วันเวลาปัจจุบัน 21 ก.ค. 2025, 20:01  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


อ่านนิทาน จากบอร์ดเก่า
http://www.dhammajak.net/board/viewforum.php?f=5



กลับไปยังกระทู้  [ 2685 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 21, 22, 23, 24, 25, 26, 27 ... 179  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 ม.ค. 2019, 18:47 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อธิปตติ ความว่า วัยย่อมล่วงไปรวดเร็ว
เหลือเกิน คือผ่านไปโดยพลัน. บทว่า วโย ได้แก่ แม้วัยทั้ง ๓ มีปฐมวัย
เป็นต้น. บทว่า ขโณ ตเถว ได้แก่ ทั้งอุปปาทขณะ ฐิติขณะ และภังคขณะ
ย่อมพลันล่วงไปเช่นนั้นเหมือนกัน ด้วยบททั้งสองดังว่ามานี้ ท้าวสักกเทวราช

แสดงว่า ขึ้นชื่อว่า อายุสังขารของสัตว์เหล่านี้ เป็นสภาวะแตกสลาย ชื่อว่า
ย่อมล่วงไปโดยพลัน เพราะเปลี่ยนแปลงไปรวดเร็วยิ่งนักประดุจแม่น้ำมีกระแส
อันเชี่ยว ฉะนั้น. บทว่า ฐานํ นตฺถิ ความว่า ขึ้นชื่อว่า ความหยุดอยู่
แห่งวัยและขณะทั้งสองนั้น ไม่มีเลย แม้ด้วยความปรารถนาว่า สังขารทั้งหลาย

ที่เกิดขึ้นแล้ว ไม่แตกสลาย ดำรงอยู่ดังนี้ ก็ไม่เป็นไปได้ สัตว์แม้ทั้งปวง
ตั้งต้นแต่พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้า ย่อมเคลื่อนไปแน่นอน คือโดยส่วนเดียว
เท่านั้น ท้าวสักกเทวราช ทรงบ่งถึงว่า เธอจงเจริญมรณสติอย่างนี้ว่า ความ
ตายแน่นอน ความเป็นอยู่ไม่แน่นอนเลย. บทว่า ปริชียติ ความว่า สรีระ

อันมีพรรณะเพียงดังทองคำนี้ คร่ำคร่าทั้งนั้นแล เธอจงรู้อย่างนี้เถิด. บทว่า
มา ปมาทํ ความว่า ดูก่อนแม่อุทัยภัทรา เหตุนั้น เธออย่าถึงความประมาท
เลย จงเป็นผู้ไม่ประมาท ประพฤติธรรมคือกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการเถิด.
บทว่า กสิณา แปลว่า ทั้งสิ้น. บทว่า เอกสฺเสว ความว่า ถ้าว่าเป็นของ
พระราชาพระองค์เดียวเท่านั้น แม้จะเป็นอดีต อนาคต ก็เป็นอยู่ ในพระราชา

พระองค์นั้นพระองค์เดียว. บทว่า ตํ วา วิชหติ อวีตราโค ความว่า
บุคคลผู้ตกอยู่ในอำนาจแห่งตัณหา คงไม่อิ่มด้วยยศแม้เพียงเท่านี้เลย จะต้อง
ทอดทิ้งแผ่นดินนั้นไป ทั้ง ๆ ที่ยังไม่หมดรักเลย ในเวลาตาย ท้าวสักกเทวราช
ระบุถึงว่า เธอจงรู้ว่าตัณหาเป็นธรรมชาติที่ไม่รู้จักเต็ม ด้วยอาการอย่างนี้เถิด.
บทว่า เตวาปิ ความว่า บุคคลแม้เหล่านี้ ย่อมทอดทิ้งกันไป คือ ย่อม


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 ม.ค. 2019, 18:48 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
พลัดพรากจากกันไป มารดาบิดาย่อมทิ้งบุตร บุตรทิ้งมารดาบิดา ภริยาทิ้งสามี
สามีทิ้งภริยา ท้าวสักกเทวราชระบุว่า เธอจงทราบว่า หมู่สัตว์ต้องพลัดพราก
จากกัน ด้วยประการฉะนี้. บทว่า ปรโภชนํ ความว่า เธอพึงทราบเถิดว่า
กายเป็นอาหารของหมู่สัตว์เหล่าอื่น ต่างด้วยชนิดมีกาเป็นต้น. บทว่า อิตร-

วาโส ความว่า เธอพึงทราบเถิดว่า ในสงสารนี้ สุคติคือที่เกิดของมนุษย์
และทุคติคือที่เกิดของสัตว์ดิรัจฉานนี้ใด แม้ทั้งสองนั้น เป็นที่พักชั่วคราว
แล้ว จงไปประพฤติธรรม อย่าประมาทเสียนะ การมาจากที่ต่างๆ แล้วพบ

กันในที่แห่งเดียวกันของสัตว์เหล่านั้น เป็นการนิดหน่อย สัตว์เหล่านี้ อยู่ร่วม
กันชั่วกาลมีประมาณเล็กน้อยเท่านั้น เพราะฉะนั้น เธอจงเป็นผู้ไม่ประมาท
พระมหาสัตว์เจ้า ได้ประทานโอวาทแก่พระนาง ด้วยประการฉะนี้แล.

ฝ่ายพระนางทรงเลื่อมใส ในธรรมกถาของท้าวเธอ เมื่อจะทำการ
ชมเชย จึงตรัสพระคาถาสุดท้ายว่า
เทพบุตร ช่างพูดดีจริง ชีวิตของสัตว์ทั้งหลาย
น้อยนัก ทั้งลำเค็ญ ทั้งนิดหน่อย ประกอบไปด้วย
ความทุกข์ หม่อมฉันจักสละสุรุนธนนคร แคว้นกาสี
ออกบวช อยู่โดยลำพังแต่ผู้เดียว.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า สาธุ แปลว่า งามจริง. บทว่า อปฺปํ
มจฺจานชีวิตํ ความว่า เทวราชนี้เมื่อจะตรัส ย่อมตรัสว่า ชีวิตของหมู่สัตว์
เป็นของน้อยนิด ช่างตรัสดีจริง ๆ เพราะเหตุไร ? เพราะเหตุว่า ชีวิตนี้
ลำเค็ญเป็นทุกข์ ปราศจากความยินดี ทั้งเป็นของนิดหน่อย คือ ไม่มาก


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 ม.ค. 2019, 19:06 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
เป็นของชั่วคราว ก็ถ้าชีวิตทั้ง ๆ ที่ลำเค็ญ จะพึงเป็นไปได้ตลอดกาลนาน ก็
เป็นอันว่า ทั้ง ๆ ที่เป็นของนิดหน่อย จะพึงมีความสุขได้ ก็แต่ว่า ชีวิตนี้
เป็นทั้งลำเค็ญ ทั้งนิดหน่อยประกอบไว้ คือพร้อมร่วมกันกับด้วยวัฏทุกข์
ทั้งสิ้น. บทว่า สาหํ ตัดเป็น สา อหํ. บทว่า สุรุนฺธนํ ความว่า พระนาง
ตรัสว่า หม่อมฉันนั้น จักทิ้งพระนครสุรุนธนะ และแคว้นกาสีไปผนวชแต่
โดยลำพังผู้เดียว.

พระโพธิสัตว์เจ้า ประทานพระโอวาทแด่พระนางแล้ว เสด็จไปสู่ที่อยู่
ของพระองค์ตามเดิม. ฝ่ายพระนางพอรุ่งขึ้น ก็ทรงมอบราชสมบัติให้พวก
อำมาตย์รับไว้ ทรงผนวชเป็นฤาษิณี ในพระราชอุทยานอันน่ารื่นรมย์ ภายใน
พระนครนั่นเอง ทรงประพฤติธรรม ในที่สุดพระชนมายุ ก็บังเกิดเป็นบาท-
บริจาริกา ของพระโพธิสัตว์เจ้าในดาวดึงส์พิภพ.

พระศาสดา ทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ทรงประกาศสัจจะ
ทั้งหลาย ในเวลาจบสัจจะ ภิกษุผู้เบื่อหน่ายได้ดำรงอยู่ในโสดาปัตติผล ทรง
ประชุมชาดกว่า พระราชธิดาในครั้งนั้น ได้มาเป็นพระมารดาของพระ-
ราหุล ส่วนท้าวสักกเทวราช ก็คือเราตถาคตนั่นแล.

พระศาสดา เมื่อทรงประทับอยู่ที่พระเชตวันมหาวิหาร ทรงพระ
ปรารภถึงการข่มกิเลส จึงตรัสพระธรรมเทศนานี้ มีคำเริ่มต้นว่า มิตฺโต
มิตฺตสฺส ดังนี้.

ดังจะกล่าวโดยพิสดาร สมัยหนึ่ง คฤหัสถ์ผู้เป็นสหายกันชาวกรุง
สาวัตถี ประมาณ ๕๐๐ คน ฟังพระธรรมเทศนาของพระตถาคตแล้วบรรพชา
ถึงอุปสมบท พากันอยู่ภายในโกฏฐิสัณฐาคาร ถึงเวลาเที่ยงคืน ต่างก็ตรึกถึง
กามวิตก. เรื่องทั้งหมดบัณฑิตพึงให้พิสดาร โดยนัยที่กล่าวไว้แล้วในหนหลัง
นั่นแล. แปลกแต่ว่า ครั้นท่านพระอานนท์ให้ภิกษุสงฆ์ประชุมกัน โดยอาณัติ
ของพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว พระศาสดาประทับนั่งเหนืออาสนะที่จัดถวาย


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 ม.ค. 2019, 19:07 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ทรงกระทำมิให้เป็นการเจาะจง ไม่ตรัสว่า พวกเธอพากันตรึกถึงกามวิตกแล้ว
ตรัสด้วยสามารถเป็นพระดำรัสสงเคราะห์ แก่ภิกษุทั้งปวงว่า ดูก่อนภิกษุ
ทั้งหลาย ขึ้นชื่อว่ากิเลส เป็นของเล็กน้อยไม่มีเลย ธรรมดาว่าภิกษุต้องข่ม
กิเลสที่เกิดแล้ว ๆ เสีย บัณฑิตครั้งก่อน เมื่อพระพุทธเจ้ายังไม่เสด็จอุบัติ
ต่างก็ข่มกิเลสทั้งหลายเสียได้ บรรลุปัจเจกพุทธญาณ ดังนี้แล้ว จึงทรงนำ
อดีตนิทานมาตรัส ดังต่อไปนี้

ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติ ในกรุงพาราณสี
สหาย ๒ คน ในบ้านน้อยตำบลหนึ่ง ในแคว้นกาสี พากันถือกระออมน้ำดื่ม
ไปสู่ไร่ในป่า วางไว้ ณ ส่วนข้างหนึ่งแล้วฟันไร่ ในเวลากระหายน้ำก็พากัน
มาดื่มน้ำ. ในคน ๒ คนนั้น คนหนึ่งเมื่อมาก็เก็บน้ำดื่มของตนไว้เสีย ดื่มน้ำ

จากกระออมของอีกคนหนึ่ง ตอนเย็นออกจากป่าแล้ว ยืนอาบน้ำสำรวจดูว่า
วันนี้เราได้ทำบาปอะไร ๆ ไว้ ด้วยกายทวารเป็นต้นบ้าง มีหรือไม่ เห็นการ
ที่ขโมยน้ำของเพื่อนกันดื่ม ถึงความสลดใจคิดว่า ตัณหานี้ เมื่อเจริญคงโยน
เราเข้าไปในอบายทั้งหลายเป็นแน่แท้ เราจักข่มกิเลสอันนี้เสียให้ได้ กระทำ

การขโมยน้ำของเพื่อนกันดื่มนั้นให้เป็นอารมณ์ เจริญวิปัสสนา ทำปัจเจก-
พุทธญาณให้บังเกิดได้แล้ว ยืนนึกถึงคุณที่ตนได้รับอยู่. ลำดับนั้น อีกคนหนึ่ง
อาบน้ำแล้วขึ้นมากล่าวกะเขาว่า มาเถิดสหาย เราพากันไปเรือนเถิด. เขาตอบว่า
เธอไปเถิด ฉันไม่มีจิตคิดถึงเรือน เราเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้าแล้ว. เขากล่าวว่า

อันว่าพระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลาย ไม่เป็นอย่างท่านดอก. ลำดับนั้น ท่านจึง
ถามเขาว่า เป็นเช่นไรเล่า. เขาตอบว่า พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลาย มีผม
เพียง ๒ องคุลี ครองผ้าย้อมน้ำฝาด พากันอยู่ ณ เงื้อมเขานันทมูลกะ ใน
ป่าหิมพานต์ตอนเหนือ. ท่านลูบศีรษะ ในบัดดลนั้นเอง เพศคฤหัสถ์ของท่าน
ก็อันตรธานหายไป กลับกลายเป็นครองผ้า ๒ ชั้นที่ย้อมแล้ว คาดรัดประคด


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 ม.ค. 2019, 19:08 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
เช่นกับสายฟ้า มีจีวรเฉวียงบ่า มีสีเพียงดังแผ่นครั่ง ห่มเฉวียงบ่าไว้ข้างหนึ่ง
มีผ้าบังสุกุล จีวรสีเมฆ พาดอยู่บนบ่าเบื้องขวา มีบาตรดินสีเหมือนแมลงภู่
คล้องอยู่ที่บ่าเบื้องซ้าย. ท่านสถิตอยู่ในอากาศ แสดงธรรมแล้วเหาะไปลงที่
เงื้อมเขานันทมูลกะทันที. ยังมีกุฎุมพีคนหนึ่งในกาสิกคามนั่นเอง นั่งอยู่ที่ตลาด

เห็นชายผู้หนึ่ง พาภริยาของตนเดินไป ทำลายอินทรีย์เสีย มองดูหญิงผู้เลอโฉม
นั้น หวนคิดไปอีกว่า ความโลภนี้แหละ เมื่อมันเจริญจักโยนเราเข้าไปใน
อบายทั้งหลายได้ มีใจสลดเจริญวิปัสสนา บรรลุปัจเจกพุทธญาณ สถิตใน
อากาศแสดงธรรม เหาะไปเงื้อมเขานันทมูลกะเช่นกัน. ยังมีบิดากับบุตรคู่หนึ่ง
เป็นชาวกาสิกคามเหมือนกัน เดินทางไปร่วมกัน. พวกโจรป่าพากันซุ่มอยู่ที่

ปากดง พวกโจรเหล่านั้นจับบิดากับบุตรได้ ยึดบุตรไว้ปล่อยบิดาไป ด้วยสั่ง
ว่า เจ้าจงไปนำทรัพย์มาไถ่บุตรของท่านเถิด จับพี่น้อง ๒ คนได้ ก็ยึดน้องชาย
เอาไว้ ปล่อยพี่ชายไป จับอาจารย์กับอันเตวาสิกได้ ยึดเอาอาจารย์ไว้ ปล่อย
อันเตวาสิกไป. อันเตวาสิกต้องไปนำทรัพย์มาไถ่ตัวอาจารย์ไป ด้วยความโลภ
ในศิลปะ. ลำดับนั้น บิดาและบุตรนั้น รู้ว่า พวกโจรซุ่มอยู่ที่ตรงนั้น จึงทำ

กติกากันไว้ว่า เจ้าอย่าเรียกข้าว่าพ่อนะ ถึงข้าก็จะไม่เรียกเองว่าลูก ในเวลาถูก
พวกโจรจับได้ ถูกถามว่าแกเป็นอะไรกัน ต่างคนก็ต่างพูดมุสาวาท ทั้ง ๆ ที่รู้อยู่
แล้วแกล้งตอบว่า เราไม่ได้เป็นอะไรกัน. เมื่อทั้งคู่ออกพ้นจากดง ไปยืนอาบน้ำ


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 ม.ค. 2019, 19:09 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
อยู่ในเวลาเย็น บุตรชายชำระศีลของตน เห็นมุสาวาทนั้น คิดว่า บาปนี้เมื่อเจริญ
จักโยนเราไปในอบายทั้งหลายได้ เราจักข่มกิเลสนี้ให้ได้ ดังนี้ เจริญวิปัสสนา
ทำปัจเจกพุทธญาณให้เกิดขึ้นแล้ว สถิตอยู่ในอากาศแสดงธรรมแก่บิดา เหาะ
ไปสู่เงื้อมเขานันทมูลกะเหมือนกัน. ยังมีอีกผู้หนึ่ง เป็นนายอำเภอคนหนึ่ง ใน
กาสิกคามนั่นแล บังคับให้คนฆ่าสัตว์. ครั้นในเวลากระทำพลีกรรม มหาชน

ประชุมกันกล่าวกะเขาว่า เจ้านายขอรับ พวกเราต้องฆ่าเนื้อและสุกรเป็นต้น
กระทำพลีกรรมแก่หมู่ยักษ์บ้างเถิดขอรับ กาลนี้เป็นกาลแห่งพลีกรรม ก็กล่าว
ว่า พวกท่านจงกระทำตามแบบอย่างที่เคยกระทำมาในครั้งก่อนนั่นแล. พวก
มนุษย์ได้ทำปาณาติบาตมากมาย. เขามองเห็นปลาและเนื้อเป็นอันมาก
รำคาญใจว่า มนุษย์เหล่านี้ ที่ฆ่าสัตว์มีประมาณเท่านี้ จักฆ่าตามคำของเรา

ผู้เดียวเท่านั้น ดังนี้แล้ว จึงยืนพิงช่องหน้าต่าง เจริญวิปัสสนา ทำปัจเจก
พุทธญาณให้เกิดแล้ว สถิตในอากาศแสดงธรรม เหาะไปเงื้อมเขานันทมูลกะ
เหมือนกัน. ยังอีกผู้หนึ่ง เป็นนายอำเภอในแคว้นกาสิกะเหมือนกัน ห้ามการ
ซื้อขายน้ำเมาไว้อย่างกวดขัน ถูกมหาชนพากันถามว่า เจ้านายขอรับ เมื่อก่อน

เวลานี้เป็นเวลางาน เรียกชื่อว่าสุราฉัณ (สุราที่ดื่มกันในวันมีมหรสพ) พวก
กระผมจะทำอย่างไรขอรับ จึงกล่าวว่า พวกท่านจงทำตามแบบอย่างเก่าก่อน
นั่นแล. พวกมนุษย์พากันกระทำการมหรสพ ดื่มสุราเมาแล้ว ทะเลาะกัน
จนมือเท้าแตกหัก ศีรษะแตก หูฉีกขาด ถูกจองจำด้วยสินไหมเป็นอันมาก.


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 ม.ค. 2019, 19:23 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
นายอำเภอเห็นพวกคนนั้นแล้ว คิดว่า เมื่อเราไม่อนุญาต คนเหล่านี้ก็ไม่ต้อง
ได้ประสบทุกข์กัน. เขาทำความรำคาญใจ ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ ยืนพิงช่อง-
หน้าต่างอยู่ เจริญวิปัสสนา บรรลุปัจเจกพุทธญาณแล้ว สถิตอยู่ในอากาศ
แสดงธรรมว่า พวกท่านจงอย่าเป็นผู้ประมาทเถิด แล้วเหาะไปยังเงื้อมเขา
นันทมูลกะเหมือนกัน.

จำเนียรกาลนานมา พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้ง ๕ พระองค์ต่างเหาะ
มาลงที่ประตูกรุงพาราณสี เพื่อภิกขาจาร ล้วนนุ่งห่มผ้าเรียบร้อยเที่ยว
โปรดสัตว์ ด้วยอิริยาบถมีการก้าวไปข้างหน้าเป็นต้น อันน่าเลื่อมใส
จนไปถึงประตูวัง. พระราชาทรงทอดพระเนตรเห็นพระคุณเจ้าเหล่านั้น ทรงมี
จิตเลื่อมใส นิมนต์ให้เข้าไปสู่พระราชนิเวศน์ ล้างเท้า ทาด้วยน้ำมันหอม
อังคาสด้วยขาทนียและโภชนียะอันประณีต ประทับนั่ง ณ ส่วนข้างหนึ่ง ตรัส

ถามว่า พระคุณเจ้าผู้เจริญทั้งหลาย การบรรพชาในปฐมวัยของพระคุณเจ้า
ทั้งหลาย ดูช่างงดงามจริง เมื่อจะบรรพชาในวัยนี้ พระคุณเจ้าทั้งหลาย ต่าง
เห็นโทษในกามทั้งหลาย อย่างไรกันนะ อะไรเป็นอารมณ์ของพระคุณเจ้าเล่า.
เมื่อพระปัจเจกพุทธเจ้าเหล่านั้น จะทูลแด่พระราชานั้น จึงทูลเป็นคาถาองค์ละ
๑ คาถา ดังต่อไปนี้

อาตมภาพ เป็นมิตรของชายคนหนึ่ง ได้ดื่มน้ำ
ของมิตรที่เขามิได้ให้ เพราะเหตุนั้น ภายหลัง
อาตมภาพจึงรังเกียจว่า เราทำบาปนั้นไว้แล้ว อย่าได้
กระทำบาปต่อไปอีกเลย เพราะเหตุนั้น อาตมภาพ
จึงออกบวช.


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 ม.ค. 2019, 19:24 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ความพอใจ บังเกิดขึ้นแก่อาตมภาพ เพราะเห็น
ภริยาของผู้อื่น เพราะเหตุนั้น ภายหลังอาตมภาพจึง
รังเกียจว่า เราได้ทำบาปนั้นไว้แล้ว อย่าได้กระทำ
บาปนั้นต่อไปอีกเลย เพราะเหตุนั้น อาตมภาพจึง
ออกบวช.

ขอถวายพระพรมหาบพิตร โจรทั้งหลายจับโยม
บิดาของอาตมภาพไว้ในป่า อาตมภาพถูกโจรเหล่านั้น
ถาม ทั้ง ๆ ที่รู้อยู่ ได้แกล้งพูดถึงโยมบิดานั้นเป็น
อย่างอื่นไป เพราะเหตุนั้น ภายหลังอาตมภาพจึง
รังเกียจว่า เราได้ทำบาปนั้นไว้แล้ว อย่าได้ทำบาปนั้น
ต่อไปอีกเลย เพราะเหตุนั้น อาตมภาพจึงออกบวช.

เมื่อพลีกรรม ชื่อว่าโสมยาคะ ปรากฏแล้ว มนุษย์
ทั้งหลาย ก็พากันกระทำปาณาติบาต อาตมภาพได้
ยอมอนุญาตให้แก่พวกเขา เพราะเหตุนั้น ภายหลัง
อาตมภาพจึงรังเกียจว่า เราได้ทำบาปนั้นไว้แล้ว อย่า
ได้ทำบาปนั้นต่อไปอีกเลย เพราะเหตุนั้น อาตมภาพ
จึงได้ออกบวช.

ในกาลก่อน ชนทั้งหลายในหมู่บ้านของอาตม-
ภาพ สำคัญสุราและเมรัยว่าเป็นน้ำหวาน จึงได้พากัน
ดื่มน้ำเมา เพื่อความฉิบหายแก่ชนเป็นอันมาก
อาตมภาพจึงยอมอนุญาตให้แก่พวกเขา เพราะเหตุนั้น
ภายหลังอาตมภาพจึงรังเกียจว่า เราได้ทำบาปนั้นไว้
แล้ว อย่าได้ทำบาปนั้นต่อไปอีกเลย เพราะเหตุนั้น
อาตมภาพจึงได้ออกบวช.


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 ม.ค. 2019, 19:25 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลาย ได้ภาษิตคาถาทั้ง ๕ เหล่านี้ โดยลำดับ.
ฝ่ายพระราชาทรงสดับคำพยากรณ์ของพระปัจเจกพุทธเจ้าแต่ละองค์แล้วได้
ทรงสดุดีว่า พระคุณเจ้าผู้เจริญทั้งหลาย บรรพชานี้เหมาะสมแก่พระคุณเจ้า
ทั้งหลายทีเดียว.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า มิตฺโต มิตฺตสฺส ความว่า มหาบพิตร
อาตมภาพเป็นเพื่อนคนหนึ่ง บริโภคน้ำดื่มของเพื่อนกัน โดยทำนองนี้. บทว่า
ตสฺมา ความว่า เพราะอาตมภาพไม่กระทำบาปกรรมซ้ำอีก เหมือนอย่าง
พวกปุถุชนกระทำกันอยู่. บทว่า ปาปํ ความว่า อาตมภาพกระทำบาปนั้น

ให้เป็นอารมณ์แล้วบวช. บทว่า ฉนฺโท ความว่า ดูก่อนมหาบพิตร เพราะ
เห็นภริยาของผู้อื่น โดยทำนองนี้ ความพอใจในกามจึงเกิดขึ้นแก่อาตมภาพ
แล้ว. บทว่า อคณฺหิ แปลว่า ได้รุมกันจับ. บทว่า ชานํ ความว่า อาตมภาพ
ถูกพวกโจรนั้น ถามว่า ผู้นี้เป็นอะไรของแก ทั้ง ๆ ที่ทราบอยู่นั่นแหละ จึง

ตอบไปเสียอย่างอื่นว่า ไม่ได้เป็นอะไรกัน. บทว่า โสมยาเค ความว่า เมื่อ
งานมหรสพใหม่ปรากฏขึ้นแล้ว พวกมนุษย์พากันกระทำพลีกรรมแก่ยักษ์ ชื่อว่า
พิธีโสมยาคะ ครั้นพิธีนั้นปรากฏแล้ว อาตมภาพก็พิจารณาอนุญาต. บทว่า
สุราเมรยมธุกา ความว่า ฝูงชนที่สำคัญอยู่ซึ่งสุรามีสุราเจือด้วยแป้งเป็นต้น
และเมรัยมีน้ำดองดอกไม้เป็นต้นว่าเป็นเหมือนน้ำผึ้ง. บทว่า เย ชนา ปฐมาสุ

โน ความว่า ฝูงชนที่เป็นเช่นนี้ มีแล้ว ได้มีก่อนในบ้านของพวกเรา. บทว่า
พหุนฺนํ เต ความว่า พวกเหล่านั้น เมื่อถึงงานมหรสพคราวหนึ่ง ได้มีการ
ดื่มน้ำเมา เพื่อความฉิบหายแก่ชนเป็นอันมากในวันหนึ่ง.


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 ม.ค. 2019, 19:26 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
พระราชา ทรงสดับพระธรรมเทศนาของพระปัจเจกพุทธเจ้าเหล่านั้น
ทรงมีจิตเลื่อมใส ทรงถวายผ้าจีวรและเภสัช ทรงส่งพระปัจเจกพุทธเจ้าไป
แล้ว. แม้พระปัจเจกพุทธเจ้าเหล่านั้น ก็ทำอนุโมทนาแก่ท้าวเธอได้พากัน
ไป ณ ที่นั้นนั่นแล. ตั้งแต่นั้นมา พระราชาทรงเบื่อหน่าย ไม่ยินดีในวัตถุกาม
ทั้งหลาย ทรงเสวยพระกระยาหารอันมีรสเลิศต่าง ๆ ก็มิได้ทรงเรียก มิได้ทรง

ทอดพระเนตรพวกสตรี ทรงมีจิตเบื่อหน่าย เสด็จเข้าห้องอันทรงสิริ ประทับ
นั่งกระทำกสิณบริกรรมที่ข้างฝาอันมีสีขาว ทรงทำฌานให้บังเกิดขึ้นแล้ว.
พระองค์ทรงบรรลุฌานแล้ว เมื่อจะทรงติเตียนกามทั้งหลาย จึงตรัสพระคาถาว่า
น่าติเตียนแท้ ซึ่งกามเป็นอันมาก มีกลิ่นเหม็น
มีเสี้ยนหนามมาก เราซ่องเสพอยู่ ไม่ได้รับความสุข
เช่นนั้น.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า พหุกณฺฏเก ได้แก่ มีหมู่ปัจจามิตร
มากมาย. บาลีว่า โย จ นั้น ทีจริงก็คือ โย อหํ แปลว่า เราใด อีกอย่าง
บาลีก็ว่า โย จ อย่างนี้เหมือนกัน. บทว่า ตาทิสํ ได้แก่ ความสุขในฌาน
เช่นนั้น คือเว้นจากกิเลส.

ลำดับนั้น พระอัครมเหสีของพระองค์ทรงดำริว่า พระราชาพระองค์
นี้ ทรงสดับธรรมกถาของพระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายแล้ว ทรงมีท่าทางเบื่อ
หน่าย มิได้ตรัสกับพวกเราเลย เสด็จเข้าพระตำหนักอันทรงสิริ เราจักคอย
จับพระองค์ดูก่อน ดังนี้แล้ว เสด็จไปสู่พระทวารตำหนักอันทรงสิริ ประทับ

ยืนที่พระทวารทรงสดับพระอุทาน ของพระราชาผู้กำลังทรงติเตียนกามทั้งหลาย
จึงตรัสว่า ข้าแต่พระทูลกระหม่อม พระองค์ทรงติเตียนกาม ความสุขที่เช่นกับ
กามสุข ไม่มีละหรือ เมื่อจะทรงพรรณนาถึงความสุขในกาม จึงตรัสพระคาถา
ต่อไปว่า


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 ม.ค. 2019, 19:36 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
กามทั้งหลายมีรสอร่อยมาก สุขอื่นยิ่งไปกว่า
กามไม่มี ชนเหล่าใด ซ่องเสพกามทั้งหลาย ชนเหล่า
นั้น ย่อมเข้าถึงสวรรค์.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า มหสฺสาทา ความว่า ข้าแต่พระทูล
กระหม่อม ธรรมดาว่า กามเหล่านี้มีความแช่มชื่นมาก ความสุขชนิดอื่นที่ยิ่ง
ไปกว่านี้ ไม่มีเลย เพราะผู้เสพกามเป็นปกติ จะไม่เข้าถึงอบายทั้งหลาย จะพา
กันไปบังเกิดในสวรรค์แล.

พระโพธิสัตว์เจ้า ทรงได้สดับพระราชเสาวนีย์นั้นแล้ว เมื่อจะ
ทรงติเตียนว่า จงย่อยยับเสียเถิด เจ้าคนถ่อย เจ้าพูดอะไร ขึ้นชื่อว่าความสุข
ในกามทั้งหลาย มีที่ไหนกันเล่า เพราะกามเหล่านี้เป็นวิปริณามทุกข์ทั้งนั้น
แหละ จึงได้ทรงภาษิตพระคาถาที่เหลือว่า

กามทั้งหลาย มีรสอร่อยน้อย ทุกข์อื่นยิ่งไป
กว่ากามไม่มี ชนเหล่าใด ซ่องเสพกามทั้งหลาย ชน
เหล่านั้น ย่อมเข้าถึงนรก.

เหมือนดาบที่ลับคมดีแล้วเชือด เหมือนกระบี่
ที่ขัดดีแล้วแทง เหมือนหอกที่พุ่งไปปักอก กามทั้ง
หลาย เป็นทุกข์ยิ่งไปกว่านั้น.
หลุมถ่านเพลิงลุกขึ้นโพลงแล้ว ลึกกว่าชั่วบุรุษ
ผาลที่เขาเผาร้อนอยู่จนตลอดวัน กามทั้งหลายเป็น
ทุกข์ยิ่งไปกว่านั้น.

เหมือนยาพิษชนิดร้ายแรง น้ำมันที่เดือดพล่าน
ทองแดงที่กำลังละลายคว้าง กามทั้งหลายเป็นทุกข์ยิ่ง
ไปกว่านั้น.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า เนตฺตึโส เท่ากับ เนตฺติโส. คำว่า
เนตฺตึโส แม้นี้เป็นชื่อของพระขรรค์ชนิดนั้น. บทว่า ทุกฺขตรา ความว่า
ความทุกข์อันใด ที่จะเกิดขึ้นแก่บุคคล เพราะอาศัยหลุมถ่านเพลิงที่ลุกโพลง
หรือตาข่ายเหล็กที่ถูกย่างไว้ตลอดวันอย่างนี้ กามทั้งหลายนั่นแหละ ยังเป็น

ทุกข์ยิ่งกว่าความทุกข์แม้นั้น. ในคาถาต่อ ๆ ไปมีเนื้อความว่า ยาพิษเป็น
ต้นเหล่านี้ ชื่อว่า เป็นทุกข์ เพราะนำทุกข์มาให้ฉันใด แม้กามทั้งหลายก็เป็น
ทุกข์ฉันนั้น แต่ความทุกข์นั้น เป็นทุกข์ยิ่งกว่าความทุกข์ที่เหลือ.


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 ม.ค. 2019, 19:37 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
พระมหาสัตว์ ทรงแสดงธรรมแก่พระเทวีอย่างนี้แล้ว ได้ทรงให้พวก
อำมาตย์ประชุมกัน แล้วตรัสว่า ดูก่อนอำมาตย์ผู้เจริญทั้งหลาย พวกเธอจง
รับราชสมบัติไว้เถิด ฉันจักบวช ทั้ง ๆ ที่มหาชนพากันร้องไห้คร่ำครวญอยู่
นั่นแล เสด็จลุกขึ้นไปประทับในอากาศ ประทานพระโอวาท เสด็จไปสู่ป่า
หิมพานต์ตอนเหนือ ทางอากาศนั่นเอง ทรงให้สร้างอาศรม ณ ประเทศที่น่า
รื่นรมย์ ผนวชเป็นฤาษี ในที่สุดแห่งพระชนมายุ ได้เสด็จไปสู่พรหมโลกแล้ว.

พระศาสดา ทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแล้วจึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ
ทั้งหลาย ขึ้นชื่อว่ากิเลสที่เป็นของเล็กน้อย ไม่มีเลย ถึงจะมีประมาณน้อย
บัณฑิตทั้งหลาย ก็พากันข่มเสียได้ทั้งนั้น ดังนี้แล้ว จึงทรงประกาศสัจจะทั้งหลาย
(เมื่อจบสัจจะภิกษุ ๕๐๐ รูป ดำรงอยู่ในพระอรหัตผล) ทรงประชุมชาดกว่า
พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายในครั้งนั้น ปรินิพพานแล้ว พระเทวี ได้กลับ
มาเป็นพระมารดาของพระราหุล ส่วนพระเจ้าพาราณสี ก็คือเราตถาคต
นั่นแล.
จบอรรถกถาปานียชาดก

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 ม.ค. 2019, 19:37 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
อรรถกถายุธัญชัยชาดก

พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ในพระเชตวันมหาวิหาร ทรงพระ-
ปรารภการออกมหาภิเนษกรมณ์ จึงตรัสพระธรรมเทศนานี้ มีคำเริ่มต้นว่า
มิตฺตมจฺจปริพฺยุฬฺหํ ดังนี้.

ความพิสดารว่า วันหนึ่ง ภิกษุทั้งหลายประชุมกันในโรงธรรมสภา
กล่าวถ้อยคำสรรเสริญพระคุณของพระศาสดาว่า ท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ถ้าว่า
พระทศพลจักเสด็จครองเรือนไซร้ ก็จักได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิราช ใน
ห้องสกลจักรวาล มีรัตนะ ๗ ประการอย่างครบครัน ทรงสำเร็จฤทธิ์ทั้ง ๔
มีพระโอรสกว่าพันเป็นบริวาร พระองค์ ทรงสละพระราชสมบัติ อันทรงสิริ

เห็นปานนี้ ทรงเห็นโทษในกามทั้งหลาย ทรงม้ากัณฐกะ มีนายฉันนะเป็นสหาย
ออกจากพระนครในเวลาเที่ยงคืน ทรงผนวช ณ ฝั่งแม่น้ำนที มีนามว่า
อโนมา ทรงบำเพ็ญทุกรกิริยาตลอด ๖ พระพรรษา จึงได้ทรงบรรลุ
พระสัมมาสัมโพธิญาณได้ดังพระประสงค์. พระศาสดาเสด็จมาตรัสถามว่า

ภิกษุทั้งหลาย บัดนี้พวกเธอนั่งสนทนากันด้วยเรื่องอะไรหนอ เมื่อภิกษุเหล่านั้น
กราบทูลให้ทรงทราบ จึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย มิใช่แต่ในบัดนี้เท่านั้น
ที่ตถาคตออกสู่มหาภิเนษกรมณ์ แม้ในกาลก่อน ก็เคยละราชสมบัติในกรุง
พาราณสี อันมีประมาณเนื้อที่ ๑๒ โยชน์ ออกบวชแล้วเหมือนกัน ดังนี้แล้ว
จึงทรงนำอดีตนิทานมาตรัสดังต่อไปนี้

ในอดีตกาล ได้มีพระราชาพระองค์หนึ่ง ทรงพระนามว่า สัพพทัต
ณ พระนครรัมมะ. ที่จริง กรุงพาราณสีนี้ ในอุทยชาดก มีนามว่า สุรุนธนะ
ในจุลลสุตตโสมชาดก มีนามว่า สุทัศนะ ในโสณนันทชาดก มีนามว่า
พรหมวัฑฒนะ ในกัณฐหาลชาดก มีนามว่า ปุปผวดี แต่ในยุธัญชัยชาดกนี้
ได้มีนามว่า รัมมะ นามของพระนครนี้ ได้เปลี่ยนไปในกาลบางคราว ด้วย


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 ม.ค. 2019, 20:07 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ประการฉะนี้. ณ พระนครรัมมะนั้น พระเจ้าสัพพทัตได้มีพระราชโอรสพัน
พระองค์ ทรงพระราชทานสถาปนาพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ ทรงพระนาม
ว่า ยุธัญชยะ เป็นที่พระอุปราช. พระอุปราชนั้น ได้ทรงบำเพ็ญมหาทาน
ทุก ๆ วัน. ครั้นกาลล่วงไปอย่างนี้ วันหนึ่ง พระโพธิสัตว์ทรงรถอันประเสริฐ

แต่เช้าตรู่ เสด็จไปสู่กีฬาในพระราชอุทยาน ด้วยพระสิริสมบัติอันใหญ่ยิ่ง
ทอดพระเนตรหยาดน้ำค้าง อันติดอยู่อย่างกับตาข่าย ที่ทำด้วยเส้นด้าย ณ ที่
ต่าง ๆ มียอดไม้ ยอดหญ้า ปลายกิ่งไม้ และใยแมลงมุมเป็นต้น จึงตรัสถามว่า
แน่ะสารถีผู้สหายเอ๋ย นี่เขาเรียกว่าอะไรกัน ได้ทรงสดับว่า ขอเดชะ เหล่านี้
เขาเรียกกันว่าหยาดน้ำค้าง อันตกลงในฤดูหิมะ พระเจ้าข้า ทรงเล่นในพระราช

อุทยานตลอดวัน เสด็จกลับก็ต่อเมื่อเวลาสายัณห์ มิได้ทรงเห็นหยาดน้ำค้าง
เหล่านั้นเลย ตรัสถามว่า สารถีผู้สหายเอ๋ย หยาดน้ำค้างเหล่านี้ ไปไหนหมด
บัดนี้ฉันไม่เห็นมันเลย ทรงสดับว่า ขอเดชะ หยาดน้ำค้างเหล่านั้น เมื่อ
ดวงอาทิตย์ขึ้นไปอยู่ ก็ละลายตกลงเหนือแผ่นดินหมดเลย พระเจ้าข้า ดังนี้แล้ว
ทรงสลดพระทัยดำริว่า แม้ชีวิตและสังขารแห่งสัตว์เหล่านี้ ก็เป็นเสมือน

หยาดน้ำค้างบนปลายยอดหญ้า เรายังไม่ถูกชรา พยาธิ และมรณะเบียดเบียน
เลยทีเดียว ควรจะอำลาพระมารดา พระราชบิดาไปบวชดังนี้แล้ว จึงทรง
กระทำหยาดน้ำค้างนั่นแล ให้เป็นอารมณ์ ทรงเห็นภพทั้ง ๓ ประดุจมีเพลิงลุก
ทั่วไป เสด็จมาถึงพระตำหนักของพระองค์แล้ว ก็ทรงดำเนินไปยังพระตำหนัก

พระราชบิดา ผู้ประทับนั่งอยู่ ณ วินิจฉัยศาลา อันตกแต่งประดับประดาดีแล้ว
ถวายบังคมพระราชบิดา ประทับยืน ณ ส่วนข้างหนึ่ง เมื่อจะทูลขออนุญาต
บรรพชา จึงตรัสพระคาถาที่ ๑ ว่า


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 ม.ค. 2019, 20:07 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
หม่อมฉันขอถวายบังคมพระองค์ ผู้เป็นจอมทัพ
มีมิตรและอำมาตย์แวดล้อมแน่นขนัด ข้าแต่พระทูล-
กระหม่อม หม่อมฉันจักบวช ขอได้โปรดทรงอนุญาต
เถิด.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ปริพฺยุฬฺหํ แปลว่า แวดล้อมแล้ว. บทว่า
ตํ เทโว ความว่า ขอพระทูลกระหม่อม ทรงโปรดได้อนุญาตการบรรพชา
แก่กระหม่อมฉันนั้นเถิด.
ลำดับนั้น พระราชาเมื่อจะทรงห้ามท่าน จึงตรัสพระคาถาที่ ๒ ว่า

ถ้าเธอยังบกพร่องด้วยกามทั้งหลาย ฉันจักเพิ่ม
เติมให้เต็มครบ ผู้ใดเบียดเบียนเธอ ฉันจักห้ามปราม
พ่อยุธัญชัยเอ๋ย อย่าเพิ่งบวชเลย.
พระราชกุมาร ทรงได้สดับพระราชดำรัสนั้นแล้ว จึงตรัสพระคาถา
ที่ ๓ ว่า

หม่อมฉันมิได้บกพร่องด้วยกามทั้งหลายเลย ไม่
มีใครเบียดเบียนหม่อมฉัน แต่หม่อมฉันปรารถนาจะ
ทำที่พึ่ง ที่ชราครอบงำไม่ได้ พระเจ้าข้า.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ทีปฺจ ความว่า ข้าแต่พระทูลกระหม่อม
ความบกพร่องด้วยกามทั้งหลาย ของหม่อมฉันมิได้มีเลยทีเดียว ใคร ๆ ที่จะ
ข่มเหงหม่อมฉันเล่า ก็ไม่มี แต่หม่อมฉันปรารถนาจะสร้างที่พึ่งของหม่อมฉัน

เพื่อการไปยังปรโลก. บทว่า ยํ ชรา นาภิกีรติ ความว่า หม่อมฉันปรารถนา
จะกระทำเกาะที่ชราจะครอบงำไม่ได้ จะกำจัดไม่ได้ คือ จะแสวงหาอมตมหา-
นิพพาน หม่อมฉันไม่ต้องการด้วยกามทั้งหลาย ข้าแต่พระมหาราชเจ้า ขอ
พระองค์โปรดทรงอนุญาตให้หม่อมฉันบวชเถิด พระเจ้าข้า.


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 2685 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 21, 22, 23, 24, 25, 26, 27 ... 179  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร