วันเวลาปัจจุบัน 19 ก.ค. 2025, 03:59  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 41 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 มิ.ย. 2013, 17:21 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
อนัตตา เป็นสภาวะธรรมหรือไม่? โฮฮับ

ก็รู้อยู่แล้วว่าไม่เข้าใจคำตอบ เพราะถามในสิ่งที่ตัวเองก็ไม่เข้า
ผลก็ย่ำอยู่กับที่ไม่ได้ไปไหนเลย

ชัดๆน่ะ อนัตตาเป็นสภาวะธรรมและไม่เป็นสภาวะธรรม

เอางี้ผมถามเช่นนั้นดีกว่าว่า เช่นนั้นเข้าใจเรื่องสภาวะธรรมหรือเปล่า
เช่นนั้นเข้าใจว่า สภาวะธรรมคืออะไร :b32:

เมื่อโฮฮับ ยอมรับว่า อนัตตา เป็นสภาวะธรรม และไม่เป็นสภาวธรรม

ก่อนจะลงลึกลงไปอีก

ถาม โฮฮับ ว่า นิพพาน เป็นสภาวะธรรม หรือไม่?????

นิพพานมีทั้งที่เป็นสภาวะธรรมและไม่เป็นสภาวะธรรม นี้คือคำตอบของผม



โฮฮับ บอกว่า นิพพานมีทั้งที่เป็นสภาวะธรรม และไม่เป็นสภาวะธรรม

ถามโฮฮับต่อ
อนัตตา มีสภาวะธรรมอย่างไร?

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 มิ.ย. 2013, 02:58 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 2
สมาชิก ระดับ 2
ลงทะเบียนเมื่อ: 07 มี.ค. 2013, 20:15
โพสต์: 91

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


สัพเพธัมมา อนัตตา
ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา

สังขตธรรมก็เป็นธรรม
อสังขตธรรมก็เป็นธรรม

ทั้งหมดล้วนเป็นอนัตตา
ไม่ใช่อัตตา
ไม่ใช่ตัวเรา ไม่ใช่ของเรา
ไม่สามารถบังคับควบคุมได้ตามต้องการ

ปัญญาก็เป็นสภาวะธรรมย่อมเป็นอนัตตาเช่นกัน

ปัญญาจัดเป็นสังขารเจตสิก


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 มิ.ย. 2013, 05:10 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
อนัตตา เป็นสภาวะธรรมหรือไม่? โฮฮับ

ก็รู้อยู่แล้วว่าไม่เข้าใจคำตอบ เพราะถามในสิ่งที่ตัวเองก็ไม่เข้า
ผลก็ย่ำอยู่กับที่ไม่ได้ไปไหนเลย

ชัดๆน่ะ อนัตตาเป็นสภาวะธรรมและไม่เป็นสภาวะธรรม

เอางี้ผมถามเช่นนั้นดีกว่าว่า เช่นนั้นเข้าใจเรื่องสภาวะธรรมหรือเปล่า
เช่นนั้นเข้าใจว่า สภาวะธรรมคืออะไร :b32:

เมื่อโฮฮับ ยอมรับว่า อนัตตา เป็นสภาวะธรรม และไม่เป็นสภาวธรรม

ก่อนจะลงลึกลงไปอีก

ถาม โฮฮับ ว่า นิพพาน เป็นสภาวะธรรม หรือไม่?????

นิพพานมีทั้งที่เป็นสภาวะธรรมและไม่เป็นสภาวะธรรม นี้คือคำตอบของผม



โฮฮับ บอกว่า นิพพานมีทั้งที่เป็นสภาวะธรรม และไม่เป็นสภาวะธรรม

ถามโฮฮับต่อ
อนัตตา มีสภาวะธรรมอย่างไร?

การจะรู้สภาวะธรรมได้บุคคลจะต้องมีปัญญาหรือมีญานรู้เหตุปัจจัย
มันไม่ใช่มาบอกว่า สภาวะธรรมเป็นอย่างโน้นอย่างนี้ การพูดเช่นนี้ล้วนแล้วแต่เป็นบัญญัติ
ผู้ที่มีปัญญาสัมมาทิฐิแล้ว เขาจะคุยเรื่องสภาวะธรรม เขาจะคุยแต่เหตุปัจจัยที่ทำให้เกิดสภาวะนั้นๆ
การพูดถึงเหตุปัจจัยจะทำให้คู่สนทนาที่มีปัญญาเข้าใจ ความหมายของสภาวะธรรมที่อีกฝ่ายต้องการสื่อ

ที่ถามมาว่า อนัตตามีสภาวะธรรมอย่างไร ก็ขอตอบว่า...
อนัตตาเป็นสภาวะธรรมที่มีเหตุปัจจัยสองเหตุปัจจัย จึงทำให้สภาวะธรรมของอนัตตามีสองสภาวะ

นั้นคือ อนัตตาอันมีเหตุปัจจัยมาจาก การเกิดขึ้นตั้งอยู่และดับไป
และอนัตตาอันมีเหตุมาจาก ไม่มีการเกิดดับ เมื่อตั้งอยู่ไม่มีการแปรปวน

ดังนั้นอนัตตาจึงเป็นสองสภาวะธรรมที่แตกต่างตามเหตุปัจจัย

แนะนำเช่นนั้นถ้าจะถามถึงสภาวะธรรม ดูที่กายใจของตัวเองประกอบไปด้วย
เพราะสภาวะธรรมของใครก็ของคนนั้น ถ้าเช่นนั้นจะถามเป็นเรือแล่นวนในอ่างแบบนี้
ก็ขอให้สำเหนียกว่า การปฏิบัติธรรมไม่ต้องใช้แผนที่ แต่ใช้กายใจตัวเองนั้นแหล่ะ :b13:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 มิ.ย. 2013, 05:20 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


cantona_z เขียน:
สัพเพธัมมา อนัตตา
ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา

สังขตธรรมก็เป็นธรรม
อสังขตธรรมก็เป็นธรรม

ทั้งหมดล้วนเป็นอนัตตา
ไม่ใช่อัตตา
ไม่ใช่ตัวเรา ไม่ใช่ของเรา
ไม่สามารถบังคับควบคุมได้ตามต้องการ

ปัญญาก็เป็นสภาวะธรรมย่อมเป็นอนัตตาเช่นกัน

ปัญญาจัดเป็นสังขารเจตสิก

เพราะเราไม่ยอมให้ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา
ทำให้ไม่ยอมปล่อยวาง อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เหมือนกับที่ว่า รู้แล้วยังไม่ยอมปล่อย

ดังนั้นการไม่ยอมปล่อยวางสังขตธรรมจึงเป็นอัตตา

การที่จะให้ธรรมทั้งมวลเป็นอนัตตา
จะต้องปล่อยวางสังขารที่เป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ลงเสียก่อน
จึงจะเรียกว่า ธรรมทั้งมวลเป็นอนัตตาได้


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 มิ.ย. 2013, 12:47 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
อนัตตา เป็นสภาวะธรรมหรือไม่? โฮฮับ

ก็รู้อยู่แล้วว่าไม่เข้าใจคำตอบ เพราะถามในสิ่งที่ตัวเองก็ไม่เข้า
ผลก็ย่ำอยู่กับที่ไม่ได้ไปไหนเลย

ชัดๆน่ะ อนัตตาเป็นสภาวะธรรมและไม่เป็นสภาวะธรรม

เอางี้ผมถามเช่นนั้นดีกว่าว่า เช่นนั้นเข้าใจเรื่องสภาวะธรรมหรือเปล่า
เช่นนั้นเข้าใจว่า สภาวะธรรมคืออะไร :b32:

เมื่อโฮฮับ ยอมรับว่า อนัตตา เป็นสภาวะธรรม และไม่เป็นสภาวธรรม

ก่อนจะลงลึกลงไปอีก

ถาม โฮฮับ ว่า นิพพาน เป็นสภาวะธรรม หรือไม่?????

นิพพานมีทั้งที่เป็นสภาวะธรรมและไม่เป็นสภาวะธรรม นี้คือคำตอบของผม



โฮฮับ บอกว่า นิพพานมีทั้งที่เป็นสภาวะธรรม และไม่เป็นสภาวะธรรม

ถามโฮฮับต่อ
อนัตตา มีสภาวะธรรมอย่างไร?

การจะรู้สภาวะธรรมได้บุคคลจะต้องมีปัญญาหรือมีญานรู้เหตุปัจจัย
มันไม่ใช่มาบอกว่า สภาวะธรรมเป็นอย่างโน้นอย่างนี้ การพูดเช่นนี้ล้วนแล้วแต่เป็นบัญญัติ
ผู้ที่มีปัญญาสัมมาทิฐิแล้ว เขาจะคุยเรื่องสภาวะธรรม เขาจะคุยแต่เหตุปัจจัยที่ทำให้เกิดสภาวะนั้นๆ
การพูดถึงเหตุปัจจัยจะทำให้คู่สนทนาที่มีปัญญาเข้าใจ ความหมายของสภาวะธรรมที่อีกฝ่ายต้องการสื่อ

ที่ถามมาว่า อนัตตามีสภาวะธรรมอย่างไร ก็ขอตอบว่า...
อนัตตาเป็นสภาวะธรรมที่มีเหตุปัจจัยสองเหตุปัจจัย จึงทำให้สภาวะธรรมของอนัตตามีสองสภาวะ

นั้นคือ อนัตตาอันมีเหตุปัจจัยมาจาก การเกิดขึ้นตั้งอยู่และดับไป
และอนัตตาอันมีเหตุมาจาก ไม่มีการเกิดดับ เมื่อตั้งอยู่ไม่มีการแปรปวน

ดังนั้นอนัตตาจึงเป็นสองสภาวะธรรมที่แตกต่างตามเหตุปัจจัย

แนะนำเช่นนั้นถ้าจะถามถึงสภาวะธรรม ดูที่กายใจของตัวเองประกอบไปด้วย
เพราะสภาวะธรรมของใครก็ของคนนั้น ถ้าเช่นนั้นจะถามเป็นเรือแล่นวนในอ่างแบบนี้
ก็ขอให้สำเหนียกว่า การปฏิบัติธรรมไม่ต้องใช้แผนที่ แต่ใช้กายใจตัวเองนั้นแหล่ะ :b13:


ตามสบายโฮฮับ
นอนกอด อนัตตาสองสภาวะ ต่อไปนะโฮฮับ

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 มิ.ย. 2013, 19:13 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 2
สมาชิก ระดับ 2
ลงทะเบียนเมื่อ: 07 มี.ค. 2013, 20:15
โพสต์: 91

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
เพราะเราไม่ยอมให้ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา
ทำให้ไม่ยอมปล่อยวาง อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เหมือนกับที่ว่า รู้แล้วยังไม่ยอมปล่อย

ดังนั้นการไม่ยอมปล่อยวางสังขตธรรมจึงเป็นอัตตา

การที่จะให้ธรรมทั้งมวลเป็นอนัตตา
จะต้องปล่อยวางสังขารที่เป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ลงเสียก่อน
จึงจะเรียกว่า ธรรมทั้งมวลเป็นอนัตตาได้


การไม่ยอมปล่อยวางคืออุปาทาน
ไม่ยอมปล่อยวางขันธ์คืออุปาทานขันธ์

ขันธ์ เป็นไตรลักษณ์
อุปาทานขันธ์ก็เป็นไตรลักษณ์
อุปาทานก็เป็นไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์มีอนิจจังทุกขังอนัตตา
อุปาทานก็เป็นอนัตตา
ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา

เพราะมีตัณหาเป็นปัจจัยอุปาทานจึงมี
ตัณหาหมด อุปาทานก็หมดด้วย


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 มิ.ย. 2013, 03:01 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


cantona_z เขียน:
โฮฮับ เขียน:
เพราะเราไม่ยอมให้ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา
ทำให้ไม่ยอมปล่อยวาง อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เหมือนกับที่ว่า รู้แล้วยังไม่ยอมปล่อย

ดังนั้นการไม่ยอมปล่อยวางสังขตธรรมจึงเป็นอัตตา

การที่จะให้ธรรมทั้งมวลเป็นอนัตตา
จะต้องปล่อยวางสังขารที่เป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ลงเสียก่อน
จึงจะเรียกว่า ธรรมทั้งมวลเป็นอนัตตาได้


การไม่ยอมปล่อยวางคืออุปาทาน
ไม่ยอมปล่อยวางขันธ์คืออุปาทานขันธ์

การไม่ยอมปล่อยวาง........ไม่ใช่อุปาทาน
การไม่ยอมปล่อยวางตัณหา......จึงเกิดขันธ์หรืออุปาทานขันธ์

ทั้งอุปาทานและขันธ์เป็นธรรมคนละส่วนกัน
อุปาทานเป็น.......ธรรมฐิติ(ปฏิจจสมุบาท อิทัปปัจยตา)
ขันธ์ห้าเป็น......ธรรมนิยาม


การไม่ยอมปล่อยวางตัณหาจึงทำให้เกิดอัตตา และตัวอัตตาที่แท้ก็คือ.....
อุปาทานขันธ์ห้า
cantona_z เขียน:
ขันธ์ เป็นไตรลักษณ์
อุปาทานขันธ์ก็เป็นไตรลักษณ์
อุปาทานก็เป็นไตรลักษณ์

ขันธ์และอุปาทานขันธ์เป็นตัวเดียวกัน เป็นไตรลักษณ์

แต่อุปาทานไม่ใช่ไตรลักษณ์ อุปาทานไม่ใช่สังขาร
อุปาทานเป็นธรรมชาติ อยู่ในหลักแห่งธรรมฐิติ
จะมีเราหรือไม่มีเราอยู่ อุปาทานหรือธรรมฐิติก็ยังคงอยู่

cantona_z เขียน:
ไตรลักษณ์มีอนิจจังทุกขังอนัตตา
อุปาทานก็เป็นอนัตตา
ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา

อุปาทานเป็นธรรมฐิติ จึงเป็นอนัตตา
ขันธ์ห้าหรืออุปาทานขันธฺ์ เป็นธรรมนิยาม จึงเป็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
cantona_z เขียน:
เพราะมีตัณหาเป็นปัจจัยอุปาทานจึงมี
ตัณหาหมด อุปาทานก็หมดด้วย

ทั้งตัณหาและอุปาทาน ล้วนแล้วแต่เป็นธรรมฐิติ
ธรรมฐิติหรือปฏิจจสมุบาท(อิทัปปจยตา) เป็นธรรมชาติ
พระพุทธองค์ ทรงตรัสว่า แม้ความมีอยู่หรือไม่มีอยู่ของพระองค์ ธรรมฐิติก็ยังคงอยู่

สิ่งที่ต้องทำให้หมดไปนั้นก็คือ.....ขันธ์ห้าหรืออุปาทานขันธ์


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 มิ.ย. 2013, 08:52 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 4
สมาชิก ระดับ 4
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 ต.ค. 2010, 10:42
โพสต์: 249

แนวปฏิบัติ: ไม่เอา ไม่เป็น ไม่ยึด
สิ่งที่ชื่นชอบ: ทุกเล่มของท่านพุทธทาส
อายุ: 32
ที่อยู่: สงขลา

 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
สิ่งที่ต้องทำให้หมดไปนั้นก็คือ.....ขันธ์ห้าหรืออุปาทานขันธ์


:b8: คุณโฮฮับ

ถ้าการทำให้หมดไปหมายถึง วาง ปล่อย ไม่ยุ่ง ไม่เอากะมัน
ผมพอจะเข้าใจที่คุณโฮฮับกล่าวได้ครับ

แต่ถ้าไม่ใช่ ก็รบกวนคุณโฮ อธิบายในสิ่งที่กล่าวเพิ่มเติมครับ

:b8:

.....................................................
วงว่างยงอยู่ยั้ง อนันตกาล
ในถิ่นที่ทุกสถาน แหล่งหล้า
ยึดมั่นไป่พบพาน ประจักษ์
ยามปล่อยหยุดไขว่คว้า ถึงได้โดยพลัน


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 มิ.ย. 2013, 10:34 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5019


 ข้อมูลส่วนตัว


:b1: :b12: :b12: :b1:

:b1: :b1: :b1:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 มิ.ย. 2013, 03:04 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โกเมศวร์ เขียน:
อ้างคำพูด:
สิ่งที่ต้องทำให้หมดไปนั้นก็คือ.....ขันธ์ห้าหรืออุปาทานขันธ์


:b8: คุณโฮฮับ

ถ้าการทำให้หมดไปหมายถึง วาง ปล่อย ไม่ยุ่ง ไม่เอากะมัน
ผมพอจะเข้าใจที่คุณโฮฮับกล่าวได้ครับ

แต่ถ้าไม่ใช่ ก็รบกวนคุณโฮ อธิบายในสิ่งที่กล่าวเพิ่มเติมครับ

:b8:

ความหมายของการทำให้ขันธ์ห้าหมดไป ไม่ใช่ไปทำตรงขันธ์ห้านะครับ
ขันธ์มันเกิดตามเหตุปัจจัย เมื่อเหตุดับหรือไม่มีเหตุมันก็ไม่มีขันธ์ห้า
ดังนั้นการไม่ให้เกิดขันธ์ห้าเราจึงต้องดับเหตุที่ทำให้เกิดขันธ์ห้า

และเหตุที่ทำให้ขันธ์ห้าก็คือ...
สังโยชน์และตัณหา สังโยขน์เป็นสิ่งที่ตามติดเราในภพชาติ แต่ตัณหาเป็นธรรมชาติ
การที่ขันธ์ห้าจะเกิดได้นั้นสังโยชน์และตัณหา จะต้องแสดงอาการร่วมกัน
หรือเรียกว่าเป็นปัจจัยร่วมกัน .....
ความหมายของปัจจัยร่วมก็คือ จะขาดตัวใดตัวหนึ่งไม่ได้
การทำงานต้องทำร่วมกัน


การที่จะไม่ให้มีขันธ์ห้า เราต้องดับเหตุที่ทำให้เกิดขันธ์ห้า เหตุก็คือสังโยชน์และตัณหา
ตามที่ได้บอกว่า ตัณหาเป็นธรรมชาติ เป็นสิ่งที่นอกกายใจ(เรารับมันโดยผัสสะ)
เมื่อมันเข้ามาร่วมกับอนุสัยสังโยชน์ในใจเรา นั้นแหล่ะมันจึงเป็นเหตุปัจจัยร่วม
ทำให้เกิดขันธ์ห้า

เมื่อตัณหาผ่านมาทางผัสสะก็เข้ามาร่วมกับสังโยชน์ที่อยู่ในกายใจเรา
สังโยชน์ที่อยู่ในกายใจเรา ถ้ายังไม่เป็นปัจจัยร่วมกับตัณหา เราเรียกว่า....
อนุสัยกิเลสหรือขันธสันดาน

ตัณหาเป็นธรรมชาติภายนอกกายใจ อนุสัยสังโยชน์ เป็นกิเลสที่จมแช่ในกายใจ
ดังที่กล่าวมาตัณหาเป็นธรรมชาติ จะมีเราหรือไม่มีเรา
มันก็คงยังเป็นตัณหาเป็นธรรมชาติอยู่อย่างนั้น

เหตุปัจจัยที่จะต้องดับและสามารถดับได้นั้นก็คือกิเลสในใจหรืออนุสัย(สังโยชน์)
ซึ่งวิธีการดับอนุสัยสังโยชน์นั้น พระพุทธองค์สอนให้ใช้...
สติปัฏฐานสี่ ธรรมหนึ่งในโพธิปักฯ


จากคำพูดของคุณโกเมศวร์ .......

โกเมศวร์ เขียน:
:b8: คุณโฮฮับ

ถ้าการทำให้หมดไปหมายถึง วาง ปล่อย ไม่ยุ่ง ไม่เอากะมัน
ผมพอจะเข้าใจที่คุณโฮฮับกล่าวได้ครับ
แต่ถ้าไม่ใช่ ก็รบกวนคุณโฮ อธิบายในสิ่งที่กล่าวเพิ่มเติมครับ:b8:



ถ้าการทำให้หมดไปหมายถึง.....อนุสัยสังโยขน์

วาง ปล่อย ไม่ยุ่ง ไม่เอากะมัน......ตัณหา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 มิ.ย. 2013, 16:27 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 4
สมาชิก ระดับ 4
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 ต.ค. 2010, 10:42
โพสต์: 249

แนวปฏิบัติ: ไม่เอา ไม่เป็น ไม่ยึด
สิ่งที่ชื่นชอบ: ทุกเล่มของท่านพุทธทาส
อายุ: 32
ที่อยู่: สงขลา

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8: คุณโฮฮับ

ขอบคุณมากครับ
คงได้สนทนากันอีก

:b8:

.....................................................
วงว่างยงอยู่ยั้ง อนันตกาล
ในถิ่นที่ทุกสถาน แหล่งหล้า
ยึดมั่นไป่พบพาน ประจักษ์
ยามปล่อยหยุดไขว่คว้า ถึงได้โดยพลัน


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 41 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร