วันเวลาปัจจุบัน 26 ก.ค. 2025, 15:03  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 62 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 มิ.ย. 2017, 22:46 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5019


 ข้อมูลส่วนตัว


walaiporn เขียน:


และเป็นที่มาของปัญญาวิมุติในส่วนของ
ผู้ที่ได้วิโมกข์ ๘ ที่เป็นสัมมาสมาธิ


[๖๕]
ดูกรอานนท์ วิญญาณฐิติ ๗ อายตนะ ๒ เหล่านี้ วิญญาณฐิติ ๗
เป็นไฉน คือ-
๑. สัตว์มีกายต่างกัน มีสัญญาต่างกัน ได้แก่พวกมนุษย์ และพวกเทพ
บางพวก พวกวินิบาตบางพวก นี้เป็นวิญญาณฐิติที่ ๑
๒. สัตว์มีกายต่างกัน มีสัญญาอย่างเดียวกัน ได้แก่พวกเทพผู้นับเนื่อง
ในชั้นพรหมผู้บังเกิดด้วยปฐมฌาน และสัตว์ผู้เกิดในอบาย ๔ นี้เป็นวิญญาณ
ฐิติที่ ๒
๓. สัตว์มีกายอย่างเดียวกัน มีสัญญาต่างกัน ได้แก่พวกเทพชั้นอาภัสสร
นี้เป็นวิญญาณฐิติที่ ๓
๔. สัตว์ที่มีกายอย่างเดียวกัน มีสัญญาอย่างเดียวกัน ได้แก่พวกเทพ
ชั้นสุภกิณหะ นี้เป็นวิญญาณฐิติที่ ๔
๕. สัตว์ที่เข้าถึงชั้นอากาสานัญจายตนะด้วยมนสิการว่า อากาศหาที่สุด
มิได้ เพราะล่วงรูปสัญญา เพราะดับปฏิฆะสัญญา เพราะไม่ใส่ใจถึงนานัตตสัญญา
โดยประการทั้งปวง นี้เป็นวิญญาณฐิติที่ ๕
๖. สัตว์ที่เข้าถึงชั้นวิญญาณัญจายตนะด้วยมนสิการว่า วิญญาณหาที่สุด
มิได้ เพราะล่วงชั้นอากาสานัญจายตนะโดยประการทั้งปวง นี้เป็นวิญญาณฐิติที่ ๖
๗. สัตว์ที่เข้าถึงชั้นอากิญจัญญายตนะ ด้วยมนสิการว่า ไม่มีอะไร
เพราะล่วงชั้นวิญญาณัญจายตนะ โดยประการทั้งปวง นี้เป็นวิญญาณฐิติที่ ๗

ส่วนอายตนะอีก ๒ คือ อสัญญีสัตตายตนะ (ข้อที่ ๑) และข้อที่ ๒
คือ เนวสัญญานาสัญญายตนะ
ดูกรอานนท์ บรรดาวิญญาณฐิติทั้ง ๗ ประการนั้น วิญญาณฐิติข้อที่ ๑ มี
ว่า สัตว์มีกายต่างกัน มีสัญญาต่างกัน ได้แก่พวกมนุษย์และพวกเทพบางพวก
พวกวินิบาตบางพวก ผู้ที่รู้ชัดวิญญาณฐิติข้อนั้น รู้ความเกิดและความดับ รู้คุณ
และโทษ แห่งวิญญาณฐิติข้อนั้น และรู้อุบายเป็นเครื่องออกไปจากวิญญาณฐิติ
ข้อนั้น เขายังจะควรเพื่อเพลิดเพลินวิญญาณฐิตินั้นอีกหรือ ฯ
ไม่ควร พระเจ้าข้า ฯ

วิญญาณฐิติที่ ๗ มีว่า สัตว์ผู้เข้าถึงชั้นอากิญจัญญายตนะ ด้วยมนสิการ
ว่า ไม่มีอะไร เพราะล่วงชั้นวิญญาณณัญจายตนะโดยประการทั้งปวง ผู้ที่รู้ชัด
วิญญาณฐิติข้อนั้น รู้ความเกิดและความดับ รู้คุณและโทษ แห่งวิญญาณฐิติ
ข้อนั้น และรู้อุบายเป็นเครื่องออกไปจากวิญญาณฐิติข้อนั้น เขายังจะควร
เพลิดเพลินวิญญาณฐิตินั้นอีกหรือ ฯ
ไม่ควร พระเจ้าข้า ฯ

ดูกรอานนท์ ส่วนบรรดาอายตนะทั้ง ๒ นั้นเล่า ข้อที่ ๑ คือ อสัญญี-
*สัตตายตนะ ผู้ที่รู้ชัดอสัญญีสัตตายตนะข้อนั้น รู้ความเกิดและความดับ รู้คุณ
และโทษ แห่งอสัญญีสัตตายตนะข้อนั้น และรู้อุบายเป็นเครื่องออกไปจาก
อสัญญีสัตตายตนะข้อนั้น เขายังจะควรเพื่อเพลิดเพลินอสัญญีสัตตายตนะนั้น
อีกหรือ ฯ
ไม่ควร พระเจ้าข้า ฯ
ส่วนข้อที่ ๒ คือ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ผู้ที่รู้ชัดเนวสัญญานา-
*สัญญายตนะข้อนั้น รู้ความเกิดและความดับ รู้คุณและโทษแห่งเนวสัญญานา-
*สัญญายตนะข้อนั้น และรู้อุบายเป็นเครื่องออกไปจากเนวสัญญานาสัญญายตนะ
ข้อนั้น เขายังจะควรเพื่อเพลิดเพลินเนวสัญญานาสัญญายตนะข้อนั้นอีกหรือ ฯ
ไม่ควร พระเจ้าข้า ฯ
ดูกรอานนท์ เพราะภิกษุมาทราบชัดความเกิดและความดับทั้งคุณและโทษ
และอุบายเป็นเครื่องออกไปจากวิญญาณฐิติ ๗ และอายตนะ ๒ เหล่านี้ ตามเป็น
จริงแล้ว ย่อมเป็นผู้หลุดพ้นได้ เพราะไม่ยึดมั่น อานนท์ ภิกษุนี้เราเรียกว่า
ปัญญาวิมุตติ ฯ


.....

หมายเหตุ;

คำว่า "ย่อมเป็นผู้หลุดพ้นได้ เพราะไม่ยึดมั่น"


รูปภพ อรูปภพ ละขาดแล้ว
เพราะละความถือมั่นที่มีเกิดขึ้น ขณะจิตเป็นสมาธิ (สมถะที่เป็นสัมมมาสมาธิ)
ตั้งแต่โสดาปัตติผลจนถึงอรหันต์ ที่ได้วิโมกข์ ๘


:b8: พระสูตรนี้ถือว่าเป็นพระสูตรที่เพราะ คุณวลัยพรหยิบยกมาได้ดี

ไม่รู้ว่าท่านอโศกะจะปฏิบัติจนเข้าใจถึงเนื้อความของพระสูตรนี้รึยัง

:b1:

walaiporn เขียน:

ที่ได้นำมาอธิบายเกี่ยววิโมกข์ ๘
ไม่ได้บอกว่า เป็นส่วนของฌานวิปัสสนาขั้นสูงค่ะ


เพราะเป็นเรื่องปกติของผู้ที่มีสัมมาสมาธิ
ย่อมรู้ชัดในผัสสะ ที่มีเกิดขึ้น ขณะจิตเป็นสมาธิ



คุณวลัยพรหยิบพระสูตรมาได้ดี แต่เอกอนก็เป็นต้องงงในภายหลัง...ในทันที เมื่อพลิกไปหน้า 2

คือ....ถ้าผู้ปฏิบัติ ที่มีประสบการณ์มากพอ ได้เห็น ได้รู้ ได้เข้าใจตามเส้นทางที่ปฏิบัติมากพอ
และอ่านพระสูตรตั้งแต่ต้นจนจบ วิญญาณฐิติ 7
และอยู่ ๆ พระพุทธองค์ไม่ใช่วิญญาณฐิติ 8 และ 9 แล้ว
กลับเปลี่ยนมาเป็น อายตนะ 2

การที่เห็นอายตนะ 2 ไม่ใช่คิดหมายเอา
เป็นการที่ผู้ปฏิบัติน้อมจิตอยู่ในสมาธิ และผู้ปฏิบัติรู้ชัดอยู่ว่าจิต ณ ขณะนั้น
จิตตั้งอยู่กับอะไร

แก้วเก้า เขียน:
...

วิญญาณตัวรู้ ซึ่งปรากฏให้เห็นตลอดเวลา(อันเนื่องจากมรรคที่เพียรปฎิบัติจนเป็นสัมมามรรค
ขอกล่าวถึงคร่าวๆ นะคะ) ก็พิจารณาโดยความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เช่นกันค่ะ
จนสามารถดับวิญญาณตัวรู้ได้ ดับอวิชชาได้ กิเลสอาสวะหมดสิ้นไป หรือบางท่านจะละกิเลสบางส่วนไปได้เพราะเห็นอริยสัจด้วยปัญญาค่ะ



:b1:


แก้ไขล่าสุดโดย eragon_joe เมื่อ 18 มิ.ย. 2017, 23:41, แก้ไขแล้ว 2 ครั้ง.

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 มิ.ย. 2017, 23:38 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5019


 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
:b8:

จึงสงสัยว่าที่อธิบายเรื่อง การปฏิบัติแบบ สมถะที่มีวิปัสสนานำหน้า ที่ว่านี้ เป็นเรื่องของคนที่กำลังเดินทางเข้าสู่มรรคผลหรือเป็นเรื่องของคนที่ได้ถึงมรรค ผล นิพพานแล้วกันแน่นะครับ
:b10:

:b20:



นี่คิดว่จะมีการถึงมรรค ผล นิพพานกันแล้วเลยทีเดียว
ตั้งแต่ตอนเริ่มต้นเลือกแนวทางปฏิบัติเลยเหร๋อ... :b32:

แก้วเก้า เขียน:
การที่ผู้มากด้วยวิปัสสนาเช่นนี้ทำให้สมาธิเกิดในภายหลังค่ะ แต่ในพระสูตรท่านไม่มีการกล่าวถึงเรื่องอินทรีย์ภาวนา ฯลฯ เช่นการเจริญวิปัสสนามีสมถเป็นเบื้องต้น
ในทัศนะของผู้เขียน เห็นว่าท่านที่เจริญสมถโดยมีวิปัสสนาเป็นเบื้องต้น เป็นท่านที่มากด้วยวิปัสสนา ถ้าท่านละกิเลสอาสวะได้หมด ละอวิชชาได้ ท่านก็น่าจะเป็น ปัญญาวิมุตบุคคล แต่ถ้าอาสวะบางเหล่าของผู้นั้นสิ้นไปเพราะเห็นอริยสัจด้วยปัญญา
ก็น่าจะเป็น ทิฎฐิปัตตบุคคล สัทธาวิมุตบุคคล ธัมมานุสารีบุคคล หรือ สัทธานุสารีบุคคล ตามแต่ท่านจะเป็นผู้มากด้วย ทิฎฐิ หรือ มากด้วยศรัทธา หรือเป็นผู้ประพฤติตามธรรม หรือท่านผู้ประพฤติตามศรัทธา
ค่ะ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 มิ.ย. 2017, 00:29 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5976

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


สัมมาสมาธิ





walaiporn เขียน:



ลักษณะจิตเป็นสมาธิ หรือสมถะ ที่เป็นสัมาสมาธิ
ที่มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม ขณะจิตเป็นสมาธิ

เป็นปัจจัยให้ วิญญาณ/ธาตุรู้ มีเกิดขึ้น
หรือคำที่เรียกว่า ธรรมเอกผุด

เป็นปัจจัยให้ เกิดความรู้ชัดในรายละเอียดต่างๆ
ที่มีเกิดขึ้น ขณะจิตเป็นสมาธิในรูปฌาน อรูปฌาน ฌานสมาบัติ นิโรธสมาบัติ



......

วิหารสูตรที่ ๒

[๒๓๗] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงอนุปุพพวิหารสมาบัติ ๙ ประการนี้
เธอทั้งหลายจงฟัง ฯลฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อนุปุพพวิหารสมาบัติ ๙ ประการเป็นไฉน

เรากล่าวว่า กามทั้งหลายย่อมดับในที่ใด และท่านเหล่าใดดับกามทั้งหลายได้แล้วๆ อยู่ ในที่นั้น
ท่านเหล่านั้นไม่มีความหิว ดับแล้ว ข้ามได้แล้ว ถึงฝั่งแล้ว ด้วยองค์ฌานนั้นเป็นแน่

ผู้ใดพึงถามอย่างนี้ว่า กามทั้งหลายย่อมดับในที่ไหน
และใครดับกามทั้งหลายได้แล้วๆอยู่ เราไม่รู้ผู้นี้ เราไม่เห็นผู้นี้

เธอทั้งหลายพึงตอบผู้นั้นอย่างนี้ว่า ดูกรอาวุโส ภิกษุในธรรมวินัยนี้ สงัดจากกาม
สงัดจากอกุศลธรรม บรรลุปฐมฌาน มีวิตกวิจาร มีปีติและสุขเกิดแต่วิเวกอยู่
กามทั้งหลายย่อมดับในปฐมฌานนี้ และท่านเหล่านั้นดับกามได้แล้วๆ อยู่
ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอไม่เป็นผู้โอ้อวดไม่มีมารยาเป็นแน่ พึงชื่นชมยินดีภาษิตว่า
ดีแล้ว ครั้นแล้ว พึงนมัสการกระทำอัญชลีเข้าไปนั่งใกล้ ฯ


เรากล่าวว่า วิตกและวิจารย่อมดับในที่ใด และท่านเหล่าใดดับวิตกวิจาร
ได้แล้วๆ อยู่ในที่นั้น ท่านเหล่านั้นไม่มีความหิว ดับสนิทแล้ว ข้ามได้แล้ว
ถึงฝั่งแล้ว ด้วยองค์ฌานนั้นเป็นแน่ ผู้ใดพึงถามอย่างนี้ว่า วิตกและวิจารย่อมดับ
ในที่ไหน และใครดับวิตกวิจารแล้วๆ อยู่ เราไม่รู้ผู้นี้ เราไม่เห็นผู้นี้ เธอ
ทั้งหลายพึงตอบผู้นั้นอย่างนี้ว่า ดูกรอาวุโส ภิกษุในธรรมวินัยนี้ บรรลุทุติยฌาน
มีความผ่องใสแห่งจิตในภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตกวิจาร เพราะ
วิตกวิจารสงบไป มีปีติและสุขเกิดแก่สมาธิอยู่ วิตกวิจารย่อมดับในองค์ฌานนี้
และท่านเหล่านั้นดับวิตกวิจารได้แล้วๆ อยู่ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอเป็นผู้ไม่
โอ้อวด ไม่มีมารยาเป็นแน่ พึงชื่นชมยินดีภาษิตว่า ดีแล้ว ครั้นแล้วพึงนมัสการ
กระทำอัญชลีเข้าไปนั่งใกล้ ฯ

เรากล่าวว่า ปีติย่อมดับในที่ใด และท่านเหล่าใดดับปีติได้แล้วๆ อยู่
ท่านเหล่านั้นไม่มีความหิว ดับสนิทแล้ว ข้ามได้แล้ว ถึงฝั่งแล้ว ด้วยองค์ฌาน
นั้นเป็นแน่ ผู้ใดพึงถามอย่างนี้ว่า ก็ปีติดับในที่ไหน และใครดับปีติได้แล้วๆ อยู่
เราไม่รู้ผู้นี้ ไม่เห็นผู้นี้ เธอทั้งหลายพึงตอบผู้นั้นอย่างนี้ว่า ดูกรอาวุโส ภิกษุ
ในธรรมวินัยนี้ มีอุเบกขา มีสติ มีสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย เพราะ
ปีติสิ้นไป บรรลุตติยฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลายสรรเสริญว่า ผู้ได้ฌานนี้ เป็นผู้
มีอุเบกขา มีสติอยู่เป็นสุข ปีติย่อมดับในองค์ฌานนี้ และท่านเหล่านั้นดับปีติ
ได้แล้วๆ อยู่ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอเป็นผู้ไม่โอ้อวด ไม่มีมารยาเป็นแน่ พึงชื่น
ชมยินดีภาษิตว่า ดีแล้ว ครั้นแล้ว พึงนมัสการกระทำอัญชลีเข้าไปนั่งใกล้ ฯ

เรากล่าวว่า อุเบกขาและสุขดับในที่ใด และท่านเหล่าใดดับอุเบกขา
และสุขได้แล้วๆ อยู่ในที่นั้น ท่านเหล่านั้นไม่มีความหิว ดับสนิทแล้ว ข้าม
ได้แล้ว ถึงฝั่งแล้ว ด้วยองค์ฌานนั้นเป็นแน่ ผู้ใดพึงถามอย่างนี้ว่า ก็อุเบกขา
และสุขย่อมดับในที่ไหน และใครดับอุเบกขาและสุขได้แล้วๆ อยู่ เราไม่รู้ผู้นี้
เราไม่เห็นผู้นี้ เธอทั้งหลายพึงตอบผู้นั้นอย่างนี้ว่า ดูกรอาวุโส ภิกษุในธรรมวินัย
นี้ บรรลุจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข เพราะละสุขละทุกข์และดับโสมนัส
โทมนัสก่อนๆ ได้ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์อยู่ อุเบกขาและสุขดับในองค์
ฌานนี้แล ท่านเหล่านั้นดับอุเบกขาและสุขได้แล้วๆ อยู่ ดูกรภิกษุทั้งหลาย
เธอเป็นผู้ไม่โอ้อวด ไม่มีมารยาเป็นแน่ พึงชื่นชมยินดีภาษิตว่า ดีแล้ว ครั้นแล้ว
พึงนมัสการกระทำอัญชลีเข้าไปนั่งใกล้ ฯ

เรากล่าวว่า รูปสัญญาดับในที่ใด และท่านเหล่าใดดับรูปสัญญาได้
แล้วๆ อยู่ในที่นั้น ท่านเหล่านั้นไม่มีความหิว ดับสนิทแล้ว ข้ามได้แล้ว ถึงฝั่ง
แล้ว ด้วยองค์ฌานนั้นเป็นแน่ ผู้ใดพึงถามอย่างนี้ว่า รูปสัญญาดับในที่ไหน
และใครดับรูปสัญญาได้แล้วๆ อยู่ เราไม่รู้ผู้นี้ เราไม่เห็นผู้นี้ เธอทั้งหลาย
พึงตอบผู้นั้นอย่างนี้ว่า ดูกรอาวุโส ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะล่วงรูปสัญญาโดย
ประการทั้งปวง เพราะดับปฏิฆสัญญา เพราะไม่ใส่ใจถึงนานัตตสัญญา บรรลุ
อากาสานัญจายตนฌาน เพราะคำนึงเป็นอารมณ์ว่า อากาศไม่มีที่สุด รูปสัญญา
ย่อมดับในองค์ฌานนี้ และท่านเหล่านั้นดับรูปสัญญาได้แล้วๆ อยู่ ดูกรภิกษุ
ทั้งหลาย เธอเป็นผู้ไม่โอ้อวด ไม่มีมารยาเป็นแน่ พึงชื่นชมยินดีภาษิตว่า ดีแล้ว
ครั้นแล้ว พึงนมัสการกระทำอัญชลีเข้าไปนั่งใกล้ ฯ

เรากล่าวว่า อากาสานัญจายตนสัญญาดับในที่ใด และท่านเหล่าใดดับ
อากาสานัญจายตนสัญญาได้แล้วๆ อยู่ในที่นั้น ท่านเหล่านั้นไม่มีความหิว
ดับสนิทแล้ว ข้ามได้แล้ว ถึงฝั่งแล้ว ด้วยองค์ฌานนั้นเป็นแน่ ผู้ใดพึงถามอย่างนี้ว่า
อากาสานัญจายตนสัญญาดับในที่ไหน และใครดับอากาสานัญจายตนสัญญาได้
แล้วๆ อยู่ เราไม่รู้ผู้นี้ เราไม่เห็นผู้นี้ เธอทั้งหลายพึงตอบผู้นั้นอย่างนี้ว่า
ดูกรอาวุโส ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะล่วงอากาสานัญจายตนฌานโดยประการ
ทั้งปวง บรรลุวิญญาณัญจายตนฌาน โดยคำนึงเป็นอารมณ์ว่า วิญญาณไม่มีที่สุด
อากาสานัญจายตนสัญญาดับในองค์ฌานนี้ และท่านเหล่านั้นดับอากาสานัญจายตน-
*สัญญาได้แล้วๆ อยู่ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอเป็นผู้ไม่โอ้อวด ไม่มีมารยาเป็น
แน่ พึงชื่นชมยินดีภาษิตว่า ดีแล้ว ครั้นแล้ว พึงนมัสการกระทำอัญชลีเข้า
ไปนั่งใกล้ ฯ

เรากล่าวว่า วิญญาณัญจายตนสัญญาดับในที่ใด และท่านเหล่าใดดับ
วิญญาณัญจายตนสัญญาได้แล้วๆ อยู่ในที่นั้น ท่านเหล่านั้นไม่มีความหิว ดับสนิท
แล้ว ข้ามได้แล้ว ถึงฝั่งแล้ว ด้วยองค์ฌานนี้เป็นแน่ ผู้ใดพึงถามอย่างนี้ว่า
วิญญาณัญจายตนสัญญาดับในที่ไหน และใครดับวิญญาณัญจายตนสัญญาได้แล้วๆ
อยู่ เราไม่รู้ผู้นี้ เราไม่เห็นผู้นี้ เธอทั้งหลายพึงตอบผู้นั้นอย่างนี้ว่า ดูกรอาวุโส
ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะล่วงวิญญาณัญจายตนฌานโดยประการทั้งปวง บรรลุ
อากิญจัญญายตนฌาน โดยคำนึงเป็นอารมณ์ว่า อะไรๆ หน่อยหนึ่งไม่มี
วิญญาณัญจายตนสัญญาย่อมดับในองค์ฌานนี้ และท่านเหล่านั้นดับวิญญาณัญ-
*จายตนสัญญาได้แล้วๆ อยู่ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอเป็นผู้ไม่โอ้อวด ไม่มีมารยา
เป็นแน่ พึงชื่นชมยินดีภาษิตว่า ดีแล้ว ครั้นแล้ว พึงนมัสการกระทำอัญชลี
เข้าไปนั่งใกล้ ฯ

เรากล่าวว่า อากิญจัญญายตนสัญญาดับในที่ใด และท่านเหล่าใดดับ
อากิญจัญญายตนสัญญาได้แล้วๆ อยู่ในที่นั้น ท่านเหล่านั้นไม่มีความหิวดับสนิท
แล้ว ข้ามได้แล้ว ถึงฝั่งแล้วด้วยองค์ฌานนี้เป็นแน่ ผู้ใดพึงถามอย่างนี้ว่า
อากิญจัญญาตนสัญญาดับในที่ไหน และใครดับอากิญจัญญายตนสัญญาได้แล้วๆ
อยู่ เราไม่รู้ผู้นี้ เราไม่เห็นผู้นี้ เธอทั้งหลายพึงตอบผู้นั้นอย่างนี้ว่า ดูกรอาวุโส ภิกษุ
ในธรรมวินัยนี้ เพราะล่วงอากิญจัญญายตนฌานโดยประการทั้งปวง บรรลุ
เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน อากิญจัญญายตนสัญญาดับในองค์ฌานนี้ และท่าน
เหล่านั้นดับอากิญจัญญายตนสัญญาได้แล้วๆ อยู่ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอเป็นผู้ไม่
โอ้อวด ไม่มีมารยาเป็นแน่ พึงชื่นชมยินดีภาษิตว่า ดีแล้ว ครั้นแล้ว พึงนมัสการ
กระทำอัญชลีเข้าไปนั่งใกล้ ฯ

เรากล่าวว่า เนวสัญญานาสัญญายตนสัญญาดับในที่ใด และท่านเหล่า
ใดดับเนวสัญญานาสัญญายตนสัญญาได้แล้วๆ อยู่ ท่านเหล่านั้นไม่มีความหิว
ดับสนิทแล้ว ข้ามได้แล้ว ถึงฝั่งแล้วด้วยองค์ฌานนี้เป็นแน่ ผู้ใดพึงถามอย่างนี้ว่า
เนวสัญญานาสัญญายตนสัญญาดับในที่ไหน และใครดับเนวสัญญานาสัญญายตน
สัญญาได้แล้วๆ อยู่ เราไม่รู้ผู้นี้ เราไม่เห็นผู้นี้ เธอทั้งหลายพึงตอบผู้นั้นอย่าง
นี้ว่า ดูกรอาวุโส ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะล่วงเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน
โดยประการทั้งปวง บรรลุสัญญาเวทยิตนิโรธ เนวสัญญานาสัญญายตนสัญญา
ดับในนิโรธนี้ และท่านเหล่านั้นดับเนวสัญญานาสัญญายตนสัญญาได้แล้วๆ อยู่
ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอเป็นผู้ไม่โอ้อวด ไม่มีมารยาเป็นแน่ พึงชื่นชมยินดีภาษิตว่า
ดีแล้ว ครั้นแล้ว พึงนมัสการกระทำอัญชลีเข้าไปนั่งใกล้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย
อนุปุพพวิหารสมาบัติ ๙ ประการนี้แล ฯ
จบสูตรที่ ๒

http://84000.org/tipitaka/pitaka2/v.php ... 775&Z=8869














และเป็นที่มาของปัญญาวิมุติ
ในส่วนของผู้ที่ได้วิโมกข์ ๘ ที่เป็นสัมมาสมาธิ




....


อโยนิโสมนสิการ



walaiporn เขียน:

[๖๕] ดูกรอานนท์ วิญญาณฐิติ ๗ อายตนะ ๒ เหล่านี้ วิญญาณฐิติ ๗
เป็นไฉน คือ-

๑. สัตว์มีกายต่างกัน มีสัญญาต่างกัน ได้แก่พวกมนุษย์ และพวกเทพ
บางพวก พวกวินิบาตบางพวก นี้เป็นวิญญาณฐิติที่ ๑

๒. สัตว์มีกายต่างกัน มีสัญญาอย่างเดียวกัน
ได้แก่พวกเทพผู้นับเนื่องในชั้นพรหมผู้บังเกิดด้วยปฐมฌาน และสัตว์ผู้เกิดในอบาย ๔
นี้เป็นวิญญาณฐิติที่ ๒

๓. สัตว์มีกายอย่างเดียวกัน มีสัญญาต่างกัน ได้แก่พวกเทพชั้นอาภัสสร
นี้เป็นวิญญาณฐิติที่ ๓

๔. สัตว์ที่มีกายอย่างเดียวกัน มีสัญญาอย่างเดียวกัน ได้แก่พวกเทพชั้นสุภกิณหะ
นี้เป็นวิญญาณฐิติที่ ๔

๕. สัตว์ที่เข้าถึงชั้นอากาสานัญจายตนะด้วยมนสิการว่า อากาศหาที่สุดมิได้
เพราะล่วงรูปสัญญา เพราะดับปฏิฆะสัญญา เพราะไม่ใส่ใจถึงนานัตตสัญญาโดยประการทั้งปวง
นี้เป็นวิญญาณฐิติที่ ๕

๖. สัตว์ที่เข้าถึงชั้นวิญญาณัญจายตนะด้วยมนสิการว่า วิญญาณหาที่สุดมิได้
เพราะล่วงชั้นอากาสานัญจายตนะโดยประการทั้งปวง
นี้เป็นวิญญาณฐิติที่ ๖

๗. สัตว์ที่เข้าถึงชั้นอากิญจัญญายตนะ ด้วยมนสิการว่า ไม่มีอะไร
เพราะล่วงชั้นวิญญาณัญจายตนะ โดยประการทั้งปวง
นี้เป็นวิญญาณฐิติที่ ๗

ส่วนอายตนะอีก ๒ คือ อสัญญีสัตตายตนะ (ข้อที่ ๑)
และข้อที่ ๒ คือ เนวสัญญานาสัญญายตนะ





ดูกรอานนท์ บรรดาวิญญาณฐิติทั้ง ๗ ประการนั้น
วิญญาณฐิติข้อที่ ๑ มีว่า สัตว์มีกายต่างกัน มีสัญญาต่างกัน
ได้แก่พวกมนุษย์และพวกเทพบางพวก พวกวินิบาตบางพวก

ผู้ที่รู้ชัดวิญญาณฐิติข้อนั้น รู้ความเกิดและความดับ รู้คุณและโทษ แห่งวิญญาณฐิติข้อนั้น
และรู้อุบายเป็นเครื่องออกไปจากวิญญาณฐิติข้อนั้น
เขายังจะควรเพื่อเพลิดเพลินวิญญาณฐิตินั้นอีกหรือ ฯ
ไม่ควร พระเจ้าข้า ฯ
ฯลฯ ฯลฯ


วิญญาณฐิติที่ ๗ มีว่า สัตว์ผู้เข้าถึงชั้นอากิญจัญญายตนะ
ด้วยมนสิการว่า ไม่มีอะไร เพราะล่วงชั้นวิญญาณณัญจายตนะโดยประการทั้งปวง

ผู้ที่รู้ชัดวิญญาณฐิติข้อนั้น รู้ความเกิดและความดับ รู้คุณและโทษ แห่งวิญญาณฐิติข้อนั้น
และรู้อุบายเป็นเครื่องออกไปจากวิญญาณฐิติข้อนั้น
เขายังจะควรเพลิดเพลินวิญญาณฐิตินั้นอีกหรือ ฯ
ไม่ควร พระเจ้าข้า ฯ





ดูกรอานนท์ ส่วนบรรดาอายตนะทั้ง ๒ นั้นเล่า

ข้อที่ ๑ คือ อสัญญีสัตตายตนะ ผู้ที่รู้ชัดอสัญญีสัตตายตนะข้อนั้น
รู้ความเกิดและความดับ รู้คุณและโทษ แห่งอสัญญีสัตตายตนะข้อนั้น
และรู้อุบายเป็นเครื่องออกไปจากอสัญญีสัตตายตนะข้อนั้น
เขายังจะควรเพื่อเพลิดเพลินอสัญญีสัตตายตนะนั้นอีกหรือ ฯ
ไม่ควร พระเจ้าข้า ฯ



ส่วนข้อที่ ๒ คือ เนวสัญญานาสัญญายตนะ
ผู้ที่รู้ชัดเนวสัญญานาสัญญายตนะข้อนั้น รู้ความเกิดและความดับ
รู้คุณและโทษแห่งเนวสัญญานาสัญญายตนะข้อนั้น
และรู้อุบายเป็นเครื่องออกไปจากเนวสัญญานาสัญญายตนะข้อนั้น
เขายังจะควรเพื่อเพลิดเพลินเนวสัญญานาสัญญายตนะข้อนั้นอีกหรือ ฯ
ไม่ควร พระเจ้าข้า ฯ


ดูกรอานนท์ เพราะภิกษุมาทราบชัดความเกิดและความดับทั้งคุณและโทษ
และอุบายเป็นเครื่องออกไปจากวิญญาณฐิติ ๗ และอายตนะ ๒ เหล่านี้ ตามเป็นจริงแล้ว
ย่อมเป็นผู้หลุดพ้นได้ เพราะไม่ยึดมั่น

อานนท์ ภิกษุนี้เราเรียกว่า ปัญญาวิมุตติ ฯ



...


.....

หมายเหตุ;

คำว่า "ย่อมเป็นผู้หลุดพ้นได้ เพราะไม่ยึดมั่น"


รูปภพ อรูปภพ ละขาดแล้ว
เพราะละความถือมั่นที่มีเกิดขึ้น ขณะจิตเป็นสมาธิ (สมถะที่เป็นสัมมมาสมาธิ)
ตั้งแต่โสดาปัตติผลจนถึงอรหันต์ ที่ได้วิโมกข์ ๘


.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 มิ.ย. 2017, 06:22 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 5
สมาชิก ระดับ 5
ลงทะเบียนเมื่อ: 19 ก.พ. 2013, 19:24
โพสต์: 300

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ระดับขั้นเทพเขาสนทนากัน

เลยไม่รู้เรื่องเขาคุยเรื่องอะไรกัน


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 มิ.ย. 2017, 09:04 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5019


 ข้อมูลส่วนตัว


ธรรมมา เขียน:
ระดับขั้นเทพเขาสนทนากัน

เลยไม่รู้เรื่องเขาคุยเรื่องอะไรกัน


555 s005 ต้องขออภัยเป็นอย่างสูงที่เอกอนใช้ภาษาทีทำให้ท่านอ่านแล้วรู้สึกไม่รู้เรื่อง

เอกอนจะพยายามแสดงความเห็นให้น้อยลเพื่อเพื่อนๆจะได้ไม่สับสน



แก้ไขล่าสุดโดย eragon_joe เมื่อ 19 มิ.ย. 2017, 10:00, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 มิ.ย. 2017, 09:27 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5019


 ข้อมูลส่วนตัว


walaiporn เขียน:
สัมมาสมาธิ

walaiporn เขียน:

ลักษณะจิตเป็นสมาธิ หรือสมถะ ที่เป็นสัมาสมาธิ
ที่มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม ขณะจิตเป็นสมาธิ

เป็นปัจจัยให้ วิญญาณ/ธาตุรู้ มีเกิดขึ้น
หรือคำที่เรียกว่า ธรรมเอกผุด

เป็นปัจจัยให้ เกิดความรู้ชัดในรายละเอียดต่างๆ
ที่มีเกิดขึ้น ขณะจิตเป็นสมาธิในรูปฌาน อรูปฌาน ฌานสมาบัติ นิโรธสมาบัติ



......

วิหารสูตรที่ ๒

[๒๓๗] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงอนุปุพพวิหารสมาบัติ ๙ ประการนี้
เธอทั้งหลายจงฟัง ฯลฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อนุปุพพวิหารสมาบัติ ๙ ประการเป็นไฉน

ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอเป็นผู้ไม่โอ้อวด ไม่มีมารยาเป็นแน่ พึงชื่นชมยินดีภาษิตว่า
ดีแล้ว ครั้นแล้ว พึงนมัสการกระทำอัญชลีเข้าไปนั่งใกล้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย
อนุปุพพวิหารสมาบัติ ๙ ประการนี้แล ฯ
จบสูตรที่ ๒


และเป็นที่มาของปัญญาวิมุติ
ในส่วนของผู้ที่ได้วิโมกข์ ๘ ที่เป็นสัมมาสมาธิ


....

อโยนิโสมนสิการ


walaiporn เขียน:

[๖๕] ดูกรอานนท์ วิญญาณฐิติ ๗ อายตนะ ๒ เหล่านี้ วิญญาณฐิติ ๗
เป็นไฉน คือ-

๑. สัตว์มีกายต่างกัน มี


ส่วนข้อที่ ๒ คือ เนวสัญญานาสัญญายตนะ
ผู้ที่รู้ชัดเนวสัญญานาสัญญายตนะข้อนั้น รู้ความเกิดและความดับ
รู้คุณและโทษแห่งเนวสัญญานาสัญญายตนะข้อนั้น
และรู้อุบายเป็นเครื่องออกไปจากเนวสัญญานาสัญญายตนะข้อนั้น
เขายังจะควรเพื่อเพลิดเพลินเนวสัญญานาสัญญายตนะข้อนั้นอีกหรือ ฯ
ไม่ควร พระเจ้าข้า ฯ

ดูกรอานนท์ เพราะภิกษุมาทราบชัดความเกิดและความดับทั้งคุณและโทษ
และอุบายเป็นเครื่องออกไปจากวิญญาณฐิติ ๗ และอายตนะ ๒ เหล่านี้ ตามเป็นจริงแล้ว
ย่อมเป็นผู้หลุดพ้นได้ เพราะไม่ยึดมั่น

อานนท์ ภิกษุนี้เราเรียกว่า ปัญญาวิมุตติ ฯ

หมายเหตุ;

คำว่า "ย่อมเป็นผู้หลุดพ้นได้ เพราะไม่ยึดมั่น"


รูปภพ อรูปภพ ละขาดแล้ว
เพราะละความถือมั่นที่มีเกิดขึ้น ขณะจิตเป็นสมาธิ (สมถะที่เป็นสัมมมาสมาธิ)
ตั้งแต่โสดาปัตติผลจนถึงอรหันต์ ที่ได้วิโมกข์ ๘



ก็ยังไม่เข้าใจว่าคุณวลัยพรต้งการสื่ออะไร ที่มีการใช้คำ

สัมมาสมาธิ
วิโมกข์ 8
และ อโยนิโสมนสิการ
มากำกับแต่ละกล่องข้อความ

:b10: ...


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 มิ.ย. 2017, 09:52 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 5
สมาชิก ระดับ 5
ลงทะเบียนเมื่อ: 19 ก.พ. 2013, 19:24
โพสต์: 300

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ช่วยขยายความหรือบอกความหมายของคำว่า
สัมมาสมาธิ
วิโมกข์ 8
และ อโยนิโสมนสิการ

ว่าสัมมาสมาธิ มันคืออะไร
วิโมกข์ ๘ คืออะไร ๑ ๒ ๓ ตามลำดับ
อโยนิโสคืออะไร

เพราะใคร่อยากรู้ จะได้เพิ่มปัญญากับเขามั่งครับ

กราบละ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 มิ.ย. 2017, 10:26 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5976

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


eragon_joe เขียน:
walaiporn เขียน:
สัมมาสมาธิ

walaiporn เขียน:

ลักษณะจิตเป็นสมาธิ หรือสมถะ ที่เป็นสัมาสมาธิ
ที่มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม ขณะจิตเป็นสมาธิ

เป็นปัจจัยให้ วิญญาณ/ธาตุรู้ มีเกิดขึ้น
หรือคำที่เรียกว่า ธรรมเอกผุด

เป็นปัจจัยให้ เกิดความรู้ชัดในรายละเอียดต่างๆ
ที่มีเกิดขึ้น ขณะจิตเป็นสมาธิในรูปฌาน อรูปฌาน ฌานสมาบัติ นิโรธสมาบัติ



......

วิหารสูตรที่ ๒

[๒๓๗] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงอนุปุพพวิหารสมาบัติ ๙ ประการนี้
เธอทั้งหลายจงฟัง ฯลฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อนุปุพพวิหารสมาบัติ ๙ ประการเป็นไฉน

ฯลฯ

ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอเป็นผู้ไม่โอ้อวด ไม่มีมารยาเป็นแน่ พึงชื่นชมยินดีภาษิตว่า
ดีแล้ว ครั้นแล้ว พึงนมัสการกระทำอัญชลีเข้าไปนั่งใกล้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย
อนุปุพพวิหารสมาบัติ ๙ ประการนี้แล ฯ
จบสูตรที่ ๒


และเป็นที่มาของปัญญาวิมุติ
ในส่วนของผู้ที่ได้วิโมกข์ ๘ ที่เป็นสัมมาสมาธิ


....

อโยนิโสมนสิการ


walaiporn เขียน:


[๖๕] ดูกรอานนท์ วิญญาณฐิติ ๗ อายตนะ ๒ เหล่านี้
วิญญาณฐิติ ๗ เป็นไฉน คือ-

ฯลฯ

วิญญาณฐิติที่ ๗ มีว่า สัตว์ผู้เข้าถึงชั้นอากิญจัญญายตนะ
ด้วยมนสิการว่า ไม่มีอะไร เพราะล่วงชั้นวิญญาณณัญจายตนะโดยประการทั้งปวง

ผู้ที่รู้ชัดวิญญาณฐิติข้อนั้น
รู้ความเกิดและความดับ รู้คุณและโทษ แห่งวิญญาณฐิติข้อนั้น
และรู้อุบายเป็นเครื่องออกไปจากวิญญาณฐิติข้อนั้น
เขายังจะควรเพลิดเพลินวิญญาณฐิตินั้นอีกหรือ ฯ

ไม่ควร พระเจ้าข้า ฯ


ดูกรอานนท์ ส่วนบรรดาอายตนะทั้ง ๒ นั้นเล่า
ข้อที่ ๑ คือ อสัญญีสัตตายตนะ

ผู้ที่รู้ชัดอสัญญีสัตตายตนะข้อนั้น
รู้ความเกิดและความดับ รู้คุณและโทษ แห่งอสัญญีสัตตายตนะข้อนั้น
และรู้อุบายเป็นเครื่องออกไปจากอสัญญีสัตตายตนะข้อนั้น
เขายังจะควรเพื่อเพลิดเพลินอสัญญีสัตตายตนะนั้นอีกหรือ ฯ

ไม่ควร พระเจ้าข้า ฯ





ส่วนข้อที่ ๒ คือ เนวสัญญานาสัญญายตนะ
ผู้ที่รู้ชัดเนวสัญญานาสัญญายตนะข้อนั้น
รู้ความเกิดและความดับ รู้คุณและโทษแห่งเนวสัญญานาสัญญายตนะข้อนั้น
และรู้อุบายเป็นเครื่องออกไปจากเนวสัญญานาสัญญายตนะข้อนั้น
เขายังจะควรเพื่อเพลิดเพลินเนวสัญญานาสัญญายตนะข้อนั้นอีกหรือ ฯ

ไม่ควร พระเจ้าข้า ฯ






ดูกรอานนท์ เพราะภิกษุมาทราบชัดความเกิดและความดับทั้งคุณและโทษ
และอุบายเป็นเครื่องออกไปจากวิญญาณฐิติ ๗ และอายตนะ ๒ เหล่านี้ ตามเป็นจริงแล้ว
ย่อมเป็นผู้หลุดพ้นได้ เพราะไม่ยึดมั่น

อานนท์ ภิกษุนี้เราเรียกว่า
ปัญญาวิมุตติ ฯ




หมายเหตุ;

คำว่า "ย่อมเป็นผู้หลุดพ้นได้ เพราะไม่ยึดมั่น"


รูปภพ อรูปภพ ละขาดแล้ว
เพราะละความถือมั่นที่มีเกิดขึ้น ขณะจิตเป็นสมาธิ (สมถะที่เป็นสัมมมาสมาธิ)
ตั้งแต่โสดาปัตติผลจนถึงอรหันต์ ที่ได้วิโมกข์ ๘



ก็ยังไม่เข้าใจว่าคุณวลัยพรต้งการสื่ออะไร ที่มีการใช้คำ

สัมมาสมาธิ
วิโมกข์ 8
และ อโยนิโสมนสิการ
มากำกับแต่ละกล่องข้อความ

:b10: ...






พระสูตรแรก เป็นเรื่องของ วิโมกข์ ๘
เป็นสมถะ ที่เป็นสัมมาสมาธิ มีรูปนามเป็นอารมณ์


พระสูตรที่ ๒ เป็นเรื่องของ สมถะ ที่เป็นมิจฉาสมาธิและสัมมาสมาธิ มีบัญญัติเป็นอารมณ์
วิญญาณฐิติ ๗ และอายตนะ ๒ เกิดจาก อโยนิโสมนสิการ

คือ เมื่อมีสภาพธรรมต่างๆเกิดขึ้น
ไม่มีการกำหนดรู้สภาพธรรมที่มีเกิดขึ้นตามความเป็นจริง






eragon_joe เขียน:

คุณวลัยพรหยิบพระสูตรมาได้ดี(อนุปุพพวิหารสมาบัติ ๙ ประการ)

แต่เอกอนก็เป็นต้องงงในภายหลัง...ในทันที เมื่อพลิกไปหน้า 2 (วิญญาณฐิติ ๗ และอายตนะ ๒)

คือ....ถ้าผู้ปฏิบัติ ที่มีประสบการณ์มากพอ ได้เห็น ได้รู้ ได้เข้าใจตามเส้นทางที่ปฏิบัติมากพอ
และอ่านพระสูตรตั้งแต่ต้นจนจบ วิญญาณฐิติ 7
และอยู่ ๆ พระพุทธองค์ไม่ใช่วิญญาณฐิติ 8 และ 9 แล้ว
กลับเปลี่ยนมาเป็น อายตนะ 2






ในเครื่องหมายวงเล็บ หมายถึงพระสูตรที่นำมาแสดง

เป็นเรื่องปกตินะ ในเมื่อมีความเข้าใจเกี่ยวกับ
อนุปุพพวิหารสมาบัติ ๙ ประการ และวิญญาณฐิติ ๗ และอายตนะ ๒
ว่าจะต้องมีลักษณะแบบนี้



"คือ....ถ้าผู้ปฏิบัติ ที่มีประสบการณ์มากพอ
ได้เห็น ได้รู้ ได้เข้าใจตามเส้นทางที่ปฏิบัติมากพอ
และอ่านพระสูตรตั้งแต่ต้นจนจบ วิญญาณฐิติ 7
และอยู่ ๆ พระพุทธองค์ไม่ใช่วิญญาณฐิติ 8 และ 9 แล้ว "






จึงเป็นปัจจัยให้ คิดพิจรณาว่า จะต้องเป็นแบบนี้







eragon_joe เขียน:

การที่เห็นอายตนะ 2 ไม่ใช่คิดหมายเอา
เป็นการที่ผู้ปฏิบัติน้อมจิตอยู่ในสมาธิ และผู้ปฏิบัติรู้ชัดอยู่ว่าจิต ณ ขณะนั้น
จิตตั้งอยู่กับอะไร

แก้วเก้า เขียน:
...

วิญญาณตัวรู้ ซึ่งปรากฏให้เห็นตลอดเวลา(อันเนื่องจากมรรคที่เพียรปฎิบัติจนเป็นสัมมามรรค
ขอกล่าวถึงคร่าวๆ นะคะ) ก็พิจารณาโดยความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เช่นกันค่ะ
จนสามารถดับวิญญาณตัวรู้ได้ ดับอวิชชาได้ กิเลสอาสวะหมดสิ้นไป หรือบางท่านจะละกิเลสบางส่วนไปได้เพราะเห็นอริยสัจด้วยปัญญาค่ะ

:b1:








ไม่ต่างกับผู้ที่ไม่สามารถแยกแยะสภาวะรูปฌาน อรูปฌาน
ความแตกต่างระหว่างฌานสมาบัติกับนิโรธสมาบัติ

แต่พยามหยิบยกเรื่องนิโรธสมาบัติมาพูด
ทั้งๆที่ยังไม่เคยหยั่งลงสู่ธรรมอันละเอียดและปราณีต

จึงเป็นที่มาของ คำเรียกเหล่านี้

กามภพ
รูปภพ
อรูปภพ

ที่มีเกิดขึ้นจาก ความยึดมั่นถือมั่น ในผัสสะ ที่มีเกิดขึ้น ขณะจิตเป็นสมาธิ
(ผัสสะ เวทนา ตัณหา อุปทาน ภพ)

วิญญาณฐิติ ๗ และอายตนะ ๒ จึงมีเกิดขึ้นเพราะเหตุนี้
เหตุปัจจัยจาก ความไม่รู้ที่มีอยู่

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


แก้ไขล่าสุดโดย walaiporn เมื่อ 19 มิ.ย. 2017, 11:00, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 มิ.ย. 2017, 18:09 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5019


 ข้อมูลส่วนตัว


walaiporn เขียน:
eragon_joe เขียน:
walaiporn เขียน:
สัมมาสมาธิ

walaiporn เขียน:

ลักษณะจิตเป็นสมาธิ หรือสมถะ ที่เป็นสัมาสมาธิ
ที่มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม ขณะจิตเป็นสมาธิ

เป็นปัจจัยให้ วิญญาณ/ธาตุรู้ มีเกิดขึ้น
หรือคำที่เรียกว่า ธรรมเอกผุด

เป็นปัจจัยให้ เกิดความรู้ชัดในรายละเอียดต่างๆ
ที่มีเกิดขึ้น ขณะจิตเป็นสมาธิในรูปฌาน อรูปฌาน ฌานสมาบัติ นิโรธสมาบัติ



......

วิหารสูตรที่ ๒

[๒๓๗] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงอนุปุพพวิหารสมาบัติ ๙ ประการนี้
เธอทั้งหลายจงฟัง ฯลฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อนุปุพพวิหารสมาบัติ ๙ ประการเป็นไฉน

ฯลฯ

ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอเป็นผู้ไม่โอ้อวด ไม่มีมารยาเป็นแน่ พึงชื่นชมยินดีภาษิตว่า
ดีแล้ว ครั้นแล้ว พึงนมัสการกระทำอัญชลีเข้าไปนั่งใกล้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย
อนุปุพพวิหารสมาบัติ ๙ ประการนี้แล ฯ
จบสูตรที่ ๒


และเป็นที่มาของปัญญาวิมุติ
ในส่วนของผู้ที่ได้วิโมกข์ ๘ ที่เป็นสัมมาสมาธิ


....

อโยนิโสมนสิการ


walaiporn เขียน:


[๖๕] ดูกรอานนท์ วิญญาณฐิติ ๗ อายตนะ ๒ เหล่านี้
วิญญาณฐิติ ๗ เป็นไฉน คือ-

ฯลฯ

วิญญาณฐิติที่ ๗ มีว่า สัตว์ผู้เข้าถึงชั้นอากิญจัญญายตนะ
ด้วยมนสิการว่า ไม่มีอะไร เพราะล่วงชั้นวิญญาณณัญจายตนะโดยประการทั้งปวง

ผู้ที่รู้ชัดวิญญาณฐิติข้อนั้น
รู้ความเกิดและความดับ รู้คุณและโทษ แห่งวิญญาณฐิติข้อนั้น
และรู้อุบายเป็นเครื่องออกไปจากวิญญาณฐิติข้อนั้น
เขายังจะควรเพลิดเพลินวิญญาณฐิตินั้นอีกหรือ ฯ

ไม่ควร พระเจ้าข้า ฯ


ดูกรอานนท์ ส่วนบรรดาอายตนะทั้ง ๒ นั้นเล่า
ข้อที่ ๑ คือ อสัญญีสัตตายตนะ

ผู้ที่รู้ชัดอสัญญีสัตตายตนะข้อนั้น
รู้ความเกิดและความดับ รู้คุณและโทษ แห่งอสัญญีสัตตายตนะข้อนั้น
และรู้อุบายเป็นเครื่องออกไปจากอสัญญีสัตตายตนะข้อนั้น
เขายังจะควรเพื่อเพลิดเพลินอสัญญีสัตตายตนะนั้นอีกหรือ ฯ

ไม่ควร พระเจ้าข้า ฯ





ส่วนข้อที่ ๒ คือ เนวสัญญานาสัญญายตนะ
ผู้ที่รู้ชัดเนวสัญญานาสัญญายตนะข้อนั้น
รู้ความเกิดและความดับ รู้คุณและโทษแห่งเนวสัญญานาสัญญายตนะข้อนั้น
และรู้อุบายเป็นเครื่องออกไปจากเนวสัญญานาสัญญายตนะข้อนั้น
เขายังจะควรเพื่อเพลิดเพลินเนวสัญญานาสัญญายตนะข้อนั้นอีกหรือ ฯ

ไม่ควร พระเจ้าข้า ฯ






ดูกรอานนท์ เพราะภิกษุมาทราบชัดความเกิดและความดับทั้งคุณและโทษ
และอุบายเป็นเครื่องออกไปจากวิญญาณฐิติ ๗ และอายตนะ ๒ เหล่านี้ ตามเป็นจริงแล้ว
ย่อมเป็นผู้หลุดพ้นได้ เพราะไม่ยึดมั่น

อานนท์ ภิกษุนี้เราเรียกว่า
ปัญญาวิมุตติ ฯ




หมายเหตุ;

คำว่า "ย่อมเป็นผู้หลุดพ้นได้ เพราะไม่ยึดมั่น"


รูปภพ อรูปภพ ละขาดแล้ว
เพราะละความถือมั่นที่มีเกิดขึ้น ขณะจิตเป็นสมาธิ (สมถะที่เป็นสัมมมาสมาธิ)
ตั้งแต่โสดาปัตติผลจนถึงอรหันต์ ที่ได้วิโมกข์ ๘



ก็ยังไม่เข้าใจว่าคุณวลัยพรต้งการสื่ออะไร ที่มีการใช้คำ

สัมมาสมาธิ
วิโมกข์ 8
และ อโยนิโสมนสิการ
มากำกับแต่ละกล่องข้อความ

:b10: ...






พระสูตรแรก เป็นเรื่องของ วิโมกข์ ๘
เป็นสมถะ ที่เป็นสัมมาสมาธิ มีรูปนามเป็นอารมณ์


พระสูตรที่ ๒ เป็นเรื่องของ สมถะ ที่เป็นมิจฉาสมาธิและสัมมาสมาธิ มีบัญญัติเป็นอารมณ์
วิญญาณฐิติ ๗ และอายตนะ ๒ เกิดจาก อโยนิโสมนสิการ

คือ เมื่อมีสภาพธรรมต่างๆเกิดขึ้น
ไม่มีการกำหนดรู้สภาพธรรมที่มีเกิดขึ้นตามความเป็นจริง






eragon_joe เขียน:

คุณวลัยพรหยิบพระสูตรมาได้ดี(อนุปุพพวิหารสมาบัติ ๙ ประการ)

แต่เอกอนก็เป็นต้องงงในภายหลัง...ในทันที เมื่อพลิกไปหน้า 2 (วิญญาณฐิติ ๗ และอายตนะ ๒)

คือ....ถ้าผู้ปฏิบัติ ที่มีประสบการณ์มากพอ ได้เห็น ได้รู้ ได้เข้าใจตามเส้นทางที่ปฏิบัติมากพอ
และอ่านพระสูตรตั้งแต่ต้นจนจบ วิญญาณฐิติ 7
และอยู่ ๆ พระพุทธองค์ไม่ใช่วิญญาณฐิติ 8 และ 9 แล้ว
กลับเปลี่ยนมาเป็น อายตนะ 2






ในเครื่องหมายวงเล็บ หมายถึงพระสูตรที่นำมาแสดง

เป็นเรื่องปกตินะ ในเมื่อมีความเข้าใจเกี่ยวกับ
อนุปุพพวิหารสมาบัติ ๙ ประการ และวิญญาณฐิติ ๗ และอายตนะ ๒
ว่าจะต้องมีลักษณะแบบนี้



"คือ....ถ้าผู้ปฏิบัติ ที่มีประสบการณ์มากพอ
ได้เห็น ได้รู้ ได้เข้าใจตามเส้นทางที่ปฏิบัติมากพอ
และอ่านพระสูตรตั้งแต่ต้นจนจบ วิญญาณฐิติ 7
และอยู่ ๆ พระพุทธองค์ไม่ใช่วิญญาณฐิติ 8 และ 9 แล้ว "






จึงเป็นปัจจัยให้ คิดพิจรณาว่า จะต้องเป็นแบบนี้


eragon_joe เขียน:

การที่เห็นอายตนะ 2 ไม่ใช่คิดหมายเอา
เป็นการที่ผู้ปฏิบัติน้อมจิตอยู่ในสมาธิ และผู้ปฏิบัติรู้ชัดอยู่ว่าจิต ณ ขณะนั้น
จิตตั้งอยู่กับอะไร

แก้วเก้า เขียน:
...

วิญญาณตัวรู้ ซึ่งปรากฏให้เห็นตลอดเวลา(อันเนื่องจากมรรคที่เพียรปฎิบัติจนเป็นสัมมามรรค
ขอกล่าวถึงคร่าวๆ นะคะ) ก็พิจารณาโดยความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เช่นกันค่ะ
จนสามารถดับวิญญาณตัวรู้ได้ ดับอวิชชาได้ กิเลสอาสวะหมดสิ้นไป หรือบางท่านจะละกิเลสบางส่วนไปได้เพราะเห็นอริยสัจด้วยปัญญาค่ะ

:b1:




ไม่ต่างกับผู้ที่ไม่สามารถแยกแยะสภาวะรูปฌาน อรูปฌาน
ความแตกต่างระหว่างฌานสมาบัติกับนิโรธสมาบัติ

แต่พยามหยิบยกเรื่องนิโรธสมาบัติมาพูด
ทั้งๆที่ยังไม่เคยหยั่งลงสู่ธรรมอันละเอียดและปราณีต

จึงเป็นที่มาของ คำเรียกเหล่านี้

กามภพ
รูปภพ
อรูปภพ

ที่มีเกิดขึ้นจาก ความยึดมั่นถือมั่น ในผัสสะ ที่มีเกิดขึ้น ขณะจิตเป็นสมาธิ
(ผัสสะ เวทนา ตัณหา อุปทาน ภพ)

วิญญาณฐิติ ๗ และอายตนะ ๒ จึงมีเกิดขึ้นเพราะเหตุนี้
เหตุปัจจัยจาก ความไม่รู้ที่มีอยู่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 มิ.ย. 2017, 19:03 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5019


 ข้อมูลส่วนตัว


เอาพระสูตรที่คุณวลัยพรหยิบมานี่ล่ะ มาลองไขว้เข้าหากันเน๊อะ

ยาวหน่อยนะ... :b1:

walaiporn เขียน:


Quote Tipitaka:
วิหารสูตรที่ ๒

[๒๓๗] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงอนุปุพพวิหารสมาบัติ ๙ ประการนี้
เธอทั้งหลายจงฟัง ฯลฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อนุปุพพวิหารสมาบัติ ๙ ประการเป็นไฉน

เรากล่าวว่า กามทั้งหลายย่อมดับในที่ใด และท่านเหล่าใดดับกามทั้งหลายได้แล้วๆ อยู่ ในที่นั้น
ท่านเหล่านั้นไม่มีความหิว ดับแล้ว ข้ามได้แล้ว ถึงฝั่งแล้ว ด้วยองค์ฌานนั้นเป็นแน่

ผู้ใดพึงถามอย่างนี้ว่า กามทั้งหลายย่อมดับในที่ไหน
และใครดับกามทั้งหลายได้แล้วๆอยู่ เราไม่รู้ผู้นี้ เราไม่เห็นผู้นี้

เธอทั้งหลายพึงตอบผู้นั้นอย่างนี้ว่า ดูกรอาวุโส ภิกษุในธรรมวินัยนี้ สงัดจากกาม
สงัดจากอกุศลธรรม บรรลุปฐมฌาน มีวิตกวิจาร มีปีติและสุขเกิดแต่วิเวกอยู่
กามทั้งหลายย่อมดับในปฐมฌานนี้ และท่านเหล่านั้นดับกามได้แล้วๆ อยู่
ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอไม่เป็นผู้โอ้อวดไม่มีมารยาเป็นแน่ พึงชื่นชมยินดีภาษิตว่า
ดีแล้ว ครั้นแล้ว พึงนมัสการกระทำอัญชลีเข้าไปนั่งใกล้ ฯ


Quote Tipitaka:
[๖๕] ดูกรอานนท์ วิญญาณฐิติ ๗ อายตนะ ๒ เหล่านี้ วิญญาณฐิติ ๗
เป็นไฉน คือ-

๑. สัตว์มีกายต่างกัน มีสัญญาต่างกัน ได้แก่พวกมนุษย์ และพวกเทพ
บางพวก พวกวินิบาตบางพวก นี้เป็นวิญญาณฐิติที่ ๑



ถามว่า ผู้ที่ปฏิบัติในปฐมฌานอยู่ นับว่า เป็นสัตว์หรือไม่ ... ?
นับว่าเป็น สภาวะที่ประกอบด้วย รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อวิชชาครอบงำอยู่
ยังมีความเพลิดเพลินไปในสิ่งที่ปรากฎอยู่จัดว่าเป็นสัตว์ได้หรือไม่

อ้างคำพูด:
Quote Tipitaka:
เรากล่าวว่า วิตกและวิจารย่อมดับในที่ใด และท่านเหล่าใดดับวิตกวิจาร
ได้แล้วๆ อยู่ในที่นั้น ท่านเหล่านั้นไม่มีความหิว ดับสนิทแล้ว ข้ามได้แล้ว
ถึงฝั่งแล้ว ด้วยองค์ฌานนั้นเป็นแน่ ผู้ใดพึงถามอย่างนี้ว่า วิตกและวิจารย่อมดับ
ในที่ไหน และใครดับวิตกวิจารแล้วๆ อยู่ เราไม่รู้ผู้นี้ เราไม่เห็นผู้นี้ เธอ
ทั้งหลายพึงตอบผู้นั้นอย่างนี้ว่า ดูกรอาวุโส ภิกษุในธรรมวินัยนี้ บรรลุทุติยฌาน
มีความผ่องใสแห่งจิตในภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตกวิจาร เพราะ
วิตกวิจารสงบไป มีปีติและสุขเกิดแก่สมาธิอยู่ วิตกวิจารย่อมดับในองค์ฌานนี้
และท่านเหล่านั้นดับวิตกวิจารได้แล้วๆ อยู่ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอเป็นผู้ไม่
โอ้อวด ไม่มีมารยาเป็นแน่ พึงชื่นชมยินดีภาษิตว่า ดีแล้ว ครั้นแล้วพึงนมัสการ
กระทำอัญชลีเข้าไปนั่งใกล้ ฯ


Quote Tipitaka:
๒. สัตว์มีกายต่างกัน มีสัญญาอย่างเดียวกัน ได้แก่พวกเทพผู้นับเนื่อง
ในชั้นพรหมผู้บังเกิดด้วยปฐมฌาน และสัตว์ผู้เกิดในอบาย ๔ นี้เป็นวิญญาณ
ฐิติที่ ๒


ถามว่า ผู้ที่ปฏิบัติฌานนี้อยู่ นับว่า เป็นสัตว์หรือไม่ ... ?
นับว่าเป็น สภาวะที่ประกอบด้วย รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อวิชชาครอบงำอยู่
ยังมีความเพลิดเพลินไปในสิ่งที่ปรากฎอยู่จัดว่าเป็นสัตว์ได้หรือไม่



อ้างคำพูด:
Quote Tipitaka:
เรากล่าวว่า ปีติย่อมดับในที่ใด และท่านเหล่าใดดับปีติได้แล้วๆ อยู่
ท่านเหล่านั้นไม่มีความหิว ดับสนิทแล้ว ข้ามได้แล้ว ถึงฝั่งแล้ว ด้วยองค์ฌาน
นั้นเป็นแน่ ผู้ใดพึงถามอย่างนี้ว่า ก็ปีติดับในที่ไหน และใครดับปีติได้แล้วๆ อยู่
เราไม่รู้ผู้นี้ ไม่เห็นผู้นี้ เธอทั้งหลายพึงตอบผู้นั้นอย่างนี้ว่า ดูกรอาวุโส ภิกษุ
ในธรรมวินัยนี้ มีอุเบกขา มีสติ มีสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย เพราะ
ปีติสิ้นไป บรรลุตติยฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลายสรรเสริญว่า ผู้ได้ฌานนี้ เป็นผู้
มีอุเบกขา มีสติอยู่เป็นสุข ปีติย่อมดับในองค์ฌานนี้ และท่านเหล่านั้นดับปีติ
ได้แล้วๆ อยู่ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอเป็นผู้ไม่โอ้อวด ไม่มีมารยาเป็นแน่ พึงชื่น
ชมยินดีภาษิตว่า ดีแล้ว ครั้นแล้ว พึงนมัสการกระทำอัญชลีเข้าไปนั่งใกล้ ฯ


Quote Tipitaka:
๓. สัตว์มีกายอย่างเดียวกัน มีสัญญาต่างกัน ได้แก่พวกเทพชั้นอาภัสสร
นี้เป็นวิญญาณฐิติที่ ๓


อ้างคำพูด:
Quote Tipitaka:
เรากล่าวว่า อุเบกขาและสุขดับในที่ใด และท่านเหล่าใดดับอุเบกขา
และสุขได้แล้วๆ อยู่ในที่นั้น ท่านเหล่านั้นไม่มีความหิว ดับสนิทแล้ว ข้าม
ได้แล้ว ถึงฝั่งแล้ว ด้วยองค์ฌานนั้นเป็นแน่ ผู้ใดพึงถามอย่างนี้ว่า ก็อุเบกขา
และสุขย่อมดับในที่ไหน และใครดับอุเบกขาและสุขได้แล้วๆ อยู่ เราไม่รู้ผู้นี้
เราไม่เห็นผู้นี้ เธอทั้งหลายพึงตอบผู้นั้นอย่างนี้ว่า ดูกรอาวุโส ภิกษุในธรรมวินัย
นี้ บรรลุจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข เพราะละสุขละทุกข์และดับโสมนัส
โทมนัสก่อนๆ ได้ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์อยู่ อุเบกขาและสุขดับในองค์
ฌานนี้แล ท่านเหล่านั้นดับอุเบกขาและสุขได้แล้วๆ อยู่ ดูกรภิกษุทั้งหลาย
เธอเป็นผู้ไม่โอ้อวด ไม่มีมารยาเป็นแน่ พึงชื่นชมยินดีภาษิตว่า ดีแล้ว ครั้นแล้ว
พึงนมัสการกระทำอัญชลีเข้าไปนั่งใกล้ ฯ

Quote Tipitaka:
๔. สัตว์ที่มีกายอย่างเดียวกัน มีสัญญาอย่างเดียวกัน ได้แก่พวกเทพ
ชั้นสุภกิณหะ นี้เป็นวิญญาณฐิติที่ ๔


อ้างคำพูด:
Quote Tipitaka:
เรากล่าวว่า รูปสัญญาดับในที่ใด และท่านเหล่าใดดับรูปสัญญาได้
แล้วๆ อยู่ในที่นั้น ท่านเหล่านั้นไม่มีความหิว ดับสนิทแล้ว ข้ามได้แล้ว ถึงฝั่ง
แล้ว ด้วยองค์ฌานนั้นเป็นแน่ ผู้ใดพึงถามอย่างนี้ว่า รูปสัญญาดับในที่ไหน
และใครดับรูปสัญญาได้แล้วๆ อยู่ เราไม่รู้ผู้นี้ เราไม่เห็นผู้นี้ เธอทั้งหลาย
พึงตอบผู้นั้นอย่างนี้ว่า ดูกรอาวุโส ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะล่วงรูปสัญญาโดย
ประการทั้งปวง เพราะดับปฏิฆสัญญา เพราะไม่ใส่ใจถึงนานัตตสัญญา บรรลุ
อากาสานัญจายตนฌาน เพราะคำนึงเป็นอารมณ์ว่า อากาศไม่มีที่สุด รูปสัญญา
ย่อมดับในองค์ฌานนี้ และท่านเหล่านั้นดับรูปสัญญาได้แล้วๆ อยู่ ดูกรภิกษุ
ทั้งหลาย เธอเป็นผู้ไม่โอ้อวด ไม่มีมารยาเป็นแน่ พึงชื่นชมยินดีภาษิตว่า ดีแล้ว
ครั้นแล้ว พึงนมัสการกระทำอัญชลีเข้าไปนั่งใกล้ ฯ

Quote Tipitaka:
๕. สัตว์ที่เข้าถึงชั้นอากาสานัญจายตนะด้วยมนสิการว่า อากาศหาที่สุด
มิได้ เพราะล่วงรูปสัญญา เพราะดับปฏิฆะสัญญา เพราะไม่ใส่ใจถึงนานัตตสัญญา
โดยประการทั้งปวง นี้เป็นวิญญาณฐิติที่ ๕


อ้างคำพูด:
Quote Tipitaka:
เรากล่าวว่า อากาสานัญจายตนสัญญาดับในที่ใด และท่านเหล่าใดดับ
อากาสานัญจายตนสัญญาได้แล้วๆ อยู่ในที่นั้น ท่านเหล่านั้นไม่มีความหิว
ดับสนิทแล้ว ข้ามได้แล้ว ถึงฝั่งแล้ว ด้วยองค์ฌานนั้นเป็นแน่ ผู้ใดพึงถามอย่างนี้ว่า
อากาสานัญจายตนสัญญาดับในที่ไหน และใครดับอากาสานัญจายตนสัญญาได้
แล้วๆ อยู่ เราไม่รู้ผู้นี้ เราไม่เห็นผู้นี้ เธอทั้งหลายพึงตอบผู้นั้นอย่างนี้ว่า
ดูกรอาวุโส ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะล่วงอากาสานัญจายตนฌานโดยประการ
ทั้งปวง บรรลุวิญญาณัญจายตนฌาน โดยคำนึงเป็นอารมณ์ว่า วิญญาณไม่มีที่สุด
อากาสานัญจายตนสัญญาดับในองค์ฌานนี้ และท่านเหล่านั้นดับอากาสานัญจายตน-
*สัญญาได้แล้วๆ อยู่ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอเป็นผู้ไม่โอ้อวด ไม่มีมารยาเป็น
แน่ พึงชื่นชมยินดีภาษิตว่า ดีแล้ว ครั้นแล้ว พึงนมัสการกระทำอัญชลีเข้า
ไปนั่งใกล้ ฯ

Quote Tipitaka:
๖. สัตว์ที่เข้าถึงชั้นวิญญาณัญจายตนะด้วยมนสิการว่า วิญญาณหาที่สุด
มิได้ เพราะล่วงชั้นอากาสานัญจายตนะโดยประการทั้งปวง นี้เป็นวิญญาณฐิติที่ ๖


อ้างคำพูด:
Quote Tipitaka:
เรากล่าวว่า วิญญาณัญจายตนสัญญาดับในที่ใด และท่านเหล่าใดดับ
วิญญาณัญจายตนสัญญาได้แล้วๆ อยู่ในที่นั้น ท่านเหล่านั้นไม่มีความหิว ดับสนิท
แล้ว ข้ามได้แล้ว ถึงฝั่งแล้ว ด้วยองค์ฌานนี้เป็นแน่ ผู้ใดพึงถามอย่างนี้ว่า
วิญญาณัญจายตนสัญญาดับในที่ไหน และใครดับวิญญาณัญจายตนสัญญาได้แล้วๆ
อยู่ เราไม่รู้ผู้นี้ เราไม่เห็นผู้นี้ เธอทั้งหลายพึงตอบผู้นั้นอย่างนี้ว่า ดูกรอาวุโส
ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะล่วงวิญญาณัญจายตนฌานโดยประการทั้งปวง บรรลุ
อากิญจัญญายตนฌาน โดยคำนึงเป็นอารมณ์ว่า อะไรๆ หน่อยหนึ่งไม่มี
วิญญาณัญจายตนสัญญาย่อมดับในองค์ฌานนี้ และท่านเหล่านั้นดับวิญญาณัญ-
*จายตนสัญญาได้แล้วๆ อยู่ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอเป็นผู้ไม่โอ้อวด ไม่มีมารยา
เป็นแน่ พึงชื่นชมยินดีภาษิตว่า ดีแล้ว ครั้นแล้ว พึงนมัสการกระทำอัญชลี
เข้าไปนั่งใกล้ ฯ

Quote Tipitaka:
๗. สัตว์ที่เข้าถึงชั้นอากิญจัญญายตนะ ด้วยมนสิการว่า ไม่มีอะไร
เพราะล่วงชั้นวิญญาณัญจายตนะ โดยประการทั้งปวง นี้เป็นวิญญาณฐิติที่ ๗


อ้างคำพูด:
Quote Tipitaka:
เรากล่าวว่า อากิญจัญญายตนสัญญาดับในที่ใด และท่านเหล่าใดดับ
อากิญจัญญายตนสัญญาได้แล้วๆ อยู่ในที่นั้น ท่านเหล่านั้นไม่มีความหิวดับสนิท
แล้ว ข้ามได้แล้ว ถึงฝั่งแล้วด้วยองค์ฌานนี้เป็นแน่ ผู้ใดพึงถามอย่างนี้ว่า
อากิญจัญญาตนสัญญาดับในที่ไหน และใครดับอากิญจัญญายตนสัญญาได้แล้วๆ
อยู่ เราไม่รู้ผู้นี้ เราไม่เห็นผู้นี้ เธอทั้งหลายพึงตอบผู้นั้นอย่างนี้ว่า ดูกรอาวุโส ภิกษุ
ในธรรมวินัยนี้ เพราะล่วงอากิญจัญญายตนฌานโดยประการทั้งปวง บรรลุ
เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน อากิญจัญญายตนสัญญาดับในองค์ฌานนี้
และท่าน
เหล่านั้นดับอากิญจัญญายตนสัญญาได้แล้วๆ อยู่ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอเป็นผู้ไม่
โอ้อวด ไม่มีมารยาเป็นแน่ พึงชื่นชมยินดีภาษิตว่า ดีแล้ว ครั้นแล้ว พึงนมัสการ
กระทำอัญชลีเข้าไปนั่งใกล้ ฯ


Quote Tipitaka:
ส่วนอายตนะอีก ๒ คือ อสัญญีสัตตายตนะ (ข้อที่ ๑) และข้อที่ ๒
คือ เนวสัญญานาสัญญายตนะ

ดูกรอานนท์ บรรดาวิญญาณฐิติทั้ง ๗ ประการนั้น วิญญาณฐิติข้อที่ ๑ มี
ว่า สัตว์มีกายต่างกัน มีสัญญาต่างกัน ได้แก่พวกมนุษย์และพวกเทพบางพวก
พวกวินิบาตบางพวก ผู้ที่รู้ชัดวิญญาณฐิติข้อนั้น รู้ความเกิดและความดับ รู้คุณ
และโทษ แห่งวิญญาณฐิติข้อนั้น และรู้อุบายเป็นเครื่องออกไปจากวิญญาณฐิติ
ข้อนั้น เขายังจะควรเพื่อเพลิดเพลินวิญญาณฐิตินั้นอีกหรือ ฯ
ไม่ควร พระเจ้าข้า ฯ


Quote Tipitaka:
เรากล่าวว่า เนวสัญญานาสัญญายตนสัญญาดับในที่ใด และท่านเหล่า
ใดดับเนวสัญญานาสัญญายตนสัญญาได้แล้วๆ อยู่ ท่านเหล่านั้นไม่มีความหิว
ดับสนิทแล้ว ข้ามได้แล้ว ถึงฝั่งแล้วด้วยองค์ฌานนี้เป็นแน่ ผู้ใดพึงถามอย่างนี้ว่า
เนวสัญญานาสัญญายตนสัญญาดับในที่ไหน และใครดับเนวสัญญานาสัญญายตน
สัญญาได้แล้วๆ อยู่ เราไม่รู้ผู้นี้ เราไม่เห็นผู้นี้ เธอทั้งหลายพึงตอบผู้นั้นอย่าง
นี้ว่า ดูกรอาวุโส ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะล่วงเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน
โดยประการทั้งปวง บรรลุสัญญาเวทยิตนิโรธ เนวสัญญานาสัญญายตนสัญญา
ดับในนิโรธนี้ และท่านเหล่านั้นดับเนวสัญญานาสัญญายตนสัญญาได้แล้วๆ อยู่
ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอเป็นผู้ไม่โอ้อวด ไม่มีมารยาเป็นแน่ พึงชื่นชมยินดีภาษิตว่า
ดีแล้ว ครั้นแล้ว พึงนมัสการกระทำอัญชลีเข้าไปนั่งใกล้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย
อนุปุพพวิหารสมาบัติ ๙ ประการนี้แล ฯ
จบสูตรที่ ๒


Quote Tipitaka:
ส่วนข้อที่ ๒ คือ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ผู้ที่รู้ชัดเนวสัญญานา-
*สัญญายตนะข้อนั้น รู้ความเกิดและความดับ รู้คุณและโทษแห่งเนวสัญญานา-
*สัญญายตนะข้อนั้น และรู้อุบายเป็นเครื่องออกไปจากเนวสัญญานาสัญญายตนะ
ข้อนั้น เขายังจะควรเพื่อเพลิดเพลินเนวสัญญานาสัญญายตนะข้อนั้นอีกหรือ ฯ
ไม่ควร พระเจ้าข้า ฯ

ดูกรอานนท์ เพราะภิกษุมาทราบชัดความเกิดและความดับทั้งคุณและโทษ
และอุบายเป็นเครื่องออกไปจากวิญญาณฐิติ ๗ และอายตนะ ๒ เหล่านี้ ตามเป็น
จริงแล้ว ย่อมเป็นผู้หลุดพ้นได้ เพราะไม่ยึดมั่น อานนท์ ภิกษุนี้เราเรียกว่า
ปัญญาวิมุตติ ฯ




Quote Tipitaka:
๒. พีชสูตร
ว่าด้วยอุปมาวิญญาณด้วยพืช
[๑๐๖] พระนครสาวัตถี ฯลฯ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย พืช ๕ อย่าง
นี้. ๕ อย่างเป็นไฉน? คือ พืชงอกจากเหง้า ๑ พืชงอกจากลำต้น ๑ พืชงอกจากข้อ ๑ พืชงอกจาก
ยอด ๑ พืชงอกจากเมล็ด ๑. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็พืช ๕ อย่างนี้ มิได้ถูกทำลาย ไม่เน่า ไม่ถูก
ลมแดดทำให้เสีย ยังเพาะขึ้น อันบุคคลเก็บไว้ดี แต่ไม่มีดิน ไม่มีน้ำ. พืช ๕ อย่าง พึงถึงความ
เจริญงอกงามไพบูลย์ได้หรือ?
ภิกษุเหล่านั้นกราบทูลว่า ข้อนั้นไม่ได้ พระพุทธเจ้าข้า.
พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย พืช ๕ อย่างนี้ มิได้ถูกทำลาย ฯลฯ อันบุคคลเก็บไว้ดี และมี
ดิน มีน้ำ. พืช ๕ อย่างนี้ พึงถึงความเจริญงอกงามไพบูลย์ได้หรือ?
ภิ. ได้ พระพุทธเจ้าข้า.
[๑๐๗] พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลาย พึงเห็นวิญญาณฐิติ ๔ เหมือนปฐวีธาตุ
พึงเห็นความกำหนัดด้วยอำนาจความเพลิน เหมือนอาโปธาตุ. พึงเห็นวิญญาณพร้อมด้วยอาหาร
เหมือนพืช ๕ อย่าง. ดูกรภิกษุทั้งหลาย วิญญาณที่เข้าถึงรูปก็ดี เมื่อตั้งอยู่ พึงตั้งอยู่ วิญญาณ
ที่มีรูปเป็นอารมณ์ มีรูปเป็นที่ตั้ง มีความยินดีเป็นที่เข้าไปซ่องเสพ พึงถึงความเจริญงอกงาม
ไพบูลย์. ดูกรภิกษุทั้งหลาย วิญญาณที่เข้าถึงเวทนาก็ดี ฯลฯ วิญญาณที่เข้าถึงสัญญาก็ดี ฯลฯ
วิญญาณที่เข้าถึงสังขารก็ดี เมื่อตั้งอยู่ พึงตั้งอยู่ วิญญาณที่มีสังขารเป็นอารมณ์ มีสังขารเป็นที่ตั้ง
มีความยินดีเป็นที่เข้าไปซ่องเสพ พึงถึงความเจริญงอกงามไพบูลย์. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ผู้ใดพึง
กล่าวอย่างนี้ว่า เราจักบัญญัติการมา การไป จุติ อุปบัติ หรือความเจริญงอกงามไพบูลย์แห่ง
วิญญาณ เว้นจากรูป เวทนา สัญญา สังขาร ข้อนี้ไม่เป็นฐานะที่จะมีได้. ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ถ้าความกำหนัดในรูปธาตุ ในเวทนาธาตุ ในสัญญาธาตุ ในสังขารธาตุ ในวิญญาณธาตุ
เป็นอันภิกษุละได้แล้วไซร้ เพราะละความกำหนัดเสียได้ อารมณ์ย่อมขาดสูญ ที่ตั้งแห่งวิญญาณ
ย่อมไม่มี วิญญาณอันไม่มีที่ตั้งนั้น ไม่งอกงาม ไม่แต่งปฏิสนธิ หลุดพ้นไป เพราะหลุดพ้นไป
จึงดำรงอยู่ เพราะดำรงอยู่ จึงยินดีพร้อม เพราะยินดีพร้อม จึงไม่สะดุ้ง เมื่อไม่สะดุ้ง ย่อม
ดับรอบเฉพาะตนเท่านั้น. เธอย่อมทราบชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ
ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี.

จบ. สูตรที่ ๒.


เมื่อ พิจารณาองค์ธรรมตามพระสูตรทั้ง 2
พระสูตรทั้ง 2 ใช้ภาษาเหมือนจะกล่าวไปในคนละเรื่อง
ซึ่ง ไม่แปลกเลยที่ ผู้ปฏิบัติจะมองเห็นตนเป็นสัตว์โดยนัยยะ
เพราะ เป็นสัตว์นั้น ๆ ด้วยปัจจัยองค์ประกอบที่ปรากฎเกิด...นั่นล่ะ

Quote Tipitaka:
๔. อนุราธสูตร
ว่าด้วยสัตว์บุคคลไม่มีในขันธ์ ๕
[๒๐๘] สมัยหนึ่งพระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ กูฏาคารศาลา ป่ามหาวัน ใกล้พระนคร
เวสาลี. ก็สมัยนั้น ท่านพระอนุราธะอยู่ที่กระท่อมในป่า ไม่ไกลพระผู้มีพระภาค. ครั้งนั้น
อัญญเดียรถีย์ปริพาชก พากันเข้าไปหาท่านพระอนุราธะจนถึงที่อยู่ ได้สนทนาปราศรัยกับท่านพระ-
*อนุราธะ ครั้นผ่านการสนทนาปราศรัย พอให้ระลึกถึงกันแล้ว จึงนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งแล้ว
จึงได้กล่าวกะท่านอนุราธะว่า ดูกรท่านอนุราธะ พระตถาคตเป็นอุดมบุรุษ เป็นยอดบุรุษ ทรงถึง
ความบรรลุชั้นเยี่ยม เมื่อจะทรงบัญญัติ ย่อมทรงบัญญัติ ในฐานะ ๔ นี้ คือสัตว์เบื้องหน้าแต่
ตายแล้ว ย่อมเกิดอีก ๑ ย่อมไม่เกิดอีก ๑ ย่อมเกิดอีกก็มี ย่อมไม่เกิดอีกก็มี ๑ ย่อมไม่เกิดอีก
อีกก็หามิได้ ๑. เมื่อพวกปริพาชกกล่าวอย่างนั้นแล้ว ท่านพระอนุราธะได้กล่าวกะอัญญเดียรถีย์
ปริพาชกเหล่านั้นว่า ดูกรท่านทั้งหลาย พระตถาคตทรงเป็นอุดมบุรุษ ทรงเป็นยอดบุรุษ ทรงถึง
ความบรรลุชั้นเยี่ยม เมื่อจะทรงบัญญัติ ย่อมทรงบัญญัตินอกจากฐานะ ๔ เหล่านี้ คือ สัตว์เบื้อง
หน้าแต่ตายแล้ว ย่อมเกิดอีก ๑ ย่อมไม่เกิดอีก ๑ ย่อมเกิดอีกก็มี ย่อมไม่เกิดก็มี ๑ ย่อมเกิดอีก
ก็หามิได้ ย่อมไม่เกิดก็หามิได้ ย่อมไม่เกิดอีกก็หามิได้ ๑. เมื่อท่านพระอนุราธะกล่าวอย่างนั้นแล้ว
อัญญเดียรถีย์ปริพาชกเหล่านั้นได้กล่าวกะท่านพระอนุราธะว่า ภิกษุนี้จักเป็นภิกษุใหม่ บวชแล้ว
ไม่นาน ก็หรือว่าเป็นภิกษุเถระ แต่โง่เขลาไม่ฉลาด. ครั้งนั้น พวกอัญญเดียรถีย์ปริพาชกกล่าว
รุกรานท่านพระอนุราธะด้วยวาทะว่าเป็นภิกษุใหม่ และเป็นผู้โง่เขลาแล้ว พากันลุกจากอาสนะ
หลีกไป.
[๒๐๙] เมื่ออัญญเดียรถีย์ปริพาชกเหล่านั้น หลีกไปแล้วไม่นาน ท่านพระอนุราธะได้มี
ความคิดว่า ถ้าอัญญเดียรถีย์ปริพาชกเหล่านั้น พึงถามเราต่อไป เมื่อเราพยากรณ์อย่างไร จึงจะ
ชื่อว่าไม่เป็นผู้กล่าวตามที่อัญญเดียรถีย์ปริพาชกเหล่านั้นกล่าวแล้ว และชื่อว่าเป็นผู้กล่าว ตามที่
พระผู้มีพระภาคตรัสแล้ว ไม่พึงกล่าวตู่พระผู้มีพระภาคด้วยคำอันไม่จริง และพึงพยากรณ์ธรรม
สมควรแก่ธรรม ทั้งการคล้อยตามวาทะที่ถูกไรๆ จะไม่พึงถึงฐานะอันวิญญูชนจะติเตียนได้.
ลำดับนั้น ท่านพระอนุราธะ จึงเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคจนถึงที่ประทับ ฯลฯ แล้วกราบทูลพระผู้มี
พระภาคว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอประทานพระวโรกาส ข้าพระองค์อยู่ที่กระท่อมในป่า ไม่ไกล
พระผู้มีพระภาค ครั้งนั้น พวกอัญญเดียรถีย์ปริพาชกเป็นอันมาก พากันเข้าไปหาข้าพระองค์ถึงที่
อยู่ ฯลฯ กล่าวกะข้าพระองค์ว่า ดูกรท่านพระอนุราธะ พระตถาคตทรงเป็นอุดมบุรุษ ทรงเป็น
ยอดบุรุษ ทรงถึงความบรรลุชั้นเยี่ยม เมื่อจะทรงบัญญัติในฐานะ ๔ เหล่านี้ คือ สัตว์เบื้องหน้า
แต่ตายแล้ว ย่อมเกิดอีก ๑ ย่อมไม่เกิดอีก ๑ ย่อมเกิดอีกก็มี ย่อมไม่เกิดอีกก็มี ๑ ย่อมเกิดก็หา
มิได้ ย่อมไม่เกิดก็หามิได้ ๑. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เมื่อพวกอัญญเดียรถีย์ปริพาชกกล่าวอย่างนี้
แล้ว ข้าพระองค์จึงได้กล่าวกะพวกเขาว่า ดูกรท่านทั้งหลาย พระตถาคตทรงเป็นอุดมบุรุษ ทรง
เป็นยอดบุรุษ ทรงถึงความบรรลุชั้นเยี่ยม เมื่อจะทรงบัญญัติ ย่อมทรงบัญญัติ นอกจากฐานะ ๔
เหล่านี้ คือ สัตว์เบื้องหน้าแต่ตายแล้ว ย่อมเกิดอีก ๑ ย่อมไม่เกิดอีก ๑ ย่อมเกิดอีกก็มี ย่อม
ไม่เกิดอีกก็มี ๑ ย่อมเกิดอีกก็หามิได้ ย่อมไม่เกิดอีกก็หามิได้ ๑. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เมื่อ
ข้าพระองค์กล่าวอย่างนั้นแล้ว อัญญเดียรถีย์ปริพาชกเหล่านั้น ได้กล่าวกะข้าพระองค์ว่า ภิกษุนี้
จักเป็นภิกษุใหม่ บวชไม่นาน ก็หรือว่าเป็นเถระ แต่โง่เขลาไม่ฉลาด. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ
อัญญเดียรถีย์ปริพาชกเหล่านั้น รุกรานข้าพระองค์ด้วยวาทะว่า เป็นผู้ใหม่ เป็นผู้เขลาแล้ว ลุกจาก
อาสนะหลีกไป. เมื่ออัญญเดียรถีย์ปริพาชกเหล่านั้น หลีกไปแล้วไม่นาน ข้าพระองค์เกิดความ
คิดว่า ถ้าอัญญเดียรถีย์ปริพาชกเหล่านั้น พึงถามเราต่อไป เมื่อเราพยากรณ์อย่างไร จึงจะชื่อว่า
ไม่เป็นผู้กล่าว ตามที่อัญญเดียรถีย์ปริพาชกเหล่านั้นกล่าวแล้ว และชื่อว่าเป็นผู้กล่าว ตามที่
พระผู้มีพระภาคตรัสแล้ว ไม่พึงกล่าวตู่พระผู้มีพระภาคด้วยคำอันไม่จริง และพยากรณ์ธรรมสมควร
แก่ธรรม ทั้งการคล้อยตามวาทะที่ถูกไรๆ จะไม่พึงถึงฐานะอันวิญญูชนจะติเตียนได้.
[๒๑๐] พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า ดูกรอนุราธะ เธอจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน
รูปเที่ยงหรือไม่เที่ยง?
อ. ไม่เที่ยง พระเจ้าข้า.
พ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า?
อ. เป็นทุกข์ พระเจ้าข้า.
พ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ควรหรือหนอ ที่จะตาม
เห็นสิ่งนั้นว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตัวตนของเรา?
อ. ไม่ควรเห็นอย่างนั้น พระเจ้าข้า.
พ. เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เที่ยงหรือไม่เที่ยง?
อ. ไม่เที่ยง พระเจ้าข้า.
พ. เพราะเหตุนี้แล ฯลฯ อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว เห็นอยู่อย่างนี้ ฯลฯ ย่อมรู้ชัดว่า
ฯลฯ กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี.
[๒๑๑] พ. ดูกรอนุราธะ เธอจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน เธอย่อมเห็นรูปว่า
เป็นสัตว์บุคคลหรือ?
อ. ไม่ใช่อย่างนั้น พระเจ้าข้า.
พ. เธอย่อมเห็นเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณว่า เป็นสัตว์บุคคลหรือ?
อ. ไม่ใช่อย่างนั้น พระเจ้าข้า.
[๒๑๒] พ. ดูกรอนุราธะ เธอจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน เธอย่อมเห็นว่า
สัตว์บุคคลในรูปหรือ?
อ. ไม่ใช่อย่างนั้น พระเจ้าข้า.
พ. เธอย่อมเห็นว่า สัตว์บุคคลอื่นจากรูปหรือ?
อ. ไม่ใช่อย่างนั้น พระเจ้าข้า.
พ. เธอย่อมเห็นว่า สัตว์บุคคลในเวทนาหรือ?
อ. ไม่ใช่อย่างนั้น พระเจ้าข้า.
พ. เธอย่อมเห็นว่า สัตว์บุคคลอื่นจากเวทนาหรือ?
อ. ไม่ใช่อย่างนั้น พระเจ้าข้า.
พ. เธอย่อมเห็นว่า สัตว์บุคคลในสัญญาหรือ?
อ. ไม่ใช่อย่างนั้น พระเจ้าข้า.
พ. เธอย่อมเห็นว่า สัตว์บุคคลอื่นจากสัญญาหรือ?
อ. ไม่ใช่อย่างนั้น พระเจ้าข้า.
พ. เธอย่อมเห็นว่า สัตว์บุคคลในสังขารหรือ?
อ. ไม่ใช่อย่างนั้น พระเจ้าข้า.
พ. เธอย่อมเห็นว่า สัตว์บุคคลอื่นจากสังขารหรือ?
อ. ไม่ใช่อย่างนั้น พระเจ้าข้า.
พ. เธอย่อมเห็นว่า สัตว์บุคคลในวิญญาณหรือ?
อ. ไม่ใช่อย่างนั้น พระเจ้าข้า.
พ. เธอย่อมเห็นว่า สัตว์บุคคลอื่นจากวิญญาณหรือ?
อ. ไม่ใช่อย่างนั้น พระเจ้าข้า.
[๒๑๓] พ. ดูกรอนุราธะ เธอจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน เธอย่อมเห็นว่า สัตว์
บุคคลมีรูป มีเวทนา มีสัญญา มีสังขาร มีวิญญาณ อย่างนั้นหรือ?
อ. ไม่ใช่อย่างนั้น พระเจ้าข้า.
[๒๑๔] พ. ดูกรอนุราธะ เธอจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน เธอย่อมเห็นว่า สัตว์
บุคคลนี้ไม่มีรูป ไม่มีเวทนา ไม่มีสัญญา ไม่มีสังขาร ไม่มีวิญญาณ อย่างนั้นหรือ?
อ. ไม่ใช่อย่างนั้น พระเจ้าข้า.
พ. ดูกรอนุราธะ ก็โดยที่จริง โดยที่แท้ เธอค้นหาสัตว์บุคคลในขันธ์ ๕ เหล่านี้ใน
ปัจจุบันไม่ได้เลย ควรแลหรือที่เธอจะพยากรณ์ว่า พระตถาคตเป็นอุดมบุรุษ เป็นยอดบุรุษ ถึง
ความบรรลุชั้นเยี่ยม เมื่อจะบัญญัติ ย่อมบัญญัติเว้นจากฐานะ ๔ เหล่านี้ คือ สัตว์เบื้องหน้าแต่
ตายแล้ว ย่อมเกิดอีก ๑ ย่อมไม่เกิดอีก ๑ ย่อมเกิดอีกก็มี ย่อมไม่เกิดอีกก็มี ๑ ย่อมเกิดอีก
ก็หามิได้ ย่อมไม่เกิดอีกก็หามิได้ ๑?
อ. ข้อนั้นไม่ควรเลย พระเจ้าข้า.
พ. ถูกละๆ อนุราธะ ทั้งเมื่อก่อนและทั้งบัดนี้ เราย่อมบัญญัติทุกข์ และความดับทุกข์
จบ สูตรที่ ๔.


ซึ่ง...การแสดงความเห็นแบบลัดสั้นของคุณแก้วเก้า
แม้จะสั้น แต่ทว่าจริง ๆ คือ เป็นการอธิบายภาพคร่าว ๆ แบบย่อ
แต่ครบองค์ประกอบในความลาดไปขององค์ธรรมอย่างมีลำดับจากหยาบไปละเอียด
ไม่ขาดนัยยะหลักอันสำคัญ ๆ ไป

แก้วเก้า เขียน:
เป็นมรรคที่ผู้เจริญจะเป็นผู้ที่มากไปด้วยสมาธินำธรรมที่เกิดในสมาธิฌานนั้นที่เห็นด้วยปัญญาจักษุ ทั้งเรื่อง ธาตุ ขันธ์ ๕ (รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ) อายตนะ ฯลฯ ที่เห็นได้จากจักษุฌานนั้นๆ โดยความเป็นสภาพ
ไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา ฯลฯ เพื่อละกิเลสอาสวะและอวิชชา
ขันธ์ที่ปรากฏส่วนรูป เช่นผม ขน เล็บ ฟัน หนัง อาการ 32 ต่างๆ อสุภ อสุภา หรือรูปที่ไกล รูปที่ใกล้ก็ตาม
ผู้เจริญวิปัสสนามีสมถะเป็นเบื้องต้นก็เจริญเช่นนี้จนกระทั่งส่วนของรูปนี้ดับไปกลายเป็นธาตุดินไป
พิจารณาอย่างไรๆ ก็ไม่ปรากฏนิมิตขึ้นได้อีกดับพลึบไปเป็นต้น

ในพระสูตรอื่นได้มีคำสอนเรื่องอินทรีย์สังวร สังวรปธารความเพียรระวังเห็นรูปด้วยจักษุ ไม่ถือนิมิต ไม่ถือพยัญชนะ มีพระสูตรที่พระพุทธองค์ทรงตรัสสอนไว้เป็นสมาธิที่เป็นโลกุตรมากมาย อาทิ ฌานสูตร
เป็นต้น ให้ท่านศึกษาแล้วจะได้นำมาปฎิบัติได้ถูกต้องค่ะ

ให้สำรวม ผัสสะทางอื่นอีกรวมหกทางนี้ไม่ว่าจะเป็นอดีต ปัจจุบัน อนาคตก็ให้สำรวม เป็นต้น
ในส่วนของนาม คือเวทนา ๓ ทุกข์เวทนา สุขเวทนา ไม่ทุกข์ไม่สุขเวทนา ก็ให้มองโดยสภาพไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา จนกระทั่งเวทนา ๓ ดับไป เป็นต้นหลังจากท่านละเวทนาได้สภาะจะเกิดคือสามารถแยกเวทนาที่เกิดกับกาย กับเวทนาที่เกิดกับจิตได้ค่ะ


สัญญา สังขาร วิญญาณ ก็เช่นกัน ก็ให้พิจารณาไปเช่นเดียวกัน ธรรมเหล่านี้เป็นธรรมที่เนื่องด้วยจิต ท่านก็จะพิจารณาเห็น
จิตในจิต ก็พิจารณาไป สัญญาการจำได้หมายรู้ทั้งอดีต ปัจจุบัน อนาคต สังขารจิต จิตปรุงกิเลส กิเลสปรุงจิต ก็นำมาพิจารณาโดยสภาพของความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา การละนิวรณ์ ๕ และสัมมาสมาธิ สัมมาญานะ เพื่อสัมมาวิมุติ

วิญญาณตัวรู้ ซึ่งปรากฏให้เห็นตลอดเวลา(อันเนื่องจากมรรคที่เพียรปฎิบัติจนเป็นสัมมามรรค
ขอกล่าวถึงคร่าวๆ นะคะ) ก็พิจารณาโดยความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เช่นกันค่ะ
จนสามารถดับวิญญาณตัวรู้ได้ ดับอวิชชาได้ กิเลสอาสวะหมดสิ้นไป หรือบางท่านจะละกิเลสบางส่วนไปได้เพราะเห็นอริยสัจด้วยปัญญาค่ะ

( บุคคลที่ท่านหลุดพ้นแล้วโดยส่วนสองก็จะเป็น อุภโตภาควิมุตบุคคล ถ้าท่านที่ละกิเลสบางส่วนไปเพราะเห็นอริยสัจด้วยปัญญา ก็จะเป็นกายสักขีบุคคล)

...


แก้ไขล่าสุดโดย eragon_joe เมื่อ 19 มิ.ย. 2017, 20:12, แก้ไขแล้ว 2 ครั้ง.

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 มิ.ย. 2017, 19:22 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5976

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


ว่าแล้ว ต้องมีทิฏฐิเยี่ยงนี้ :b12:

ตามสบายเลยจ้า smiley

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 มิ.ย. 2017, 19:26 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5019


 ข้อมูลส่วนตัว


ทำไม วิญญาณฐิติ 7 จึงไปจบลงด้วย อายตนะ 2

เพราะ องค์ธรรมใน เนวสัญญานสัญญา เขาเหลืออยู่เพียงเท่าที่ยังคงมีสภาพธรรมอยู่
คือ ธรรมโดยสภาพของ อายตนะ
เมื่อถึง วิญญาณฐิติ 7 จึงไม่มี วิญญาณฐิติ 8-9-10...

อายตนะ ที่ติดต่อ, เครื่องติดต่อ, แดนต่อความรู้, เครื่องรู้และสิ่งที่รู้
เช่น ตา เป็นเครื่องรู้ รูปเป็นสิ่งที่รู้, หูเป็นเครื่องรู้ เสียงเป็นสิ่งที่รู้ เป็นต้น,
จัดเป็น ๒ ประเภท คือ อายตนะภายใน ๖ อายตนะภายนอก ๖

อายตนะภายนอก เครื่องต่อภายนอก, สิ่งที่ถูกรู้มี ๖ คือ
๑. รูป รูป
๒. สัททะ เสียง
๓. คันธะ กลิ่น
๔. รส รส
๕. โผฏฐัพพะ สิ่งต้องกาย

๖. ธัมมะ ธรรมารมณ์ คือ อารมณ์ที่เกิดกับใจ หรือสิ่งที่ใจรู้;
อารมณ์ ๖ ก็เรียก

อายตนะภายใน เครื่องต่อภายใน, เครื่องรับรู้มี ๖ คือ
๑. จักขุ ตา
๒. โสต หู
๓. ฆาน จมูก
๔. ชิวหา ลิ้น
๕. กาย กาย

๖. มโน ใจ;
อินทรีย์ ๖ ก็เรียก


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 มิ.ย. 2017, 20:17 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 5
สมาชิก ระดับ 5
ลงทะเบียนเมื่อ: 19 ก.พ. 2013, 19:24
โพสต์: 300

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ไม่เกรงใจพระพุทธเจ้าก็คงไม่เท่าไหร่
เพราะท่านดับขันธ์ปรินิพพานไปนานแล้ว
แต่ก็น่าจะเกรงใจตัวแทนของพระองค์บ้างเพราะท่านยังอยู่

ไปเอาวิญญาณฐิติ 8 9 10 มาพูดมันอยู่ตรงไหนกัน
และอีกหลายๆ อย่าง เดี๋ยวจะว่าคอยแต่จ้องจับผิด


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 มิ.ย. 2017, 20:22 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5019


 ข้อมูลส่วนตัว


ธรรมมา เขียน:
ไปเอาวิญญาณฐิติ 8 9 10 มาพูดมันอยู่ตรงไหนกัน


:b32: ... ก็บอกว่า... จึงไม่มีไง ไม่ได้บอกว่ามี

eragon_joe เขียน:
ทำไม วิญญาณฐิติ 7 จึงไปจบลงด้วย อายตนะ 2

เพราะ องค์ธรรมใน เนวสัญญานสัญญา เขาเหลืออยู่เพียงเท่าที่ยังคงมีสภาพธรรมอยู่
คือ ธรรมโดยสภาพของ อายตนะ
เมื่อถึง วิญญาณฐิติ 7 จึงไม่มี วิญญาณฐิติ 8-9-10...



:b1:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 มิ.ย. 2017, 23:06 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5019


 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
สตฺตวิญฺญาณฏฺฐิติวณฺณนา

บัดนี้ ผู้ที่ท่านกล่าวว่า ไม่บัญญัติ เพราะไปอยู่ๆ ชื่อว่าหลุดพ้นจากส่วนทั้งสอง อนึ่ง ผู้ที่ท่านกล่าวว่าไม่พิจารณาเห็นเพราะไปอยู่ๆ ชื่อว่าพ้นด้วยปัญญา ฉะนั้น เพื่อทรงแสดงบทสรุปและชื่อของภิกษุทั้ง ๒ พวกที่กล่าวแล้วเหล่านั้น จึงตรัสคำเป็นอาทิว่า ดูก่อนอานนท์ วิญญาณฐิติเหล่านี้ ๗ อย่าง.

ในบทเหล่านั้น บทว่า สตฺตา ท่านกล่าวด้วยสามารถปฏิสนธิ. วิญญาณฐิติ ๔ ท่านกล่าวไว้ด้วยสามารถแห่งอารมณ์ จักมาในสังคีติสูตร. ชื่อว่าวิญญาณฐิติ เพราะมีวิญญาณตั้งอยู่. บทว่า วิญฺญาณฐิติ นี้เป็นชื่อของที่ตั้งอยู่แห่งวิญญาณ. บทว่า เทฺว อายตนานิ คือ ที่อยู่อาศัยและที่ตั้ง ๒. ก็บทว่า อายตนะ ในที่นี้ท่านประสงค์เอาที่อยู่อาศัย. ด้วยเหตุนั้นแล ท่านจักกล่าวถึงอายตนะ ๒ คือ อสัญญีสัตตายตนะ ที่อยู่ของสัตว์ผู้ไม่มีสัญญา เนวสัญญานาสัญญายตนะ ที่อยู่ของสัตว์มีสัญญาก็ไม่ใช่ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่.
ถามว่า ก็เพราะเหตุไร ท่านจึงถือเอาอายตนะนี้ทั้งหมด.
ตอบว่า เพื่อควบคุมวัฏฏะ. จริงอยู่ วัฏฏะย่อมไม่ถึงการควบคุมด้วยสามารถวิญญาณฐิติอันบริสุทธิ์ หรือด้วยสามารถอายตนะบริสุทธิ์ แต่ย่อมถึงการควบคุมด้วยสามารถภพกำเนิด คติและสัตตาวาส เพราะฉะนั้น ท่านจึงถือเอาอายตนะนี้ทั้งหมด.
บัดนี้ พระศาสดาเมื่อจะทรงจำแนกความนั้นโดยลำดับจึงตรัสคำเป็นอาทิว่า กตมา สตฺต ดังนี้เป็นต้น.
ในบทเหล่านั้น บทว่า เสยฺยถาปิ เป็นนิบาตในอรรถว่าตัวอย่าง. อธิบายว่า เหมือนอย่างมนุษย์ดังนี้.
จริงอยู่ ในจักรวาลอันหาประมาณมิได้ เช่นกับหนึ่งไม่มีสอง ด้วยสามารถแห่งวรรณะและสัณฐานเป็นต้นของมนุษย์อันหาประมาณมิได้. ความแปลกกันด้วยอาการเป็นต้นว่า การมองดู การเหลียวดู การพูด การหัวเราะ การเดินและการยืน ย่อมมีแค่นี้ น้องฝาแฝดในที่ไหนๆ ย่อมเป็นเช่นเดียวกันโดยวรรณะหรือโดยทรวดทรง เพราะฉะนั้น ท่านจึงกล่าวว่า นานตฺตกายา. แต่ปฏิสนธิวิญญาณของสัตว์เหล่านั้นมี ๓ เหตุบ้าง มี ๒ เหตุบ้าง ไม่มีเหตุบ้าง เพราะฉะนั้น ท่านจึงกล่าวว่ามีสัญญาต่างกัน.

บทว่า เอกจฺเจ จ เทวา คือ เทวดาชั้นฉกามาพจร. ก็ในเทวดาเหล่านั้นบางพวกมีตัวเขียว บางพวกมีวรรณะเหลืองเป็นต้น. แต่สัญญาของเทวดาเหล่านั้นมี ๒ เหตุบ้าง มี ๓ เหตุบ้าง ไม่มีเหตุบ้าง.

บทว่า เอกจฺเจ จ วินิปาติกา ความว่า เวมานิกเปรตมีอาทิอย่างนี้ว่า ยักษิณีชื่ออุตตรมาตา ปิยังกรมาตา ปุสสมิตตา ธรรมคุตตา ผู้จมอยู่ในอบาย ๔ ก็กายของเปรตเหล่านั้นมีต่างๆ กัน ด้วยสามารถสีมีสีเหลือง สีขาว สีดำ สีทอง สีคร่ำเป็นต้น และด้วยสามารถความผอม ความอ้วน สูงและต่ำ. แม้สัญญาก็มีด้วยสามารถทวิเหตุกะ ติเหตุกะ และอเหตุกะ เหมือนของมนุษย์ทั้งหลาย. ก็เปรตเหล่านั้นไม่มีศักดิ์ใหญ่เหมือนเทวดา มีศักดิ์น้อยเหมือนคนกำพร้า ของกิน เสื้อผ้าหาได้ยาก ถูกทุกข์บีบคั้นอยู่. บางพวกได้รับทุกข์ในข้างแรมได้รับสุขในข้างขึ้น เพราะฉะนั้น ท่านจึงกล่าวว่า วินิปาติกะ เพราะความเป็นผู้ตกไปจากการสะสมความสุข.

ก็ในเปรตเหล่านี้ แม้การตรัสรู้ธรรมก็ย่อมมีได้แก่เปรตจำพวกติเหตุกะ. ก็ยักษิณีชื่อปิยังกรมาตาได้สดับพระอนุรุทธเถระผู้สาธยายธรรมอยู่ในเวลาใกล้รุ่ง ตักเตือนบุตรน้อยอย่างนี้ว่า
เจ้าปิยังกรอย่าเอ็ดไป ภิกษุกำลังกล่าวบทธรรม
อีกอย่าง เรารู้บทธรรมแล้ว จะปฏิบัติเพื่อประโยชน์
ของเรา ข้อนั้นพึงมี
เราพึงสำรวมในสัตว์ทั้งหลายไม่พึงกล่าวเท็จ
ทั้งๆ รู้พึงศึกษาความเป็นผู้มีศีลของตน เราก็จะพ้น
จากกำเนิดปีศาจ ดังนี้
แล้วได้บรรลุโสดาปัตติผลในวันนั้นเอง.
บทว่า พฺรหฺมกายิกา ได้แก่ พรหมปาริสัชชะ พรหมปุโรหิต มหาพรหม.
บทว่า ปฐมาภินิพฺพตฺตา ได้แก่ พวกเทพทั้งหมดเหล่านั้นเกิดด้วยปฐมฌาน.
ก็ในบรรดาเทพเหล่านั้น เทพพรหมปาริสัชชะเกิดแล้วด้วยคุณเล็กน้อย. เทพพรหมปาริสัชชะเหล่านั้นอายุประมาณ ๓ ส่วนของกัป เทพพรหมปุโรหิตเกิดแล้วด้วยคุณปานกลาง. อายุประมาณกึ่งกัปและกายของพราหมปุโรหิตนั้นผึ่งผายกว่า. เทพมหาพรหมเกิดด้วยคุณอันประณีต. อายุประมาณ ๑ กัป กายของเทพเหล่านั้นผึ่งผายยิ่งนัก. ด้วยประการดังนี้ พึงทราบว่า เทพเหล่านั้นมีกายต่างกัน มีสัญญาอย่างเดียวกัน เพราะกายต่างกัน เพราะสัญญาอย่างเดียวกันด้วยสามารถปฐมฌาน.

สัตว์ทั้งหลายในอบาย ๔ ก็เหมือนเทพเหล่านั้น.
ก็ในนรก อัตภาพของสัตว์บางพวกคาวุตหนึ่ง บางพวกกึ่งโยชน์ บางพวกโยชน์หนึ่ง. แต่ของพระเทวทัต ๑๐๐ โยชน์. แม้ในเดียรัจฉานทั้งหลายบางพวกก็เล็ก บางพวกก็ใหญ่. ในเปรตวิสัยบางพวก ๖๐ ศอก บางพวก ๗๐ ศอก บางพวก ๘๐ ศอก บางพวกผิวงาม บางพวกผิวไม่งาม. กาลัญชิกาสูรก็เหมือนอย่างนั้น. อีกอย่างหนึ่ง ในบรรดาเปรตเหล่านี้ ทีฆปิฏฐิกเปรตสูงถึง ๖๐ โยชน์. แต่สัญญาของเปรตแม้ทั้งหมดเป็นอเหตุกะฝ่ายอกุศลวิบาก. ด้วยประการดังนี้ แม้สัตว์ในอบายย่อมนับได้ว่า มีกายต่างกันมีสัญญาอย่างเดียวกันดังนี้.

บทว่า อาภสฺสรา ความว่า รัศมีจากสรีระของเทพเหล่านั้น ดุจเปลวคบเพลิงเป็นลำ สร้านออกดุจขาดๆ แล้วตก เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่าอาภัสสรา. ในเทพเหล่านั้น เทพผู้เจริญคุณนิดหน่อย มี ๒ ฌาน คือทุติยฌาน และตติยฌาณในจตุกนัยและปัญจกนัย เกิดขึ้นแล้ว ชื่อว่าเทพปริตตาภา ประมาณอายุของเทพปริตตาภาเหล่านั้น ๒ กัป. เทพผู้เจริญคุณปานกลางเกิดขึ้นแล้ว ชื่อว่าเทพอัปปมาณาภา ประมาณอายุของเทพอัปปมาณาภาเหล่านั้น ๔ กัป. เทพผู้เจริญคุณประณีตแท้เกิดขึ้นแล้ว ชื่อเทพอาภัสสรา ประมาณอายุของเทพอาภัสสราเหล่านั้น ๘ กัป. ก็ในที่นี้ท่านกำหนดเอาเทพเหล่านั้นทั้งหมด ด้วยสามารถการกำหนดอย่างอุกกฤษฐ์. กายของเทพเหล่านั้น แม้ทั้งหมดมีความผึ่งผายเป็นอย่างเดียวกันแท้. แต่สัญญาเพียงไม่มีวิตกแต่มีวิจาร หรือไม่มีทั้งวิตกไม่มีทั้งวิจาร เพราะเหตุนั้น จึงต่างกัน.

บทว่า สุภกิณฺหา คือ กระจัดกระจายเกลือนกล่นไปด้วยความงาม. อธิบายว่า มีความแน่นหนาเป็นอันเดียวด้วยแสงแห่งรัศมีในสรีระอันงาม ก็แต่ว่า รัศมีแห่งเทพสุภกิณหาเหล่านั้นไม่ขาดๆ แล้วพุ่งไปเหมือนรัศมีของเทพอาภัสสรา. แต่ในปัญจกนัย เทพบังเกิดเป็นเทพปริตตสุภา เทพอัปปมาณสุภา เทพสุภกิณหา มีอายุ ๑๖ กัป ๓๒ กัป ๖๐ กัป ด้วยสามารถจตุตถฌาณนิดหน่อย ท่ามกลางและประณีต. ด้วยประการดังนี้ เทพเหล่านั้นแม้ทั้งหมด พึงทราบว่า มีกายอย่างเดียวกัน และมีสัญญาอย่างเดียวกันด้วยสัญญาแห่งจตุตถฌาณ ดังนี้.

อนึ่ง แม้เทพเวหัปผลาก็รวมเข้ากับวิญญาณฐิติที่ ๔ เหมือนกัน. สัตว์ไม่มีสัญญา เพราะไม่มีวิญญาณ ไม่สงเคราะห์เข้าในวิญญาณฐิตินี้ แต่สงเคราะห์เข้าในสัตตาวาส. แม้เทพสุทธาวาสดำรงอยู่ในฝ่ายวิวัฏฏะ ไม่กำหนดกาลทั้งปวงก็ไม่เกิดในโลกที่ว่างพระพุทธเจ้าแสนกัปบ้าง หนึ่งอสงไขยบ้าง เมื่อพระพุทธเจ้าทรงอุบัติในระหว่าง ๑๖,๐๐๐ กัปนั้นแลจึงเกิด ย่อมเป็นเช่นเดียวกับที่ตั้งค่ายของพระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้ยังธรรมจักรให้เป็นไปแล้ว เพราะฉะนั้น เทพสุทธาวาสจึงไม่รวมเข้ากับวิญญาณฐิติ ไม่รวมเข้ากับสัตตาวาส.

แต่พระมหาสิวเถระกล่าวว่า แม้เทพสุทธาวาสก็ยังรวมเข้ากับวิญญาณฐิติที่ ๔ สัตตาวาสที่ ๔ นั้นแล ด้วยพระสูตรนี้ว่า ดูกรสารีบุตร ก็สังสารวัฏที่เราไม่เคยท่องเที่ยวไป โดยกาลยืดยาวช้านานนี้ เว้นแต่เทวโลกชั้นสุทธาวาส เป็นสิ่งที่หาไม่ได้ง่ายนักดังนี้. เห็นด้วยกับพระสูตรนั้น เพราะพระสูตรท่านไม่ห้ามไว้.

ความแห่งบทเป็นอาทิว่า สพฺพโส รูปสญฺญาณํ ท่านกล่าวไว้แล้วในวิสุทธิมรรค. ก็เนวสัญญานาสัญญายตนะ มีวิญญาณก็ไม่ใช่ ไม่มีวิญญาณก็ไม่ใช่ เพราะแม้วิญญาณละเอียดเหมือนความละเอียดของสัญญา เพราะฉะนั้น ท่านจึงไม่กล่าวในวิญญาณฐิติแล้วกล่าวไว้ในอายตนะ.

บทว่า ตตฺร คือ ในวิญญาณฐิติเหล่านั้น. บทว่า ตญฺจ ปชานาติ คือ ย่อมรู้วิญญาณฐิตินั้น.
บทว่า ตสฺสา จ สมุทยํ ความว่า ย่อมรู้ความเกิดขึ้นแห่งวิญญาณฐิตินั้น โดยนัยเป็นอาทิว่า เพราะอวิชชาเกิด รูปจึงเกิดดังนี้.

บทว่า ตสฺสา จ อตฺถงฺคมํ ความว่า ย่อมรู้ความดับแห่งวิญญาณฐิตินั้น โดยนัยเป็นอาทิว่า เพราะอวิชชาดับ รูปจึงดับดังนี้.

บทว่า อสฺสาทํ ความว่า ย่อมรู้ความพอใจของวิญญาณฐิตินั้นอย่างนี้ว่า ความสุขความโสมนัสย่อมเกิดขึ้น เพราะอาศัยรูปเวทนาสัญญาสังขารวิญญาณใด นี้คือความพอใจแห่งวิญญาณ.

บทว่า อาทีนวํ ความว่า ย่อมรู้โทษแห่งวิญญาณฐิตินั้นอย่างนี้ว่า รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนไปเป็นธรรมดา นี้คือโทษแห่งวิญญาณ.

บทว่า นิสฺสรณํ ความว่า การนำออกซึ่งฉันทราคะ การละฉันทราคะในรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณใด นี้คืออุบายเป็นเครื่องนำออกไปแห่งวิญญาณ ดังนั้น ย่อมรู้วิญญาณฐิตินั้นอย่างนี้.

บทว่า กลฺลํ น เตน ความว่า ภิกษุนั้นยังควรเพื่อเพลิดเพลินวิญญาณฐิตินั้น ว่าเรา ว่าของเรา ด้วยอำนาจแห่งตัณหามานะและทิฐิอีกหรือ. พึงทราบความในที่ทั้งปวงโดยอุบายนี้. ก็แต่ว่า พึงประกอบสมุทัยเป็นต้น ด้วยสามารถแห่งขันธ์ทั้งหลาย ๔ ในที่ที่ไม่มีรูป ด้วยสามารถแห่งขันธ์หนึ่งในที่ที่ไม่มีวิญญาณ. ในที่นี้ อนึ่ง ไม่พึงประกอบบทนี้ว่า เพราะอาหารเกิด เพราะอาหารดับ ดังนี้.

บทว่า ยโต โข อานนฺท ภิกฺขุ ความว่า ดูก่อนอานนท์ เมื่อใดแล ภิกษุ. บทว่า อนุปาทา วิมุตฺโต ความว่า เป็นผู้หลุดพ้น เพราะไม่ยึดมั่นด้วยอุปาทาน ๔.

บทว่า ปญฺญาวิมุตฺโต ความว่า เป็นผู้หลุดพ้นด้วยปัญญา. อธิบายว่า ไม่ทำให้แจ้งซึ่งวิโมกข์ ๘ แล้วทำนามกายและรูปกายให้เป็นไปไม่ได้ด้วยกำลังปัญญานั้นแล ชื่อว่าเป็นผู้หลุดพ้นแล้ว. ภิกษุผู้หลุดพ้นแล้วนั้นมี ๕ อย่างคือ เป็นสุกขวิปัสสกและตั้งอยู่ในปฐมฌานเป็นต้นอย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วบรรลุพระอรหัต

ดังที่ท่านกล่าวข้อนี้ไว้ว่า
ก็บุคคลพวกไหนเป็นปัญญาวิมุตติ บุคคลบางคนในโลกนี้ไม่สัมผัสวิโมกข์ ๘ ด้วยกายอยู่ อาสวะทั้งหลายของเขาเป็นอันสิ้นไป เพราะเห็นด้วยปัญญา บุคคลนี้ ท่านกล่าวว่าเป็นปัญญาวิมุตติ ดังนี้.

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงบทสรุปและนามของภิกษุรูปหนึ่งอย่างนี้แล้ว เพื่อทรงแสดงแก่ภิกษุนอกนี้ จึงตรัสว่า อฎฺฐ โข อิเม ดังนี้เป็นต้น.
ในบทเหล่านั้น บทว่า วิโมกฺโข
ถามว่า ชื่อว่าวิโมกข์ ด้วยอรรถว่ากระไร ตอบว่า ด้วยอรรถว่าพ้น
ถามว่า วิโมกข์นี้มีอรรถว่าพ้นเป็นอย่างไร ตอบว่า มีอรรถว่าพ้นด้วยดีจากธรรมเป็นข้าศึก และพ้นด้วยดีด้วยอำนาจความยินดีในอารมณ์.

ท่านอธิบายว่า วิโมกข์ย่อมเป็นไปในอารมณ์ เพราะหมดความสงสัยด้วยความไม่ยึดถือ ดุจทารกผู้ปล่อยอวัยวะน้อยใหญ่นอนบนตักของบิดา. ก็ความนี้มิได้มีในวิโมกข์ตอนหลัง แต่มีในตอนต้นทั้งหมด.

ในบทว่า รูปี รูปานิ ปสฺสติ นี้มีความว่า รูปเป็นรูปฌานที่ทำให้เกิดขึ้นด้วยอำนาจนีลกสิณเป็นต้น ในผมเป็นต้นในภายในชื่อว่า รูปี. เพราะมีรูปฌานด้วยบทนี้ ท่านแสดงรูปาวจรฌาณ ๔ แก่บุคคลผู้ที่ทำฌานให้เกิดในกสิณทั้งหลายอันมีวัตถุในภายใน.

บทว่า อชฺฌตฺตํ อรูปสญฺญี คือ ไม่มีความสำคัญในรูปในภายใน. ความว่า ไม่ทำรูปาวจรฌานให้เกิดในอาการ ๓๒ มีผมเป็นต้นของตน.

บทว่า พหิทฺธา รูปานิ ปสฺสติ ความว่า ย่อมเห็นรูปมีนิลกสิณเป็นต้น แม้ในภายนอกด้วยญาณจักษุ. ด้วยบทนี้ ท่านกระทำบริกรรมในภายนอกแล้วแสดงรูปาวจรฌาน ๔ แห่งฌานที่ทำให้เกิดแล้วในภายนอก.

ท่านแสดงฌานในวัณณกสิณมีสีเขียวเป็นต้น อันบริสุทธิ์ดีแล้ว ด้วยบทนี้ว่า สุภนฺเตว อธิมุตฺโตโหติ ดังนี้. ในบทนั้นไม่มีความผูกใจว่างามในอัปปนาในภายในก็จริง. แต่ถึงดังนั้น เพราะผู้ที่กระทำกสิณอันงามบริสุทธิ์ดีแล้วอยู่ ย่อมถึงความเป็นผู้ควรกล่าวได้ว่า ผู้ที่น้อมใจเชื่อว่ากสิณเป็นของงามดังนี้ ฉะนั้น ท่านจึงแสดงอย่างนี้.

แต่ในปฏิสัมภิทามรรค ท่านกล่าวว่า
วิโมกข์ ในบทว่า ผู้ที่น้อมใจเชื่อว่ากสิณงามเป็นอย่างไร
ภิกษุในธรรมวินัยนี้มีจิตสหรคตด้วยเมตตาแผ่ไปยังทิศหนึ่งอยู่ ฯลฯ เพราะเป็นผู้เจริญเมตตาสัตว์ทั้งหลายจึงไม่เป็นผู้น่าเกลียดมีจิตสหรคตด้วยกรุณามุทิตาอุเบกขา แผ่ไปยังทิศหนึ่งอยู่ ฯลฯ เพราะเป็นผู้เจริญอุเบกขาสัตว์ทั้งหลาย จึงเป็นผู้ไม่น่าเกลียด
วิโมกข์ในบทว่า ผู้ที่น้อมใจเชื่อว่ากสิณเป็นของงามเป็นอย่างนี้ ดังนี้.
ในบทว่า สพฺพโส รูปสญฺญานํ เป็นต้น บททั้งหมดที่ควรกล่าว ท่านกล่าวไว้แล้วในวิสุทธิมรรคนั้นแล.
บทว่า อยํ อฎฺฐโม วิโมกฺโข ความว่า นี้ชื่อวิโมกข์อันสูงสุดข้อที่ ๘ เพราะความที่ขันธ์ ๔ บริสุทธิ์โดยประการทั้งปวง เพราะความที่พ้นแล้ว.
บทว่า อนุโลมํ คือ ตั้งแต่บทต้นจนถึงบทสุดท้าย.
บทว่า ปฏิโลมํ คือ ตั้งแต่บทสุดท้ายจนถึงบทต้น.
บทว่า อนุโลม ปฏิโลมํ นี้ ท่านกล่าวด้วยสามารถแห่งการที่สมาบัติไม่ตั้งมั่น เพราะคล่องเกินไปวนไปทางโน้นวนไปทางนี้. บทว่า ยตฺถิจฺฉกํ คือ แสดงถึงโอกาส ความว่า ปรารถนาในโอกาสใดๆ. บทว่า ยทิจฺฉกํ คือ แสดงถึงสมาบัติ ได้แก่ปรารถนาสมาบัติใดๆ. บทว่า ยาวติจฺฉกํ คือ แสดงถึงกำหนดทางไกล ได้แก่ปรารถนาทางไกลประมาณเพียงใด. บทว่า สมาปชฺชติ คือ เข้าสู่สมาบัตินั้นๆ. บทว่า วุฎฺฐาติ คือ ออกจากสมาบัตินั้นแล้วตั้งอยู่.

บทว่า อุภโตภาควิมุตฺโต ความว่า พ้นโดยส่วนสอง คือพ้นจากรูปกายด้วยอรูปสมาบัติ พ้นจากนามกายด้วยมรรค.
ดังที่ท่านกล่าวไว้ว่า
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ดูก่อนอุปสีวะ
มุนีพ้นแล้วจากนามกาย ย่อมถึงซึ่งการตั้งอยู่
ไม่ได้ ย่อมไม่เข้าถึงซึ่งการนับ เหมือนเปลวไฟ
ถูกกำลังลมพัดไป ย่อมถึงซึ่งการตั้งอยู่ไม่ได้
ย่อมไม่เข้าถึงซึ่งการนับ ดังนี้.
ก็ภิกษุนี้นั้น พ้นแล้วโดยส่วนสองออกจากอากาสานัญจายตนะเป็นต้นอย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วบรรลุพระอรหัต และเป็นอนาคามีออกจากนิโรธแล้ว บรรลุพระอรหัต รวมเป็น ๕ อย่าง.

แต่อาจารย์บางพวกกล่าวว่า เพราะแม้รูปาวจรจตุตถฌานก็สหรคตด้วยอุเบกขามีองค์สอง แม้อรูปาวจรฌานก็เป็นเช่นนั้นเหมือนกัน ฉะนั้น ภิกษุออกจากรูปาวจรจตุตถฌาน แม้บรรลุพระอรหัตก็ชื่อว่าอุภโตภาควิมุตดังนี้.
ก็ปัญหาอุภโตภาควิมุตนี้ตั้งขึ้นแม้ในภายใต้โลหปราสาท อาศัยการพรรณนาของพระจุลลสุมนเถระผู้ทรงพระไตรปิฎก ใช้เวลานาน จึงถึงการชี้ขาด.

มีเรื่องว่า ในคิริวิหาร อันเตวาสิกของพระเถระสดับปัญหานั้นจากปากของภิกษุผู้ถือปิณฑปาติกวัตรรูปหนึ่ง แล้วกล่าวว่า ดูก่อนอาวุโส เมื่ออาจารย์ของเราอธิบายธรรม ณ ภายใต้โลหปราสาท อันใครๆ ไม่เคยฟังแล้ว
พวกภิกษุจึงถามว่า ท่านผู้เจริญ ก็พระเถระได้กล่าวอย่างไร
อันเตวาสิกตอบว่า ดูก่อนอาวุโส พระเถระได้กล่าวว่า รูปาวจรจตุตถฌานสหรคตด้วยอุเบกขามีองค์สอง ย่อมข่มกิเลสได้ก็จริง แต่ถึงอย่างนั้น รูปาวจรจตุตถฌานย่อมกำเริบในฐานะแห่งรูปารมณ์ แม้เป็นฝ่ายใกล้แห่งกิเลสทั้งหลาย เพราะธรรมดากิเลสเหล่านี้เข้าไปอาศัยอารมณ์ในนิลกสิณเป็นต้นอย่างใดอย่างหนึ่ง ในภพชั้นต่ำทั้ง ๕ ย่อมกำเริบ

อนึ่ง รูปาวจรฌานย่อมไม่ก้าวไปสู่อารมณ์นั้น เพราะฉะนั้น ภิกษุเปลี่ยนรูปโดยประการทั้งปวง แล้วข่มกิเลสด้วยอำนาจอรูปฌานแล้วจึงบรรลุพระอรหัต เป็นอุภโตภาควิมุตดังนี้
ก็และพระเถระ ครั้นกล่าวคำนี้แล้ว จึงนำสูตรนี้มาว่า
ก็บุคคลพวกไหนเป็นอุภโตภาควิมุต

บุคคลบางคนในโลกนี้สัมผัสวิโมกข์ ๘ ด้วยกายแล้วอยู่ และอาสวะของบุคคลนั้นเป็นอันสิ้นไป เพราะเห็นด้วยปัญญา บุคคลนี้ ท่านกล่าวว่าเป็นอุภโตภาควิมุต ดังนี้.

บทว่า อานนฺท อิมาย จ อุภโตภาควิมุตฺติยา ความว่า ดูก่อนอานนท์ อุภโตภาควิมุตติอื่นจากอุภโตภาควิมุตตินี้.
บทที่เหลือมีความง่ายในที่ทั้งปวง.

จบอรรถกถามหานิทานสูตร ที่ ๒


พอดี...มีอรรถกถา...ที่หยิบโยงธรรมมาได้อย่างพอเหมาะ และอธิบายนัยยะได้ดีกว่าเอกอน...เน๊อะ


:b1: :b1: :b1:


แก้ไขล่าสุดโดย eragon_joe เมื่อ 20 มิ.ย. 2017, 00:16, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 62 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร