วันเวลาปัจจุบัน 16 ก.ค. 2025, 22:46  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 63 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ธ.ค. 2013, 16:02 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ขอแทรกคำถามว่า ทำไม ทุกข์ที่เป็นธรรมดาของธรรมชาติ (ทุกข์ในไตรลักษณ์) จึงกลายมาเป็นทุกข์ (ทุกขอริยสัจ) ของคนได้ :b1:



เข้าเรื่องนะ ถามโฮฮับเลย ลองแสดงความเห็นสิ นั่นน่ะ :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ธ.ค. 2013, 17:14 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
หัวข้อกระทู้ "ธรรมะไม่ใช่ธรรมชาติ" คือปฏิเสธว่าธรรมะกับธรรมชาติ คนละอย่างคนละความหมายกัน ใช่ไหมล่ะ :b10:

แต่กรัชกายไม่เห็นด้วย ก็จึงเอาธรรมะ หรือ ธรรมชาติ มาลงแทียบให้เห็น ถึงขนาดนี้แล้วโฮฮับยังเห็นว่า คนละอย่าง ก็แย้งไปซี่ :b12: ว่าไปตามความเห็นของตน ส่วนกรัชกายก็จะหาหลักมาวางจนเห็นว่าครบแล้วก็ไป ไม่อยู่หรอก ไม่ต้องไล่ :b13:


วันหลังเอามาให้มันเป็นประเด็นไป เน้นธรรมไปเลยว่า บัญญัติไหนสภาวะไหน
ไม่ใช่เอามาในลักษณะของบทความ แบบนี้มันจับประเด็น เอาไปเทียบเคียงสภาวธรรมไม่ได้

สรุปให้ฟังสั้น มันไม่ใช่การทำธรรมะให้แจ้ง แต่มันเป็นเรื่องของ
คนที่หยิบเอาพุทธพจน์มาฟุ้งปรุงแต่ง มันสวนทางกับคำสอนของพุทธองค์ที่ว่าด้วย
....สัจฉิกัตถปรมัตถ์...เข้าใจมั้ย


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ธ.ค. 2013, 17:34 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ขอแทรกคำถามว่า ทำไม ทุกข์ที่เป็นธรรมดาของธรรมชาติ (ทุกข์ในไตรลักษณ์) จึงกลายมาเป็นทุกข์ (ทุกขอริยสัจ) ของคนได้ :b1:



เข้าเรื่องนะ ถามโฮฮับเลย ลองแสดงความเห็นสิ นั่นน่ะ :b1:


ตั้งคำถามยังผิดเลย .....ทุกข์ในไตรลักษณ์ ไม่ใช่ทุกขอริยสัจจ์

ทุกข์ในไตรลักษณ์ เป็น...ทุกขสมุทัย ในอริยสัจจ์สี่


และทำไมถึงมาเป็นทุกขสมุทัยได้ก็เพราะ สังขารหรือที่เรียกว่า
รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาน .... มันเป็นสภาวะที่เกิด ตั้งอยู่ ดับไป
ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เมื่อมันเป็นเช่นนี้
จึงไม่ควรไปยึดมั่นในรูป เวทนา สัญญา สังขารวิญญาณ

แต่ด้วยจิตที่ยังเป็นอวิชา ไม่รู้ความเป็นไตรลักษณ์ของรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาน
จึงเข้าไปยึดสังขารนั้น .....มันจึงเป็นเหตุให้เกิดเป็น ...ทุกขอริยสัจจ์

อย่าลืมการยึดในสังขารหรือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาน
เป็นทุกขสมุทัย ทำให้เกิดเป็นทุกขอริยสัจจ์


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ธ.ค. 2013, 17:45 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ขอแทรกคำถามว่า ทำไม ทุกข์ที่เป็นธรรมดาของธรรมชาติ (ทุกข์ในไตรลักษณ์) จึงกลายมาเป็นทุกข์ (ทุกขอริยสัจ) ของคนได้ :b1:



อธิบายเรื่องทุกข์เพิ่มเพราะเห็นว่ายังเข้าใจผิดอยู่....

ทุกข์ที่เป็นธรรมชาติ ไม่ใช่ทุกข์ในไตรลักษณ์

ทุกข์ที่เป็นธรรมชาติ ก็คือ ทุกข์ในอริยสัจจ์สี่

ความหมายของทุกข์ในอริยสัจจ์สี่ คือ...เกิด แก่ เจ็บ ตาย(วัฏฏสงสาร)

การเกิด แก่ เจ็บ ตาย .....เป็นธรรมชาติของมนุษย์

ทุกข์ในไตรลักษณ์...ไม่ใช่เกิดจากธรรมชาติ แต่มันเกิดจากจิตที่ไปยึดสิ่งที่เป็นธรรมชาติ
สรุปก็คือมันเกิดจากการกระทำของจิต............

ตัวธรรมชาติจริงๆคือสังขารหรือรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาน


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ธ.ค. 2013, 18:10 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


หลักไตรลักษณ์

สัพเพ สังขารา อนิจจาติ สัพเพ สังขารา ทุกขาติ สัพเพ ธัมมา อนัตตาติ



ทุกข์ในไตรลักษณ์ ซึ่งเป็นธรรมดาของธรรมชาติ บางทีไปเกิดเป็นทุกข์ในอริยสัจ คือ เมื่อคนไม่รู้เข้าใจทำกับมันไม่ถูก ทุกข์ในธรรมชาติ ก็เกิดเป็นปัญหาขึ้นแก่ตัวคน

พูดในทางกลับกันว่า เพราะทุกข์ในไตรลักษณ์ ซึ่งเป็นเรื่องของธรรมชาติมีอยู่ มันมีภาวะกดอัดขัดแย้งบีบคั้นคงสภาพอยู่ไม่ได้ตามธรรมดาของมันก็จริง แต่เมื่อคนมีปัญญาไม่ถึงมัน ไม่ได้อย่างใจตัว ก็มาเกิดเป็นความกดดันอึดอัดขัดแย้งบีบคั้นขึ้นในชีวิตจิตใจของคน ทุกข์ในอริยสัจก็เลยเกิดมีเกิดเป็นขึ้นมา

พูดอีกอย่างหนึ่งว่า ทุกข์ในไตรลักษณ์ ก็เป็นธรรมชาติไปตามธรรมดาของมัน เราไปยกเลิกมันไม่ได้ ก็ต้องฝึกเจริญปัญญาขึ้นมาให้รู้เท่าทัน แล้วก็ปฏิบัติไปตามเหตุปัจจัย

แต่ทุกข์ในอริยสัจ ที่เป็นเรื่องของคนนี้ เรายกเลิกไป ทำให้หมดสิ้นไป และก็ทำอย่างนั้นได้ ด้วยการมีปัญญารู้เท่าทัน และปฏิบัติต่อทุกข์ในไตรลักษณ์คือสรรพสังขารนั่นแหละให้ถูก


ตัวอย่าง ทุกข์ในไตรลักษณ์ กลายเป็นเป็นทุกข์ในอริยสัจ (ข้อ 1) จากคนตัวอย่างนี้

อ้างคำพูด:
ดิฉันเคยไปฝึกปฏิบัติธรรม ในสายโคเอ็นก้าที่ พิษณุโลก หลักสูตร 10 วันเต็ม การพิจารณาวิปัสสนา ตามหลักสูตร เป็นไปตามขั้นตอนทุกอย่าง และรู้สึกเหมือนกับว่าการพิจารณาจะเป็นไปตามที่ครุอาจารย์แนะนำในหลักสูตร เมื่อปี 53 ที่ผ่านมา ผ่านมาหลายปีแล้ว กลับมาแรกๆก้อปฏิบัติวันละอย่างน้อย 1 ชั่วโมงตลอด ช่วงหลังห่างไม่ได้ปฏิบัติอีก มีเรื่องราวมากมายเข้ามาในชีวิตเป็นไปตามเหตุและปัจจัย แต่ดิฉันยังรู้สึกว่าเสียงที่รู้สึกได้ในจิตยังส่งเสียงอยู่ตลอดเวลา คล้ายๆกับคนสวดมนต์หรือดนตรีอะไรแว่วๆอยู่ในจิตตลอดเวลา เหมือนสัญญาณเตือนว่าให้กลับไปเส้นทางนี้ ไม่ทราบว่าเป็นการอุปาทานเองไปมั๊ย เคยปรึกษาพี่ที่เป็นเสมือนญาติธรรมกัน ท่านว่าเป็นสัญญาณความทรงจำเก่าจากอดีตชาติอย่าไปยึดติด แต่ทุกครั้งที่จิตว่างๆ จากการงานธุระ หรือไม่มีเรื่องให้คิด เสียงนี้จะผุดขึ้นมาตลอดเวลา ขอความอนุเคราะห์ผู้รู้ทั้งหลายในลานธรรมช่วยชี้แนะด้วยค่ะ



มันเป็นทุกข์ไตรลักษณ์ แล้วกลายเป็นทุกข์อริยสัจ เพราะคนอุปาทานชีวิต (เรียกรวมเลย) :b1: หมายความว่าตนปฏิบัติต่อทุกข์ในไตรลักษณ์ไม่ถูก มันจึงกลายมาเป็นทุกข์ของคน

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ธ.ค. 2013, 19:04 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
หลักไตรลักษณ์

สัพเพ สังขารา อนิจจาติ สัพเพ สังขารา ทุกขาติ สัพเพ ธัมมา อนัตตาติ



ทุกข์ในไตรลักษณ์ ซึ่งเป็นธรรมดาของธรรมชาติ บางทีไปเกิดเป็นทุกข์ในอริยสัจ คือ เมื่อคนไม่รู้เข้าใจทำกับมันไม่ถูก ทุกข์ในธรรมชาติ ก็เกิดเป็นปัญหาขึ้นแก่ตัวคน

พูดในทางกลับกันว่า เพราะทุกข์ในไตรลักษณ์ ซึ่งเป็นเรื่องของธรรมชาติมีอยู่ มันมีภาวะกดอัดขัดแย้งบีบคั้นคงสภาพอยู่ไม่ได้ตามธรรมดาของมันก็จริง แต่เมื่อคนมีปัญญาไม่ถึงมัน ไม่ได้อย่างใจตัว ก็มาเกิดเป็นความกดดันอึดอัดขัดแย้งบีบคั้นขึ้นในชีวิตจิตใจของคน ทุกข์ในอริยสัจก็เลยเกิดมีเกิดเป็นขึ้นมา

พูดอีกอย่างหนึ่งว่า ทุกข์ในไตรลักษณ์ ก็เป็นธรรมชาติไปตามธรรมดาของมัน เราไปยกเลิกมันไม่ได้ ก็ต้องฝึกเจริญปัญญาขึ้นมาให้รู้เท่าทัน แล้วก็ปฏิบัติไปตามเหตุปัจจัย

แต่ทุกข์ในอริยสัจ ที่เป็นเรื่องของคนนี้ เรายกเลิกไป ทำให้หมดสิ้นไป และก็ทำอย่างนั้นได้ ด้วยการมีปัญญารู้เท่าทัน และปฏิบัติต่อทุกข์ในไตรลักษณ์คือสรรพสังขารนั่นแหละให้ถูก


ตัวอย่าง ทุกข์ในไตรลักษณ์ กลายเป็นเป็นทุกข์ในอริยสัจ (ข้อ 1) จากคนตัวอย่างนี้

อ้างคำพูด:
ดิฉันเคยไปฝึกปฏิบัติธรรม ในสายโคเอ็นก้าที่ พิษณุโลก หลักสูตร 10 วันเต็ม การพิจารณาวิปัสสนา ตามหลักสูตร เป็นไปตามขั้นตอนทุกอย่าง และรู้สึกเหมือนกับว่าการพิจารณาจะเป็นไปตามที่ครุอาจารย์แนะนำในหลักสูตร เมื่อปี 53 ที่ผ่านมา ผ่านมาหลายปีแล้ว กลับมาแรกๆก้อปฏิบัติวันละอย่างน้อย 1 ชั่วโมงตลอด ช่วงหลังห่างไม่ได้ปฏิบัติอีก มีเรื่องราวมากมายเข้ามาในชีวิตเป็นไปตามเหตุและปัจจัย แต่ดิฉันยังรู้สึกว่าเสียงที่รู้สึกได้ในจิตยังส่งเสียงอยู่ตลอดเวลา คล้ายๆกับคนสวดมนต์หรือดนตรีอะไรแว่วๆอยู่ในจิตตลอดเวลา เหมือนสัญญาณเตือนว่าให้กลับไปเส้นทางนี้ ไม่ทราบว่าเป็นการอุปาทานเองไปมั๊ย เคยปรึกษาพี่ที่เป็นเสมือนญาติธรรมกัน ท่านว่าเป็นสัญญาณความทรงจำเก่าจากอดีตชาติอย่าไปยึดติด แต่ทุกครั้งที่จิตว่างๆ จากการงานธุระ หรือไม่มีเรื่องให้คิด เสียงนี้จะผุดขึ้นมาตลอดเวลา ขอความอนุเคราะห์ผู้รู้ทั้งหลายในลานธรรมช่วยชี้แนะด้วยค่ะ



มันเป็นทุกข์ไตรลักษณ์ แล้วกลายเป็นทุกข์อริยสัจ เพราะคนอุปาทานชีวิต (เรียกรวมเลย) :b1: หมายความว่าตนปฏิบัติต่อทุกข์ในไตรลักษณ์ไม่ถูก มันจึงกลายมาเป็นทุกข์ของคน


ขี้เกียจพูดซ้ำๆ เอาเฉพาะท่อนสุดท้าย.....มันไม่ใช่ปฏิบัติต่อทุกข์ในไตรลักษณ์

สภาวะธรรมของไตรลักษณ์ เรียกว่าสังขตลักษณะ...เกิดขึ้นตั้งอยู่ดับไป
ลักษณะแบบนี้ ถ้าจิตไปพัวพัน มันจะทำให้ทุกข์


แต่ถ้าจิตของผู้ใดเป็นวิชชาแล้ว จะเป็นเพียงผู้รู้ดูการ เกิดขึ้น ตั้งอยู่และดับไปของสังขาร
เรียกว่าดูเฉย ไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยว นี่แบบนี้มันก็ไม่ทุกข์ ไม่เกิดอัตตาตัวตน


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ธ.ค. 2013, 19:37 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว




1375241010-1370203825-o.gif
1375241010-1370203825-o.gif [ 497.16 KiB | เปิดดู 2898 ครั้ง ]
นำมาเต็มๆ :b1:

ติลักขณาคาถา (คาถาลักษณะสาม)

1. สัพเพ สังขารา อะนิจจาติ ยะทา ปัญญายะ ปัสสะติ
อะถะ นิพพินทะติ ทุกเข เอสะ มัคโค วิสุทธิยา

2. สัพเพ สังขารา ทุกขาติ ยะทา ปัญญายะ ปัสสะติ
อะถะ นิพพินทะติ ทุกเข เอสะ มัคโค วิสุทธิยา

3. สัพเพ ธัมมา อนัตตาติ ยะทา ปัญญายะ ปัสสะติ
อะถะ นิพพินทะติ ทุกเข เอสะ มัคโค วิสุทธิยา.

คำแปล

1. ในกาลใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า สังขารทั้งปวง ไม่เที่ยง
ในกาลนั้น เขาย่อมหน่ายในทุกข์ นั่นเป็นทางแห่งความบริสุทธิ์

2. . ในกาลใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า สังขารทั้งปวง เป็นทุกข์
ในกาลนั้น เขาย่อมหน่ายในทุกข์ นั่นเป็นทางแห่งความบริสุทธิ์

3. ในกาลใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า ธรรมทั้งปวง ไม่ใช่อัตตา (อนัตตา)
ในกาลนั้น เขาย่อมหน่ายในทุกข์ นั่นเป็นทางแห่งความบริสุทธิ์.


ทุกข์ในไตรลักษณ์ ซึ่งเป็นธรรมดาของธรรมชาติ บางทีไปเกิดเป็นทุกข์ในอริยสัจ คือ เมื่อคนไม่รู้เข้าใจทำกับมันไม่ถูก ทุกข์ในธรรมชาติ ก็เกิดเป็นปัญหาขึ้นแก่ตัวคน

พูดในทางกลับกันว่า เพราะทุกข์ในไตรลักษณ์ ซึ่งเป็นเรื่องของธรรมชาติมีอยู่ มันมีภาวะกดอัดขัดแย้งบีบคั้นคงสภาพอยู่ไม่ได้ตามธรรมดาของมันก็จริง แต่เมื่อคนมีปัญญาไม่ถึงมัน ไม่ได้อย่างใจตัว ก็มาเกิดเป็นความกดดันอึดอัดขัดแย้งบีบคั้นขึ้นในชีวิตจิตใจของคน ทุกข์ในอริยสัจก็เลยเกิดมีเกิดเป็นขึ้นมา

พูดอีกอย่างหนึ่งว่า ทุกข์ในไตรลักษณ์ ก็เป็นธรรมชาติไปตามธรรมดาของมัน เราไปยกเลิกมันไม่ได้ ก็ต้องฝึกเจริญปัญญาขึ้นมาให้รู้เท่าทัน แล้วก็ปฏิบัติไปตามเหตุปัจจัย

แต่ทุกข์ในอริยสัจ ที่เป็นเรื่องของคนนี้ เรายกเลิกไป ทำให้หมดสิ้นไป และก็ทำอย่างนั้นได้ ด้วยการมีปัญญารู้เท่าทัน และปฏิบัติต่อทุกข์ในไตรลักษณ์คือสรรพสังขารนั่นแหละให้ถูก


ตัวอย่าง ทุกข์ในไตรลักษณ์ กลายเป็นทุกข์ในอริยสัจ (ข้อ 1) จากคนตัวอย่างนี้

อ้างคำพูด:
สองวันนี้ดิฉันไปปฏิบัติธรรมที่วัด. มีอาการเหมือนป่วยระหว่างที่เดินจงกรมระหว่างขั้น 5 - 6. ตัวมันสั่นไปหมด จุกเหมือนจะเป็นลม พยายามฝืน แต่ทนไม่ไหว มันสั่นไปทั้งตัว คิดว่า ตัวเองไม่สบาย ก็เลยมานั่งพัก. พอวันที่สอง คือ วันนี้เป็นเหมือนเดิมเป๊ะ เวลาเดิมด้วย (หมายถึงระหว่างเดินจงกรมระหว่างขั้น5-6). แม่ชีเห็นท่านบอกให้กำหนด มันคือสภาวธรรม

ดิฉันปฏิบัติธรรมมาหลายครั้ง (แต่ช่วงหลังห่างไปเป็นปี). ไม่เคยมีอาการอย่างนี้มาก่อน ถ้าเป็นสภาวธรรมอย่างที่แม่ชีว่า ทำไมดิฉันไม่เคยเป็นมาก่อน แล้วเป็นสองวันติด อาการเดียวกัน เวลาเดียวกัน


กรัชกายจะไม่พูดลอยๆ จะมีภาคปฏิบัติมา้ด้วยทุกครั้ง ถึงจะกี่ครั้งกี่ตัวอย่างปัญหาเกิดจากรากเง้าเดียวกัน :b32: คือมนุษย์ไม่เข้าใจธรรมชาติในตัวเอง เพราะมนุษย์หลงคิดไปว่า ตนเองคิด ตนเองทำ ตนเองเป็นนั่นเป็นนี่ จึงไม่เห็นสภาพธรรมะ ไม่เห็นธรรมดา ไม่เห็นธรรมชาติ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 31 ธ.ค. 2013, 05:00 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ถามโฮฮับนะ เห็นพูดมาเป็นปีๆแล้ว "จิต" อะไรๆ ก็จิตๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ ถามนะ จิตเป็นธรรมไหม เป็นธรรมชาติ (ธรรม+ชาติ) ไหม ? :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 31 ธ.ค. 2013, 06:08 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
นำมาเต็มๆ :b1:

ติลักขณาคาถา (คาถาลักษณะสาม)

1. สัพเพ สังขารา อะนิจจาติ ยะทา ปัญญายะ ปัสสะติ
อะถะ นิพพินทะติ ทุกเข เอสะ มัคโค วิสุทธิยา

2. สัพเพ สังขารา ทุกขาติ ยะทา ปัญญายะ ปัสสะติ
อะถะ นิพพินทะติ ทุกเข เอสะ มัคโค วิสุทธิยา

3. สัพเพ ธัมมา อนัตตาติ ยะทา ปัญญายะ ปัสสะติ
อะถะ นิพพินทะติ ทุกเข เอสะ มัคโค วิสุทธิยา.

คำแปล

1. ในกาลใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า สังขารทั้งปวง ไม่เที่ยง
ในกาลนั้น เขาย่อมหน่ายในทุกข์ นั่นเป็นทางแห่งความบริสุทธิ์

2. . ในกาลใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า สังขารทั้งปวง เป็นทุกข์
ในกาลนั้น เขาย่อมหน่ายในทุกข์ นั่นเป็นทางแห่งความบริสุทธิ์

3. ในกาลใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า ธรรมทั้งปวง ไม่ใช่อัตตา (อนัตตา)
ในกาลนั้น เขาย่อมหน่ายในทุกข์ นั่นเป็นทางแห่งความบริสุทธิ์.


มั่วส่งเดช! สอนเท่าไรไม่จำว่า ดูธรรมะต้องดูที่เหตุ
นั้นหมายความว่า ..............ต้องรู้ว่า สภาวะใดเป็นเหตุให้เกิดบัญญัตินั้นขึ้น
นี้จึงจะตรงกับหลัก การทำให้แจ้งโดยปรมัตถ์

ไอ้ที่ยกมามันเป็น.....ธรรมฐิติ ธรรมนิยาม ที่พระพุทธองค์ทรงบัญญัติขึ้นจากสภาวะ
ที่พระพุทธองค์ทรงไปเห็น และสิ่งที่พระพุทธองค์ทรงเห็นก็คือ....
สังขารและลักษณะของสังขาร(ติลักขณะ)

สิ่งที่เป็นติลักขณะแท้ๆตามพุทธพจน์ก็คือ.....ลักษณะของสังขารหรือสังขตธรรม
เอาพุทธวจนมาให้ดู........


.........................................."สังขตสูตร
[๔๘๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สังขตลักษณะของสังขตธรรม ๓
ประการ ๓ ประการเป็นไฉน คือ ความเกิดขึ้นปรากฏ ๑
ความเสื่อมปรากฏ ๑ เมื่อตั้งอยู่ความแปรปรวนปรากฏ ๑
ดูกรภิกษุทั้งหลาย สังขตลักษณะของสังขต-
*ธรรม ๓ ประการนี้แล ฯ

http://www.84000.org/tipitaka/pitaka2/v ... agebreak=0

อยากจะบอกเอาไว้ กับคำว่า ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ ไม่ใช่พุทธพจน์ ไตรลักษณ์เป็นคำที่ ครูบาอาจารย์รุ่นหลังท่านบัญญัติขึ้นเอง
ดังนั้น การนำคำว่า ไตรลักษณ์มาใช้ เราต้องแยกแยะให้ดีว่า
เราจะให้ความหมายของไตรลักษณ์เป็น ธรรมนิยามหรือสังขตลักษณะ(ติลักขณะ)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 31 ธ.ค. 2013, 06:54 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ทุกข์ในไตรลักษณ์ ซึ่งเป็นธรรมดาของธรรมชาติ บางทีไปเกิดเป็นทุกข์ในอริยสัจ คือ เมื่อคนไม่รู้เข้าใจทำกับมันไม่ถูก ทุกข์ในธรรมชาติ ก็เกิดเป็นปัญหาขึ้นแก่ตัวคน

พูดในทางกลับกันว่า เพราะทุกข์ในไตรลักษณ์ ซึ่งเป็นเรื่องของธรรมชาติมีอยู่ มันมีภาวะกดอัดขัดแย้งบีบคั้นคงสภาพอยู่ไม่ได้ตามธรรมดาของมันก็จริง แต่เมื่อคนมีปัญญาไม่ถึงมัน ไม่ได้อย่างใจตัว ก็มาเกิดเป็นความกดดันอึดอัดขัดแย้งบีบคั้นขึ้นในชีวิตจิตใจของคน ทุกข์ในอริยสัจก็เลยเกิดมีเกิดเป็นขึ้นมา

พูดอีกอย่างหนึ่งว่า ทุกข์ในไตรลักษณ์ ก็เป็นธรรมชาติไปตามธรรมดาของมัน เราไปยกเลิกมันไม่ได้ ก็ต้องฝึกเจริญปัญญาขึ้นมาให้รู้เท่าทัน แล้วก็ปฏิบัติไปตามเหตุปัจจัย


อยากรู้จริงๆใครมันสอนธรรมแบบนี้ นี้มันเป็นการสอนแบบชาวบ้านปุถุชน
ไม่มีสาระในพระอภิธรรมแม้แต่น้อย ดันเอาเรื่องเพ้อเจ้อมาพูดเหม็นฟุ้งไปหมด
จะพูดถึงพระอภิธรรม จะต้องเอาแต่พุทธพจน์ในแต่ล่ะคำ มาอธิบายให้ถึงสภาวะธรรม
ไม่ใช่เอาเนื้ออะไรก็ไม่รู้มาผสมกับพุทธพจน์ แล้วโยงกันไปโยงกันมา...แบบนี้เมื่อไรจะรู้สภาวะ

จำไว้ ธรรมชาติทั้งมวลไม่มีทุกข์
ธรรมชาติทั้งมวล เป็นอนัตตาเพียงอย่างเดียว

การที่เราทุกข์นั้นเป็นเพราะเราเข้าไปยึดตัว ...ธรรมฐิติ
ธรรมฐิติก็คือ ปฏิจจ์และสังขาร
สังขารเกิดจากปฏิจจ์(นามรูป) ตามกฎอิทัปปัจยตา นี่แหล่ะธรรมชาติ เป็น อนัตตา

อนิจจังและทุกข์เกิดเพราะจิต เข้าไปยึดในตัวสังขาร นั้นคือเข้าไปยึดธรรมชาติ


กรัชกาย เขียน:
พูดอีกอย่างหนึ่งว่า ทุกข์ในไตรลักษณ์ ก็เป็นธรรมชาติไปตามธรรมดาของมัน เราไปยกเลิกมันไม่ได้ ก็ต้องฝึกเจริญปัญญาขึ้นมาให้รู้เท่าทัน แล้วก็ปฏิบัติไปตามเหตุปัจจัย

แต่ทุกข์ในอริยสัจ ที่เป็นเรื่องของคนนี้ เรายกเลิกไป ทำให้หมดสิ้นไป และก็ทำอย่างนั้นได้ ด้วยการมีปัญญารู้เท่าทัน และปฏิบัติต่อทุกข์ในไตรลักษณ์คือสรรพสังขารนั่นแหละให้ถูก


พูดแบบนี้เป็นการพูดที่ขาดความเข้าใจในไตรลักษณ์ แสดงให้รู้ว่าคนพูดยังไม่เคยเห็นไตรลักษณ์
แก่นธรรมของทุกข์ในไตรลักษณ์ก็คือ..............สังขตลักษณะเป็นสภาวะตามธรรมชาติ
ความหมายนี้คือ จิตเป็นผู้ดู ไม่ได้ยึดตัวสภาวะนั้น

ความสำคัญของเนื้อหาตอนนี้ ต้องมีสมาธิแยกจิตกับไตรลักษณ์ออกจากกันก่อน
มันถึงจะรู้เรื่อง ที่ทุกข์เพราะจิตเป็นตัวทุกข์ ไม่ใช่ไตรลักษณ์เป็นตัวทุกข์
ไตรลักษณ์ทุกข์ไม่ได้ เพราะไตรลักษณ์เป็นสภาวะที่เกิดแล้วก็ดับ ไม่มีตัวตน


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 31 ธ.ค. 2013, 07:12 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:
สองวันนี้ดิฉันไปปฏิบัติธรรมที่วัด. มีอาการเหมือนป่วยระหว่างที่เดินจงกรมระหว่างขั้น 5 - 6. ตัวมันสั่นไปหมด จุกเหมือนจะเป็นลม พยายามฝืน แต่ทนไม่ไหว มันสั่นไปทั้งตัว คิดว่า ตัวเองไม่สบาย ก็เลยมานั่งพัก. พอวันที่สอง คือ วันนี้เป็นเหมือนเดิมเป๊ะ เวลาเดิมด้วย (หมายถึงระหว่างเดินจงกรมระหว่างขั้น5-6). แม่ชีเห็นท่านบอกให้กำหนด มันคือสภาวธรรม

ดิฉันปฏิบัติธรรมมาหลายครั้ง (แต่ช่วงหลังห่างไปเป็นปี). ไม่เคยมีอาการอย่างนี้มาก่อน ถ้าเป็นสภาวธรรมอย่างที่แม่ชีว่า ทำไมดิฉันไม่เคยเป็นมาก่อน แล้วเป็นสองวันติด อาการเดียวกัน เวลาเดียวกัน


กรัชกายจะไม่พูดลอยๆ จะมีภาคปฏิบัติมา้ด้วยทุกครั้ง ถึงจะกี่ครั้งกี่ตัวอย่างปัญหาเกิดจากรากเง้าเดียวกัน :b32: คือมนุษย์ไม่เข้าใจธรรมชาติในตัวเอง เพราะมนุษย์หลงคิดไปว่า ตนเองคิด ตนเองทำ ตนเองเป็นนั่นเป็นนี่ จึงไม่เห็นสภาพธรรมะ ไม่เห็นธรรมดา ไม่เห็นธรรมชาติ


ปัญหามันอยู่ที่กรัชกายพูดลอยๆหรือไม่ แต่ปัญหามันอยู่ที่ ความไม่รู้เรื่องของกรัชกาย
มันก็เลยไปยกเอาตัวอย่างผิดๆมาอ้างอิง
สรุปก็คือมันเลอะทั้งตัวอย่างและคำอธิบายในตัวอย่าง

พี่โฮจะบอกให้ว่า ในตัวอย่างที่ยกมา ระหว่างแม่ชีกับยัยผู้หญิง
ยัยผู้หญิงน่าจะมีหนทางบรรลุธรรมมากกว่าคนสอนเสียอีก ที่รู้จักเฝ้าสังเกตุสิ่งที่เกิดขึ้น

ทั้งแม่ชีและผู้หญิง เป็นเพียงปุถุชน ย่อมต้องไม่เข้าใจในสภาวธรรม
แต่ดูแม่ชีแกตอบลูกศิษย์ว่าอาการนั้นเป็นสภาวะ แม่ชีแกมั่วตอบส่งเดช

อาการที่เกิดขึ้นมันเป็นอาการทางกาย ดันบอกมาได้เป็นสภาวธรรม
ตรงข้ามกับลูกศิษย์ที่รู้จักสังเกตุสิ่งที่ผิดปกติทางกาย นี่แหล่ะสัมปัญชัญญะ
มันเป็นจุดเริ่มแห่งการค้นหาปัญญา

ขออย่างเดียวสังเกตุอาการทางกาย แล้วอย่าฟุ้งซ่านปรุงแต่ง
จนคิดว่า ไม่หายใจหรือได้ยินเสียงหัวใจเต้นตอดๆๆๆๆ :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 31 ธ.ค. 2013, 07:23 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ถามโฮฮับนะ เห็นพูดมาเป็นปีๆแล้ว "จิต" อะไรๆ ก็จิตๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ ถามนะ จิตเป็นธรรมไหม เป็นธรรมชาติ (ธรรม+ชาติ) ไหม ? :b1:


เอาแล้วกรัชกายเริ่มออกอาการ พูดแบบนี้รู้เลยว่า อยากล้มกระดาน
กรัชกายพี่โฮถามหน่อย มันสมควรไหมกับการที่ เอาความโง่มาประชดประชันคนอื่น
การที่เราไม่รู้มันเป็นหน้าที่ของเราทีจะต้องไปค้นหาเพื่อให้รู้

ดังนั้นมันไม่ใช่เรื่อง ที่จะเอาความไม่รู้มาพาลล้มโต๊ะล้มกระดาน

จะตอบเรื่องจิต...............

จิตเป็นธรรมมะ แต่จิตไม่ใช่ธรรมชาติ
ความหมายของคำว่า.."จิตเป็นธรรมะ" จิตเป็นเพียงบัญญัติที่พระพุทธองค์บัญญัติขึ้นมา

ความหมายของ"จิตไม่เป็นธรรมชาติ" เพราะจิตสามารถอยู่ในธรรมชาติและนอกเหนือธรรมชาติได้


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 31 ธ.ค. 2013, 08:19 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ถามโฮฮับนะ เห็นพูดมาเป็นปีๆแล้ว "จิต" อะไรๆ ก็จิตๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ ถามนะ จิตเป็นธรรมไหม เป็นธรรมชาติ (ธรรม+ชาติ) ไหม ? :b1:


เอาแล้วกรัชกายเริ่มออกอาการ พูดแบบนี้รู้เลยว่า อยากล้มกระดาน
กรัชกายพี่โฮถามหน่อย มันสมควรไหมกับการที่ เอาความโง่มาประชดประชันคนอื่น
การที่เราไม่รู้มันเป็นหน้าที่ของเราทีจะต้องไปค้นหาเพื่อให้รู้

ดังนั้นมันไม่ใช่เรื่อง ที่จะเอาความไม่รู้มาพาลล้มโต๊ะล้มกระดาน

จะตอบเรื่องจิต...............

จิตเป็นธรรมมะ แต่จิตไม่ใช่ธรรมชาติ
ความหมายของคำว่า.."จิตเป็นธรรมะ" จิตเป็นเพียงบัญญัติที่พระพุทธองค์บัญญัติขึ้นมา

ความหมายของ"จิตไม่เป็นธรรมชาติ" เพราะจิตสามารถอยู่ในธรรมชาติและนอกเหนือธรรมชาติได้


อ้างคำพูด:
จิตสามารถอยู่ในธรรมชาติ และนอกเหนือธรรมชาติได้


พระเจ้าจ๊อด ทอดไข่ดาว :b32: จิต...และนอกเหนือธรรมชาติ แล้วเหนือจิตมีอะไรอีกหนอ (หรือมีระเบิดปิงปอง) คิกๆ

โฮฮับนี่ เข้าใจชีวิต (รูปธรรม นามธรรม) เข้าใจพระพุทธศาสนา เพ้อลอย ลางเลือน เหมือนคนเข้าใจเรื่องผีสาง

แล้วนี่ล่ะ จิต เจตสิก รูป ทำไงต่อล่ะทีนี้ จะไปไหนกันดี :b9: ไหนลองแสดงภูมิธรรมหน่อยดิ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 31 ธ.ค. 2013, 10:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:

อ้างคำพูด:
จิตสามารถอยู่ในธรรมชาติ และนอกเหนือธรรมชาติได้


พระเจ้าจ๊อด ทอดไข่ดาว :b32: จิต...และนอกเหนือธรรมชาติ แล้วเหนือจิตมีอะไรอีกหนอ (หรือมีระเบิดปิงปอง) คิกๆ


กรัชกายบ้าการเมืองเข้าเส้น สงสัยต้องพาไปถ้ำกระบอกแล้วล่ะมั้ง
บ้าขนาดนี้อย่าเดินไปแถวราชดำเนินน่ะ เดี๋ยวถูกพวกจิตอาสาของม็อบมันยำเอา :b32:

คุุยมาตั้งนานก็รู้ว่า กรัชกายไม่รู้ว่า โลกุตตระธรรมเป็นอย่างไร
เราปฏิบัติเพื่อนิพพานเพราะอะไร

กรัชกายไปสร้างบารมีด้วยการล้างส้วมตามวัด ถึงแม้จะไม่บรรลุ
บางทีอาจจะได้เลขเด็ดจากกองขี้ ที่หลวงพี่ลืมราดน้ำก็ได้ :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 31 ธ.ค. 2013, 10:38 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
[
โฮฮับนี่ เข้าใจชีวิต (รูปธรรม นามธรรม) เข้าใจพระพุทธศาสนา เพ้อลอย ลางเลือน เหมือนคนเข้าใจเรื่องผีสาง

แล้วนี่ล่ะ จิต เจตสิก รูป ทำไงต่อล่ะทีนี้ จะไปไหนกันดี :b9: ไหนลองแสดงภูมิธรรมหน่อยดิ


จิต เจตสิก รูป ถ้าบุคคลไม่เอาจิตไปพัวพันกับสังขาร
มันก็ตั้งอยู่ของมัน(ในกรณีที่ยังมีชีวิต) เรียกว่า ธรรมฐิติ เป็น อสังขตธรรม
จิตก็เป็นเพียงธาตุรู้ เจตสิกก็เพียงกิริยาจิต ส่วนรูปก็เป็นธาตุสี่
นี้เป็นลักษณะของการไร้อัตตาตัวตน ไม่ข้องเกี่ยวกับธรรมชาติ

สังขารหรือรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญานเป็นธรรมชาติ
เกิดจากกฎแห่งธรรมชาติ นั้นคืออิทัปปัจยตาเช่นเดียวกับปฏิจจ์
แต่แตกต่างกันที่ลักษณะ สังขารเป็น สังขตธรรม


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 63 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร