอวิชชาที่มีอยู่

เมื่อไม่รู้ จึงหลงสร้างเหตุของการเกิดภพชาติปัจจุบัน ให้เกิดขึ้นใหม่

เมื่อยังไม่รู้อีก หลงสร้างต่อไปเรื่อยๆ การเวียนว่าย ตายเกิดในวัฏฏสงสาร จึงยืนยาวเพราะเหตุนี้ ตามเหตุปัจจัยของตน ที่เคยกระทำไว้


แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น ณ วันหนึ่ง เมื่อเหตุปัจจัยพร้อม ทำให้อวิชชา ถูกทำลายลง ณ วันนั้น ภพชาติของการเกิด ย่อมสั้นลงอย่างแน่นอน

จงดูพระเทวทัติ เป็นตัวอย่าง จากผู้มีความเห็นผิด สุดท้าย เป็นผู้มีความเห็นถูก แต่จบชีวิตลงเสียก่อน

ฉะนั้น จึงบอกว่า ใครจะคิดว่า บรรลุหรือรู้อะไร เห็นอะไรก็ตาม คิดไปเถอะ ถ้าคิดแล้ว มีความสุข

เพราะอะไร เพราะทุกคน มีเป้าหมาย ในการปฏิบัติเหมือนๆกัน คือ ไปให้ถึง ที่สุดแห่งทุกข์

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 228 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 7, 8, 9, 10, 11, 12, 13 ... 16  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร