วันเวลาปัจจุบัน 18 ก.ค. 2025, 17:36  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 131 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 ก.พ. 2012, 22:58 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 3
สมาชิก ระดับ 3
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 ม.ค. 2012, 16:35
โพสต์: 110


 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
:b8:
จงมีปัจจุบันอารมณ์เป็นที่ตั้งรู้ตั้งระลึกของสติ แทนการกำหนดให้สติไปยึดอยู่เพียงฐานใดฐานหนึ่งซึ่งนั่นเป็นการเจริญสติปัฏฐาน 4 ตามตำรา มิใช่การเจริญสติปัฏฐาน 4 ตามธรรม

รายละเอียดคงต้องมาศึกษากันต่อไปถ้าหากสนใจเรื่องการเจริญสติปัฏฐาน 4 ตามธรรมชาติ ครับ

การจะละขันธ์ 5 โดยสติปัฏฐานนั้นจะเกิดขึ้นเป็นผลได้เมื่อคุณสามารถเจริญสติปัฏฐาน 4 โดยธรรมชาติได้ครับ


มากราบขอบพระคุณอีกครั้งค่ะ..กลับมาอ่านซ้ำทำให้เข้าใจอะไรๆได้กระจ่างขึ้นมาก กราบขอบพระคุณน่ะค่ะ
:b8:
:b27:
อนุโมทนาสาธุกับความเจริญก้าวหน้าในสุตตมยปัญญาและความก้าวหน้าในธรรมของคุณชาวโลกเป็นอย่างยิงครับ
:b20:
:b4:
:b16:
:b8:



กราบขออนุญาติถามท่าน asoka ค่ะ ดิฉันไม่แน่ใจว่าควรตั้งกระทู้ไหม่ดีไหม เพราะดิฉันไม่ค่อยทราบ

ธรรมเนียมปฎิบัติของชาวลานธรรมกันน่ะค่ะ ดิฉันเลยขออนุญาติถามในนี้ ถ้าท่าน asoka เห็นว่าดิฉัน

ควรตั้งกระทู้ไหม่ ดิฉันจะไปตั้งถามอีกครั้งค่ะ


ดิฉันเคยสงสัยคำว่า การเจริญสติปัฏฐาน 4 ตามธรรมชาติว่าคืออะไร ดิฉันใช้เวลาในการพิจารณา

ใคร่ครวญในคำๆนี้ ไม่นานดิฉันก็ได้คำตอบ แต่ดิฉันอยากขอความเมตตาจากท่าน asoka ช่วยตรวจ

คำตอบให้ดิฉันหน่อยได้ไหมค่ะ ว่าดิฉันเข้าใจความหมายของคำว่า การเจริญสติปัฎฐาน 4 ตามธรรมชาติ

ได้ถูกไหมนะค่ะ เพราะจริงๆแล้วดิฉันไม่ค่อยเก่งในการพิจารณาข้อธรรม ตีความหมายทีไร ก็ผิดไปทุกที

ดิฉันแปลได้ว่า

การเจริญสติปัฎฐาน 4 ตามธรรมชาติ ... ธรรมชาติ แปลว่า ปกติ ปกติในชีวิต

ประจำวัน ฉะนั้น การเจริญสติปัฎฐาน 4 ตามธรรมชาติ คือ เราสามารถทำสติปัฎฐาน 4 ได้ในชีวิตประจำ

วัน ได้ทุกเวลา หรือทุกขณะจิต และทำเป็นแบบธรรมชาติเสมือนว่าทุกอย่างกลืนไปกับตัวเรา ทำเหมือน

ไม่ได้ทำ ถึงดูว่าไม่ได้ทำก็ทำอยู่ทุกขณะจิตน่ะค่ะ ยกตัวอย่างนะค่ะ เหมือนว่า ตื่นมา เราก็ต้องแปรงฟัน

อาบน้ำเป็นปกติ ซึ่งทำแบบอัตโนมัติโดยไม่ต้องคิดอะไร.. ดิฉันเข้าใจแบบนี้


ไม่ทราบว่าดิฉันเข้าใจถูกไหมค่ะ ถ้าผิดกรุณาแก้ไขและชี้แนะดิฉันด้วยค่ะ เพื่อให้เข้าใจได้อย่างถูกต้อง

กราบขอบพระคุณล่วงหน้าค่ะ :b8: :b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ก.พ. 2012, 00:12 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 9
สมาชิก ระดับ 9
ลงทะเบียนเมื่อ: 01 ก.ค. 2011, 22:53
โพสต์: 705

แนวปฏิบัติ: รู้สึกตัว
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ชาวโลก เขียน:
asoka เขียน:
:b8:
จงมีปัจจุบันอารมณ์เป็นที่ตั้งรู้ตั้งระลึกของสติ แทนการกำหนดให้สติไปยึดอยู่เพียงฐานใดฐานหนึ่งซึ่งนั่นเป็นการเจริญสติปัฏฐาน 4 ตามตำรา มิใช่การเจริญสติปัฏฐาน 4 ตามธรรม

รายละเอียดคงต้องมาศึกษากันต่อไปถ้าหากสนใจเรื่องการเจริญสติปัฏฐาน 4 ตามธรรมชาติ ครับ

การจะละขันธ์ 5 โดยสติปัฏฐานนั้นจะเกิดขึ้นเป็นผลได้เมื่อคุณสามารถเจริญสติปัฏฐาน 4 โดยธรรมชาติได้ครับ


มากราบขอบพระคุณอีกครั้งค่ะ..กลับมาอ่านซ้ำทำให้เข้าใจอะไรๆได้กระจ่างขึ้นมาก กราบขอบพระคุณน่ะค่ะ
:b8:
:b27:
อนุโมทนาสาธุกับความเจริญก้าวหน้าในสุตตมยปัญญาและความก้าวหน้าในธรรมของคุณชาวโลกเป็นอย่างยิงครับ
:b20:
:b4:
:b16:
:b8:



กราบขออนุญาติถามท่าน asoka ค่ะ ดิฉันไม่แน่ใจว่าควรตั้งกระทู้ไหม่ดีไหม เพราะดิฉันไม่ค่อยทราบ

ธรรมเนียมปฎิบัติของชาวลานธรรมกันน่ะค่ะ ดิฉันเลยขออนุญาติถามในนี้ ถ้าท่าน asoka เห็นว่าดิฉัน

ควรตั้งกระทู้ไหม่ ดิฉันจะไปตั้งถามอีกครั้งค่ะ


ดิฉันเคยสงสัยคำว่า การเจริญสติปัฏฐาน 4 ตามธรรมชาติว่าคืออะไร ดิฉันใช้เวลาในการพิจารณา

ใคร่ครวญในคำๆนี้ ไม่นานดิฉันก็ได้คำตอบ แต่ดิฉันอยากขอความเมตตาจากท่าน asoka ช่วยตรวจ

คำตอบให้ดิฉันหน่อยได้ไหมค่ะ ว่าดิฉันเข้าใจความหมายของคำว่า การเจริญสติปัฎฐาน 4 ตามธรรมชาติ

ได้ถูกไหมนะค่ะ เพราะจริงๆแล้วดิฉันไม่ค่อยเก่งในการพิจารณาข้อธรรม ตีความหมายทีไร ก็ผิดไปทุกที

ดิฉันแปลได้ว่า

การเจริญสติปัฎฐาน 4 ตามธรรมชาติ ... ธรรมชาติ แปลว่า ปกติ ปกติในชีวิต

ประจำวัน ฉะนั้น การเจริญสติปัฎฐาน 4 ตามธรรมชาติ คือ เราสามารถทำสติปัฎฐาน 4 ได้ในชีวิตประจำ

วัน ได้ทุกเวลา หรือทุกขณะจิต และทำเป็นแบบธรรมชาติเสมือนว่าทุกอย่างกลืนไปกับตัวเรา ทำเหมือน

ไม่ได้ทำ ถึงดูว่าไม่ได้ทำก็ทำอยู่ทุกขณะจิตน่ะค่ะ ยกตัวอย่างนะค่ะ เหมือนว่า ตื่นมา เราก็ต้องแปรงฟัน

อาบน้ำเป็นปกติ ซึ่งทำแบบอัตโนมัติโดยไม่ต้องคิดอะไร.. ดิฉันเข้าใจแบบนี้


ไม่ทราบว่าดิฉันเข้าใจถูกไหมค่ะ ถ้าผิดกรุณาแก้ไขและชี้แนะดิฉันด้วยค่ะ เพื่อให้เข้าใจได้อย่างถูกต้อง

กราบขอบพระคุณล่วงหน้าค่ะ :b8: :b8:



ขออนุญาต แสดงความเห็นร่วมว่า

เห็นด้วยครับว่าการเจริญสติปัฎฐาน 4 ตามธรรมชาติ

คือการใช้จิตธรรมดาตามธรรมชาติ

ด้วยวิธีพอดีของธรรมชาติ

เจริญสติอย่างพอดีตามธรรมชาติ

สู่ความว่าง(นิโรธ)แท้ๆ ที่มีอยู่แล้วตามธรรมชาติ

คืนสังขารธรรมทั้งมวล สู่ธรรมขาติของมัน:b12:

.....................................................
"ธรรมะเป็นปัจจัตตัง ต้องทำเอง รู้เอง เห็นเอง เข้าใจเอง"


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ก.พ. 2012, 00:46 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 3
สมาชิก ระดับ 3
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 ม.ค. 2012, 16:35
โพสต์: 110


 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
ขออนุญาต แสดงความเห็นร่วมว่า

เห็นด้วยครับว่าการเจริญสติปัฎฐาน 4 ตามธรรมชาติ

คือการใช้จิตธรรมดาตามธรรมชาติ

ด้วยวิธีพอดีของธรรมชาติ

เจริญสติอย่างพอดีตามธรรมชาติ

สู่ความว่าง(นิโรธ)แท้ๆ ที่มีอยู่แล้วตามธรรมชาติ

คืนสังขารธรรมทั้งมวล สู่ธรรมขาติของมัน:b12:



:b8: :b8: ..ขอประทานโทษค่ะ..คือดิฉันอ่านแล้วแต่แปลไม่ออก :b5: ..ดิฉันไม่เข้าใจ :b20:

:b20: ...จะหาว่าดิฉันโง่ดิฉันก็ไม่ว่าหรอกค่ะ เพราะดิฉันเป็นอย่างนั้นจริงๆ พูดให้มันง่ายกว่านี้นิดนึงได้

ไหมค่ะ..(เหมือนอ่านกลอนที่ฟังดูเพราะดีแต่แปลไม่ออกนะค่ะ) ขอบพระคุณล่วงหน้าค่ะ :b8: :b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ก.พ. 2012, 08:16 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


ชาวโลก เขียน:
asoka เขียน:
:b8:
จงมีปัจจุบันอารมณ์เป็นที่ตั้งรู้ตั้งระลึกของสติ แทนการกำหนดให้สติไปยึดอยู่เพียงฐานใดฐานหนึ่งซึ่งนั่นเป็นการเจริญสติปัฏฐาน 4 ตามตำรา มิใช่การเจริญสติปัฏฐาน 4 ตามธรรม

รายละเอียดคงต้องมาศึกษากันต่อไปถ้าหากสนใจเรื่องการเจริญสติปัฏฐาน 4 ตามธรรมชาติ ครับ

การจะละขันธ์ 5 โดยสติปัฏฐานนั้นจะเกิดขึ้นเป็นผลได้เมื่อคุณสามารถเจริญสติปัฏฐาน 4 โดยธรรมชาติได้ครับ


มากราบขอบพระคุณอีกครั้งค่ะ..กลับมาอ่านซ้ำทำให้เข้าใจอะไรๆได้กระจ่างขึ้นมาก กราบขอบพระคุณน่ะค่ะ
:b8:


ควรตั้งกระทู้ไหม่ ดิฉันจะไปตั้งถามอีกครั้งค่ะ


ดิฉันเคยสงสัยคำว่า การเจริญสติปัฏฐาน 4 ตามธรรมชาติว่าคืออะไร ดิฉันใช้เวลาในการพิจารณา

ใคร่ครวญในคำๆนี้ ไม่นานดิฉันก็ได้คำตอบ แต่ดิฉันอยากขอความเมตตาจากท่าน asoka ช่วยตรวจ

คำตอบให้ดิฉันหน่อยได้ไหมค่ะ ว่าดิฉันเข้าใจความหมายของคำว่า การเจริญสติปัฎฐาน 4 ตามธรรมชาติ

ได้ถูกไหมนะค่ะ เพราะจริงๆแล้วดิฉันไม่ค่อยเก่งในการพิจารณาข้อธรรม ตีความหมายทีไร ก็ผิดไปทุกที

ดิฉันแปลได้ว่า

การเจริญสติปัฎฐาน 4 ตามธรรมชาติ ... ธรรมชาติ แปลว่า ปกติ ปกติในชีวิต

ประจำวัน ฉะนั้น การเจริญสติปัฎฐาน 4 ตามธรรมชาติ คือ เราสามารถทำสติปัฎฐาน 4 ได้ในชีวิตประจำ

วัน ได้ทุกเวลา หรือทุกขณะจิต และทำเป็นแบบธรรมชาติเสมือนว่าทุกอย่างกลืนไปกับตัวเรา ทำเหมือน

ไม่ได้ทำ ถึงดูว่าไม่ได้ทำก็ทำอยู่ทุกขณะจิตน่ะค่ะ ยกตัวอย่างนะค่ะ เหมือนว่า ตื่นมา เราก็ต้องแปรงฟัน

อาบน้ำเป็นปกติ ซึ่งทำแบบอัตโนมัติโดยไม่ต้องคิดอะไร.. ดิฉันเข้าใจแบบนี้


ไม่ทราบว่าดิฉันเข้าใจถูกไหมค่ะ ถ้าผิดกรุณาแก้ไขและชี้แนะดิฉันด้วยค่ะ เพื่อให้เข้าใจได้อย่างถูกต้อง

กราบขอบพระคุณล่วงหน้าค่ะ :b8: :b8:

:b27:
อนุโมทนาสาธุกับความเจริญก้าวหน้าในสุตตมยปัญญาและความก้าวหน้าในธรรมของคุณชาวโลกเป็นอย่างยิงครับ
:b20:
:b4:
:b16:
:b8:

:b8:
อนุโมทนาสาธุกับคุณชาวโลกที่เจริญก้าวหน้าในธรรมที่เป็นสุตตมยปญญาและจินตมยปัญญามามากแล้ว

ความเห็นเรื่องสติปัฏฐาน 4 โดยธรรมชาติที่ยกมานั้นใช่ไปแล้วครึ่งหนึ่งแต่ยังล้วงไม่ลึกถึงนัยยะหรือรรถะของสติปัฏฐาน 4 โดยธรรมชาติทั้งหมด

นัยยะหรืออรรถะของสติปัฏฐาน 4 โดยธรรมชาตินั้นมีความหมายว่า
ใน 1 การกระทบสัมผัสของทวาทั้ง 6 เช่น หู ได้ยินเสียงจะวิเคราะห์ให้ดูเป็นตัวอย่าง
1.หูได้ยินเสียง สติรู้ทัน เป็นกายานุปัสสนาภาวนา
2.สัญญาจำหมายเสียงได้ สติรู้ทัน เป็นธัมมานุปัสสนาภาวนา
3.ยินดียนร้ายต่อเสียงนั้ันเกิดขึ้นเป็น สติรู้ทันเป็นเวทนานุปัสสนาภาวนา
4.จิตขุ่นมัวเศร้าหมอง หรือแจ่มใสประภัสสรเพราะเสียงนั้น สติรู้ทัน เป็นจิตตานุปัสสนาภาวนา
5.มีความสุขใจ หรือหงุดหงิดงุ่นง่านรำคาญเพราะเสียงนั้น สติรู้ทัน เป็นธัมมานุปัสสนา
ดังนี้เป็นต้น


ทั้งหมดของการสัมผัสทั้ง 4 ฐาน จะมารวมลงที่ ยินดี กับ ยินร้าย หรือ อภิชฌาและ โทมนัสสัง ดังที่กล่าวในสติปัฏฐาน 4 ทั้งสิ้น
งานของผู้เจริญสติปัฏฐาน 4 ก็คือ วิเนยะ เอาออกเสียให้ได้

โลเก โลก อันหมายถึงผัสสะของทวารทั้ง 6 นั่นเอง

อภิชฌา ความยินดี

โทมนัสสัง ความยินร้าย

:b8:
:b16:
onion


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ก.พ. 2012, 13:20 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 3
สมาชิก ระดับ 3
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 ม.ค. 2012, 16:35
โพสต์: 110


 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
ความเห็นเรื่องสติปัฏฐาน 4 โดยธรรมชาติที่ยกมานั้นใช่ไปแล้วครึ่งหนึ่งแต่ยังล้วงไม่ลึกถึงนัยยะหรือรรถะของสติปัฏฐาน 4 โดยธรรมชาติทั้งหมด

นัยยะหรืออรรถะของสติปัฏฐาน 4 โดยธรรมชาตินั้นมีความหมายว่า
ใน 1 การกระทบสัมผัสของทวาทั้ง 6 เช่น หู ได้ยินเสียงจะวิเคราะห์ให้ดูเป็นตัวอย่าง
1.หูได้ยินเสียง สติรู้ทัน เป็นกายานุปัสสนาภาวนา
2.สัญญาจำหมายเสียงได้ สติรู้ทัน เป็นธัมมานุปัสสนาภาวนา
3.ยินดียนร้ายต่อเสียงนั้ันเกิดขึ้นเป็น สติรู้ทันเป็นเวทนานุปัสสนาภาวนา
4.จิตขุ่นมัวเศร้าหมอง หรือแจ่มใสประภัสสรเพราะเสียงนั้น สติรู้ทัน เป็นจิตตานุปัสสนาภาวนา
5.มีความสุขใจ หรือหงุดหงิดงุ่นง่านรำคาญเพราะเสียงนั้น สติรู้ทัน เป็นธัมมานุปัสสนา
ดังนี้เป็นต้น


ทั้งหมดของการสัมผัสทั้ง 4 ฐาน จะมารวมลงที่ ยินดี กับ ยินร้าย หรือ อภิชฌาและ โทมนัสสัง ดังที่กล่าวในสติปัฏฐาน 4 ทั้งสิ้น
งานของผู้เจริญสติปัฏฐาน 4 ก็คือ วิเนยะ เอาออกเสียให้ได้

โลเก โลก อันหมายถึงผัสสะของทวารทั้ง 6 นั่นเอง

อภิชฌา ความยินดี

โทมนัสสัง ความยินร้าย

:b8:
:b16:
onion


:b8: :b8: กราบขอบพระคุณค่ะ ดิฉันเข้าใจในสติปัฎฐาน 4 แล้วคือ

ถ้าจะทำสติปัฎฐาน 4 ให้สมบูรณ์ เราจะรู้สึกถึงคำว่า

ไม่ยินดี ยินร้าย ในทุกขณะจิต ไม่ว่าจะเกิดด้าน กายานุปัสสนาสติปัฎฐาน เวทนานุปัสสนาสติปัฎฐาน

จิตตานุปัสสนาสติปัฎฐาน และธรรมานุปัสสนาสติปัฎฐาน เราจะรู้สึกไม่ยินดียินร้ายเสมอ


และการที่จะทำให้สติปัฎฐาน 4 ให้ได้อย่างสมบูรณ์และเป็นธรรมชาติ

คือ การ ไม่ยินดียินร้าย ใน ด้าน กาย เวทนา จิต ธรรม ซึ่งจะเกิดความรู้สึกแบบนี้ทุกขณะจิต เป็นปกติ

ทุกขณะในชีวิตประจำวัน โดยเราไม่ต้องตั้งท่าอะไรมากมาย ทำก็ดูเหมือนไม่ได้ทำ ไม่ได้ทำก็ทำทุกขณะ

จิต ทุกอย่างเป็นไปตามอัตโนมัติ สอดคล้องไปกับตัวเราโดยเราไม่ได้ฝืนและทำตัวปกติเป็นไปตาม

ธรรมชาติของตัวเองที่เคยเป็นอยู่

ดิฉันเข้าใจข้อจำกัดความได้สมบูรณ์หรือไม่ค่ะ

ที่ถามเพราะดิฉันไม่แน่ใจในการตีความของตัวเองนะค่ะ ว่าดิฉันตีความได้ถูกไหม เพราะอย่างที่ดิฉันคิด

น่ะค่ะ คือ คิดผิดก็ทำให้เดินทางธรรมผิด ดิฉันไม่อยากจะเดินทางธรรมผิด จึงมาสอบถามท่านเพื่อให้ท่าน

เพิ่มเติมความเข้าใจดิฉันให้ได้สมบุรณ์ยิ่งขึ้นนะค่ะ กราบขอบพระคุณล่วงหน้านะค่ะ :b8: :b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ก.พ. 2012, 21:28 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


:b16: สาธุอนุโมทนากับสติปัญญาและความเข้าใจอันดีของคุณชาวโลกครับ
แต่การจะละความยินดียินร้ายนั้นจะคิดละเอาเองไม่ได้หรอกครับ จะละได้ต้องหาตัวผู้ละหรือตัวผู้ยึดหรือผู้ยินดียินร้ายให้เจอเสียก่อนซึ่งเขาจะมีอยู่ในจิตปุถุชนทุกคน
สู้และฆ่ามันได้ความยินดียินร้ายเขาก็จะไม่มีไปเอง ไม่ต้องมีใครมาละหรือยึดอะไรต่อไปอีก
แต่ใหม่ๆอาจยังฆ่ามันให้ตายไม่ได้ทันที ก็จงทำให้มันถอยไปทุกทีที่มีสัมผัสและอารมณ์ สะสมความชนะน้อยๆไปเรื่อยๆ
ไม่ช้าไอ้เจ้าตัวที่ไปยึดไปปล่อย ไปยินดียินร้ายเขาจะเฉาตายไปเองเมื่อเหตุถึง ปัจจัยส่ง
เจริญโลก เจริุธรรมครับ
:b12: ะ ท ค


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ก.พ. 2012, 21:58 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 3
สมาชิก ระดับ 3
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 ม.ค. 2012, 16:35
โพสต์: 110


 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
:b16: สาธุอนุโมทนากับสติปัญญาและความเข้าใจอันดีของคุณชาวโลกครับ
แต่การจะละความยินดียินร้ายนั้นจะคิดละเอาเองไม่ได้หรอกครับ จะละได้ต้องหาตัวผู้ละหรือตัวผู้ยึดหรือผู้ยินดียินร้ายให้เจอเสียก่อนซึ่งเขาจะมีอยู่ในจิตปุถุชนทุกคน
สู้และฆ่ามันได้ความยินดียินร้ายเขาก็จะไม่มีไปเอง ไม่ต้องมีใครมาละหรือยึดอะไรต่อไปอีก
แต่ใหม่ๆอาจยังฆ่ามันให้ตายไม่ได้ทันที ก็จงทำให้มันถอยไปทุกทีที่มีสัมผัสและอารมณ์ สะสมความชนะน้อยๆไปเรื่อยๆ
ไม่ช้าไอ้เจ้าตัวที่ไปยึดไปปล่อย ไปยินดียินร้ายเขาจะเฉาตายไปเองเมื่อเหตุถึง ปัจจัยส่ง
เจริญโลก เจริุธรรมครับ
:b12:


:b8: :b8: สาธุ น้อมรับความรู้ค่ะ :b8: :b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 ก.พ. 2012, 01:17 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 9
สมาชิก ระดับ 9
ลงทะเบียนเมื่อ: 01 ก.ค. 2011, 22:53
โพสต์: 705

แนวปฏิบัติ: รู้สึกตัว
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ชาวโลก เขียน:
อ้างคำพูด:
ขออนุญาต แสดงความเห็นร่วมว่า

เห็นด้วยครับว่าการเจริญสติปัฎฐาน 4 ตามธรรมชาติ

คือการใช้จิตธรรมดาตามธรรมชาติ

ด้วยวิธีพอดีของธรรมชาติ

เจริญสติอย่างพอดีตามธรรมชาติ

สู่ความว่าง(นิโรธ)แท้ๆ ที่มีอยู่แล้วตามธรรมชาติ

คืนสังขารธรรมทั้งมวล สู่ธรรมขาติของมัน:b12:



:b8: :b8: ..ขอประทานโทษค่ะ..คือดิฉันอ่านแล้วแต่แปลไม่ออก :b5: ..ดิฉันไม่เข้าใจ :b20:

:b20: ...จะหาว่าดิฉันโง่ดิฉันก็ไม่ว่าหรอกค่ะ เพราะดิฉันเป็นอย่างนั้นจริงๆ พูดให้มันง่ายกว่านี้นิดนึงได้

ไหมค่ะ..(เหมือนอ่านกลอนที่ฟังดูเพราะดีแต่แปลไม่ออกนะค่ะ) ขอบพระคุณล่วงหน้าค่ะ :b8: :b8:



ขออภัยครับที่ทำให้งง ขออนุญาติขยายความ ดังนี้

เห็นด้วยครับว่าการเจริญสติปัฎฐาน 4 ตามธรรมชาติ (คือวิธีที่คุณชาวโลก และคุณอโศกะกล่าวถึงนั่นแหละ จริงๆแล้วเป็นวิธีที่มีอยู่แล้วในธรรมชาติ พระพุทธเจ้าทรงเห็นแล้วจึงนำมาบอกกล่าวเผยแพร่ยืนยันว่าเป็นของจริง)

คือการใช้จิตธรรมดาตามธรรมชาติ (จิตก็เป็นธาตุตามธรรมชาติชนิดหนึ่ง)

ด้วยวิธีพอดีของธรรมชาติ (เดินทางตามวิธีแห่งความพอดี คือสัมมาอริยมรรค)

เจริญสติอย่างพอดีตามธรรมชาติ(มีสติเพียงพอไม่มากไปไม่น้อยไปเหมือนการออกแรงตัดเชือก ใช้แรงอย่างพอดีด้วยมีดแห่งปัญญาที่คมเชือกก็ขาด ไม่ต้องลำบากออกแรงมากไปให้เหนื่อย)

สู่ความว่าง(นิโรธ)แท้ๆ ที่มีอยู่แล้วตามธรรมชาติ(นิโรธ-นิพพาน-ความว่างจากทุกข์ก็เป็น ธรรมธาตุแท้ๆที่มีอยู่ในธรรมชาตินี้เช่นกัน)

คืนสังขารธรรมทั้งมวล สู่ธรรมขาติของมัน(สละคืนความยึดมั่นในสังขารธรรม อันอยู่ในกระแสปรุงแต่ง เป็นทุกข์ ด้วยความเ็ห็นที่แท้จริงแล้วว่าจริงๆแล้วไม่มีความเป็นตน(อัตตา)ในสังขารนั้น สังขารก็เป็นเพียงสังขารธาตุตามธรรมชาติ จิตละความยึดติด(สิ้นอุปาทาน)อิสระสู่กระแสแห่งความไม่ปรุงแต่ง(วิสังขาร)สิ้นทุกข์ สิ้นโศกตลอดไปแม้ยังมีชีวิตอยู่จนหมดการปรุงแต่งทางกาย ก็ถึงอิสระภาพนิรันดร์)

.....................................................
"ธรรมะเป็นปัจจัตตัง ต้องทำเอง รู้เอง เห็นเอง เข้าใจเอง"


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 ก.พ. 2012, 17:14 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 9
สมาชิก ระดับ 9
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ก.ย. 2010, 09:07
โพสต์: 761

แนวปฏิบัติ: อานาปาฯ
งานอดิเรก: ศึกษาพุทธธรรม
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม
ชื่อเล่น: ปลีกวิเวก
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


tongue สวัสดีค่ะ คุณชาวโลก

แวะเข้ามาทักทาย เป็นอย่างไรบ้างคะ? หาผู้รู้เจอหรือยัง ? ผู้รู้ก็เป็นเพียงสภาวะธรรมที่เกิดขึ้น
ตั้งอยู่ ดับไป ตามเหตุปัจจัยเหมือนกัน :b41:

.....................................................
วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน โส เสฏฺโฐ เทวมานุสเส
ผู้ถึงพร้อมด้วยความรู้คู่ความดี คือผู้ที่ประเสริฐสุดในหมู่มนุษย์และเทวดา
วรรคทอง วรรคธรรม โดยท่าน ว.วชิรเมธี


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 ก.พ. 2012, 20:30 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 3
สมาชิก ระดับ 3
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 ม.ค. 2012, 16:35
โพสต์: 110


 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
ขออภัยครับที่ทำให้งง ขออนุญาติขยายความ ดังนี้

เห็นด้วยครับว่าการเจริญสติปัฎฐาน 4 ตามธรรมชาติ (คือวิธีที่คุณชาวโลก และคุณอโศกะกล่าวถึงนั่นแหละ จริงๆแล้วเป็นวิธีที่มีอยู่แล้วในธรรมชาติ พระพุทธเจ้าทรงเห็นแล้วจึงนำมาบอกกล่าวเผยแพร่ยืนยันว่าเป็นของจริง)

คือการใช้จิตธรรมดาตามธรรมชาติ (จิตก็เป็นธาตุตามธรรมชาติชนิดหนึ่ง)

ด้วยวิธีพอดีของธรรมชาติ (เดินทางตามวิธีแห่งความพอดี คือสัมมาอริยมรรค)

เจริญสติอย่างพอดีตามธรรมชาติ(มีสติเพียงพอไม่มากไปไม่น้อยไปเหมือนการออกแรงตัดเชือก ใช้แรงอย่างพอดีด้วยมีดแห่งปัญญาที่คมเชือกก็ขาด ไม่ต้องลำบากออกแรงมากไปให้เหนื่อย)

สู่ความว่าง(นิโรธ)แท้ๆ ที่มีอยู่แล้วตามธรรมชาติ(นิโรธ-นิพพาน-ความว่างจากทุกข์ก็เป็น ธรรมธาตุแท้ๆที่มีอยู่ในธรรมชาตินี้เช่นกัน)

คืนสังขารธรรมทั้งมวล สู่ธรรมขาติของมัน(สละคืนความยึดมั่นในสังขารธรรม อันอยู่ในกระแสปรุงแต่ง เป็นทุกข์ ด้วยความเ็ห็นที่แท้จริงแล้วว่าจริงๆแล้วไม่มีความเป็นตน(อัตตา)ในสังขารนั้น สังขารก็เป็นเพียงสังขารธาตุตามธรรมชาติ จิตละความยึดติด(สิ้นอุปาทาน)อิสระสู่กระแสแห่งความไม่ปรุงแต่ง(วิสังขาร)สิ้นทุกข์ สิ้นโศกตลอดไปแม้ยังมีชีวิตอยู่จนหมดการปรุงแต่งทางกาย ก็ถึงอิสระภาพนิรันดร์)

[/quote]

:b8: :b8: ขอบพระคุณนะค่ะ ที่อธิบายให้เข้าใจค่ะ :b8: :b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 ก.พ. 2012, 20:36 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 3
สมาชิก ระดับ 3
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 ม.ค. 2012, 16:35
โพสต์: 110


 ข้อมูลส่วนตัว


ปลีกวิเวก เขียน:
tongue สวัสดีค่ะ คุณชาวโลก

แวะเข้ามาทักทาย เป็นอย่างไรบ้างคะ? หาผู้รู้เจอหรือยัง ? ผู้รู้ก็เป็นเพียงสภาวะธรรมที่เกิดขึ้น
ตั้งอยู่ ดับไป ตามเหตุปัจจัยเหมือนกัน :b41:



กำลังดูๆอยู่ค่ะไม่แน่ใจ ว่าใช่ไหมน่ะค่ะ เพราะไม่ค่อยแม่น ไม่ค่อยเก่ง ขอบคุณนะค่ะที่เข้ามาให้กำลังใจค่ะ smiley smiley


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ก.พ. 2012, 08:06 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


:b4:
ผู้รู้ มี 3 คนนะครับ
คนแรกคือ วิญญาณ ผู้รับรู้ผัสสะของทวารทั้ง 6

คนที่ 2 คือสติ ผู้ร้ทันปัจจุบันอารมณ์ ระลึกได้ ไม่ลืม

คนที่ 3 คือ ปัญญา ผู้รู้จักอารมณ์ตามความเป็นจริง
การจะรู้จักอารมณ์ตามความเป็นจริงนั้นต้องอาศัยปัญญาตัวที่ 2 ในปัญญามรรคคือ สัมมาสังกัปปะเป็นผู้ค้นหาคำตอบให้
ถ้ามีบันทึกไว้ในสัญญาแล้ว สติจะเป็นผู้ไปค้นหาคำตอบมาให้
onion


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ก.พ. 2012, 12:50 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
:b4:
ผู้รู้ มี 3 คนนะครับ
คนแรกคือ วิญญาณ ผู้รับรู้ผัสสะของทวารทั้ง 6

คนที่ 2 คือสติ ผู้ร้ทันปัจจุบันอารมณ์ ระลึกได้ ไม่ลืม

คนที่ 3 คือ ปัญญา ผู้รู้จักอารมณ์ตามความเป็นจริง
การจะรู้จักอารมณ์ตามความเป็นจริงนั้นต้องอาศัยปัญญาตัวที่ 2 ในปัญญามรรคคือ สัมมาสังกัปปะเป็นผู้ค้นหาคำตอบให้
ถ้ามีบันทึกไว้ในสัญญาแล้ว สติจะเป็นผู้ไปค้นหาคำตอบมาให้
onion

พูดได้พูดดี พูดไปเรื่อย คนพูดก็ไม่รู้คนฟังก็ไม่รู้ เลยเข้ากันเป็นปี่เป็นขลุ่ย
ไอ้ขลุ่ยมันเป่าเพี้ยน ไอ้ปี่ก็เป่าเพี้ยน

คุณโสกะคุณนี่เลอะเทอะใหญ่แล้วครับ รู้อะไรกันมากมายครับ
ตัวโน้นนรู้ตัวนี้รู้ วิญญาณรู้ สติก็รู้ แถมปัญญาก็ดันมารู้อีก
แบบนี้ไม่ตีกันตายไปข้างหรือครับ :b13:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ก.พ. 2012, 15:01 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 3
สมาชิก ระดับ 3
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 ม.ค. 2012, 16:35
โพสต์: 110


 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
:b4:
ผู้รู้ มี 3 คนนะครับ
คนแรกคือ วิญญาณ ผู้รับรู้ผัสสะของทวารทั้ง 6

คนที่ 2 คือสติ ผู้ร้ทันปัจจุบันอารมณ์ ระลึกได้ ไม่ลืม

คนที่ 3 คือ ปัญญา ผู้รู้จักอารมณ์ตามความเป็นจริง
การจะรู้จักอารมณ์ตามความเป็นจริงนั้นต้องอาศัยปัญญาตัวที่ 2 ในปัญญามรรคคือ สัมมาสังกัปปะเป็นผู้ค้นหาคำตอบให้
ถ้ามีบันทึกไว้ในสัญญาแล้ว สติจะเป็นผู้ไปค้นหาคำตอบมาให้
onion


:b8: :b8: น้อมรับความรู้ค่ะ :b8: :b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ก.พ. 2012, 15:07 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 3
สมาชิก ระดับ 3
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 ม.ค. 2012, 16:35
โพสต์: 110


 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
asoka เขียน:
:b4:
ผู้รู้ มี 3 คนนะครับ
คนแรกคือ วิญญาณ ผู้รับรู้ผัสสะของทวารทั้ง 6

คนที่ 2 คือสติ ผู้ร้ทันปัจจุบันอารมณ์ ระลึกได้ ไม่ลืม

คนที่ 3 คือ ปัญญา ผู้รู้จักอารมณ์ตามความเป็นจริง
การจะรู้จักอารมณ์ตามความเป็นจริงนั้นต้องอาศัยปัญญาตัวที่ 2 ในปัญญามรรคคือ สัมมาสังกัปปะเป็นผู้ค้นหาคำตอบให้
ถ้ามีบันทึกไว้ในสัญญาแล้ว สติจะเป็นผู้ไปค้นหาคำตอบมาให้
onion

พูดได้พูดดี พูดไปเรื่อย คนพูดก็ไม่รู้คนฟังก็ไม่รู้ เลยเข้ากันเป็นปี่เป็นขลุ่ย
ไอ้ขลุ่ยมันเป่าเพี้ยน ไอ้ปี่ก็เป่าเพี้ยน

คุณโสกะคุณนี่เลอะเทอะใหญ่แล้วครับ รู้อะไรกันมากมายครับ
ตัวโน้นนรู้ตัวนี้รู้ วิญญาณรู้ สติก็รู้ แถมปัญญาก็ดันมารู้อีก
แบบนี้ไม่ตีกันตายไปข้างหรือครับ :b13:


:b12: :b12: ท่านทั่งสองคุยกันดูสนุกดีน่ะค่ะ :b16: :b16:

คนรู้คนแรกดิฉันไม่รู้จักค่ะ ไม่เคยเห็นและไม่รู้จัก เลยไม่เคยสนใจค่ะ :b1:


ส่วนคนที่ 2 กับคนที่ 3 รู้จักค่ะ แต่ส่วนใหญ่คนที่ 2 กับคนที่ 3 ส่วนใหญ่จะรวมเป็นคนเดียวกันค่ะ

เหมือนเหรียญ 2 ด้านที่เป็นหนึ่งเดียวนะค่ะ แต่ถ้าเมื่อใด เหรียญมีด้านเดียวทีไร ดิฉันมีปัญหาทุกทีเลย

ค่ะ ส่วนใหญ่ คนที่ 2 มันหายค่ะ แต่คนที่ 3 อยู่ตลอดเลย..แปลกๆไปไหมค่ะดิฉันเนี๊ยะค่ะ s002 s005

s005 (มันตามกันไม่ทันกันสักทีค่ะ ต้องพอมีปัญหาที่ไร ถึงจะรู้นะค่ะว่า อะไรมันหายไป)


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 131 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร