วันเวลาปัจจุบัน 28 ก.ค. 2025, 01:33  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


“อภิธรรม (สันสกฤต: abhidharma) หรืออภิธัมมะ (บาลี: abhidhamma) เป็นชื่อปิฎกศาสนาพุทธฉบับหนึ่งในปิฎกทั้งสามฉบับที่รวมเรียก "พระไตรปิฎก" อภิธรรมแปลว่าธรรมอันยิ่ง ปิฎกฉบับอภิธรรมนั้นเรียก "พระอภิธรรมปิฎก" ซึ่งว่าด้วยประมวลหลักธรรมและคำอธิบายที่เป็นหลักวิชาล้วนๆ ไม่มีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์และบุคคลเลย”



กลับไปยังกระทู้  [ 4 โพสต์ ]    Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 ธ.ค. 2024, 08:13 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8586


 ข้อมูลส่วนตัว




8c3a634edad03c4f230971a7fab7d422.jpg
8c3a634edad03c4f230971a7fab7d422.jpg [ 15.2 KiB | เปิดดู 1182 ครั้ง ]
๓. อธิปติปัจจัย

อธิปติปัจจัยนี้ จำแนกออกได้เป็น ๒ คือ
ก. อารมณ์ ๖ อย่างใดอย่างหนึ่ง ที่พึงกระทำให้เอาใจใส่เป็นพิเศษช่วยอุปการะ
แก่นามนั้น ชื่อว่า อารัมมณาธิปติปัจจัย
ข. อธิบติทั้ง ๔ มี ฉันทาธิปติ เป็นต้น เป็นปัจจัยช่วยอุปการะแก่นามรูปที่เกิด
ขึ้นพร้อมกันกับตนนั้น ชื่อว่า สหชาตาธิปติปัจจัย

อารัมมณาธิปติปัจจัย

๑. อารมณ์ ต้องเป็นอารมณ์ ๖ อย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งเอาใจใส่เป็นพิเศษด้วย ไม่ใช่
เพียงแต่เอาใจใส่อย่างธรรมดา
๒. ประเภท นามรูป เป็นปัจจัย นามเป็นปัจจยุบบัน
๓. ชาติ เป็น อารัมมณชาติ หมายความว่า ปัจจัยธรรมนั้นได้แก่อารมณ์
นั้นเอง (แต่ต้องเอาใจใส่เป็นพิเศษด้วย)
๔. กาล เป็นได้ทั้ง อดีต อนาคต ปัจจุบัน และ กาลวิมุตติ
๕. สัตติ มีทั้ง ชนกสัตติ และ อุปถัมภกสัตติ
๖. องค์ธรรมของปัจจัย ได้แก่ นิปผันนรูป ๑๘ ที่เป็นอิฏฐารมณ์, จิต ๘๔ (วัน
โทสจิต ๒ โมหจิต ๒ ทุกขกายวิญญาณ ๑), เจตสิก ๔๗ (เว้น โทสะ อิสสา มัจฉระยะ กุก-
กุจจะ วิจิกิจฉา) และ นิพพาน
องค์ธรรมของปัจจยุบบัน ได้แก่ โลภมูลจิต ๘, มหากุสล ๘, มหากิริยาญาณ
สัมปยุดต ๔, โลกุตตรจิต ๘, เจตสิก ๔๕, (เว้นโทสะ อิสสา มัจฉริยะ กุกกุจจะ วิจิกิจฉา
อัปปมัญญา ๒)
องค์ธรรมของปัจจนิก ได้แก่ โลกียจิต ๘๑ เจตสิก ๕๒ และรูปทั้งหมดที่ไม่เป็น
อิฏฐารมณ์
๗. ความหมายโดยย่อ อารัมมณาธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ
(๑) กุสลเป็นปัจจัยแก่กุกุสล กุสลที่ได้บำเพ็ญมาแล้ว อันได้แก่กุสลจิต ๒๐
อรหัตตมัคค) ซึ่งทำให้ซาบซึ้งตรึงใจเป็นพิเศษ ก็ดี ฌานที่ได้ที่ถึงแล้ว อันได้แก่ มหัคคต
กุสลจิต ๙ ก็ดี โคตรภูและโวทาน อันได้แก่มหากุสลญาณสัมปยุตตจิต ๔ ก็ดี และมัคคจิต
เบื้องต่ำ ๓ อันเกิดขึ้นแล้วแก่พระเสกขบุคคล ก็ดี ธรรมเหล่านี้ป็นอารัมมณาธิปติปัจจัย

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 ธ.ค. 2024, 09:36 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8586


 ข้อมูลส่วนตัว


มหากุสลจิตที่พิจารณาธรรมนั้น ๆ เป็น อารัมมณาธิปติปัจจยุบบัน

(๒) กุสลเป็นปัจจัยก่อกุสล กุสลที่ได้บำเพ็ญมาแล้ว อันให้แก่ โลกียกุสล ๑๗
เมื่อนึกถึงกุสลเหล่านี้โดยความเอาใจใส่เป็นพิเศษ ก็เป็นอารัมมณาธิปติปัจจัย อาจทำให้
ราคะ ทิฏฐิ ได้ ราคะ ทิฏฐิ คืออกุสลจิตที่เกิดขึ้นโดยอารมณ์เหล่านี้ เป็นอารัมมณา
ธิปติปัจจยุบบัน

(๓) กุสลเป็นปัจจัยแก่ อพยากตะ กุศล คือ อรหัตตมัคคจิต ๑ เป็นอารัมมณา
ธิปติปัจจัย มหากิริยาจิต (ในปัจจเวกขณวิถี) ที่พิจารณาอรหัตตมัคคนั้น เป็นอารัมมณา
ธิปติปัจจยุบบัน

(๔) อกุสลเป็นปัจจัยแก่ อกุสล ผู้ที่เพลิดเพลินต่อราคะ ต่อทิฏฐิ โดยความเอาใจ
ใส่เป็นพิเศษ อันได้แกโลภจิต ๘ ดวงนั้น เป็นอารัมมณาธิปติปัจจัย ทำให้เกิด ราคะ
ทิฏฐิ ขึ้นอีก ราคะ ทิฏฐิ อันให้แก่โลภมูลจิต ๘ ที่เกินขึ้นอีกที่แหละ เป็นอารัมมณาธิปติ
ปัจจยุบบัน

(๕) อพยากตะเป็นปัจจัยแก่ อพยากตะ อรหัตตผลจิตก็ดี นิพพานก็ดี เป็นอา-
รัมมณาธิปติปัจจัย มหากิริยาจิต (ในปัจจเวกขณวิถี) ที่พิจารณาอรหัตตผลจิต ก็ดี
พิจารณานิพพาน ก็ดี เป็นอารัมมณาธิปติปัจจยุบบัน

(๖) อพยากตเป็นปัจจัยแก่กุสล ผลจิตเบื้องต่ำ ๓ ก็ดี นิพพาน ก็ดี เป็นอารันอารัมม-
ณาธิปติปัจจัย มหากุสลจิตของพระเสกขบุคคล ๓ ที่พิจารณา (ปัจจเวกขณะ) ผลจิตก็ดี
นิพพานก็ดี เป็นอารัมมณาธิปติปัจจยุบบัน

นิพพาน เป็นอารัมมณาธิบติปัจจัย โคตรภูของติเหตุกปุถุชน. โวทานของพระ
เสกขบุคคล ๓ อันได้แก่มหากุสลญาณสัมปยุตตจิต ๔ และมัคคจิต ๔ ของมัคคบุคคล ๔
เป็นอารัมมณาธิปติปัจจยุบบัน

(๗) อพยากตะเป็นปัจจัยเเก่อกุสล เอาใจใส่เป็นพิเศษในวัตถุ ๖, กามอารมณ์ ๕
โลกียวิบาก ๓๑ (เว้นทุกขสหคตกายวิญญาณ ๑) และกิริยาจิต ๒๐ เป็นอารัมมณาธิปติ
ปัจจัย เกิดความเฟด็เพลิ่น มี วาทะ ทิฏฐิ อันใต้นกโลกจิต ๔ ขึ้น เป็นอารันอารับมาวินาริเ
ปัจจยุบบัน

๘. ปัจจัยที่เกิดร่วมด้วยกันได้ รวม ๘ ปัจจัย คือ
๑.อารัมมณาธิปติปัจจัย ๒. อารัมมณปัจจัย
๓. วัตถารัมมณปุเรชาตนิสสยปัจจัย ๔.อารัมมณูปนิสสยปัจจัย
๕. อารัมมณปุเรชาตปัจจัย ๖. อารัมมณปุเรชาตวิปปยุตตปัจจัย
๗.อารัมมณปุเรชาตัตถิปัจจัย ๘. อารัมมณปุเรชาตอวิคคตปัจจัย

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 ธ.ค. 2024, 11:05 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8586


 ข้อมูลส่วนตัว


สหชาตาธิปติปัจจัย

๑. อธิปติ ได้แก่ ฉันทาธิปติ วิริยาธิปติ จิตตาธิปติ และ วิมังสาธิปติ
๒. ประเภท นามเป็นปัจจัย นามรูปเป็นปัจจยุบบัน
๓. ชาติ เป็นสหชาตชาติ หมายความว่า ปัจจัยธรรมและปัจยุบบันนธรรม
เกิดร่วมในจิตดวงเดียวกัน
๔. กาล เป็นได้เฉพาะในกาลที่เป็นปัจจุบัน
๕. สัตติ มีทั้ง ชนกสัตติ และ อุปถัมภกสัตติ
๖. องค์ธรรมของปัจจัยได้แก่ ฉันทเจตสิก วิริยเตสิก ปัญญาเจตสิกที่ใน สาธิปติ
ชวนะ ๕๒ (คือชวนจิต ๕๕ เว้น หสิตุปปาทจิต ๑ โมหมูลจิต ๒ จึงเหลือ ๕๒) และจิตตะ
เฉพาะสาธิปติชวนจิต ๕๒
องค์ธรรมของปัจจยุบบัน ได้แก่ สาธิปติชวนจิต ๕๒, เจดสิก ๕๐ (เว้นวิจิกิจฉา
เจตสิก ๑ และเว้นฉันทะ วิริยะ ปัญญา ในขณะที่เป็น อธิบดี ๑), จิตตชรูปที่เกิดด้วยสาธิปติ
ชวนจิต ๕๒ นั้น
องค์ธรรมของปัจจนิก ได้แก่ กามจิต ๕๔ ที่ไม่ได้เกิดร่วมกับอธิบดี, องค์ธรรมของ
อธิบดี เฉพาะองค์ที่กำลังเป็นอธิบดี, มหัคคตวิบาก ๙, จิตดชรูปที่ไม่ได้เกิดร่วมกับอธิบดี,
กัมมชรูป, อุดุชรูป, อาหารชรูป
๗. ความหมายโดยย่อ สหชาตาธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ
(๑) กุสลเป็นปัจจัยแก่กุสล กุสลอธิบดี ๔ องค์ใดองค์หนึ่งในมหากุสล ๘, มหัคค-
จิต ๔ เป็นสหชาตาธิปติปัจจัย นามขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตตด้วยกุสลอธิบดีนั้น อันได้แก่
กุสลจิต ๒๑ เป็นสหชาตาธิปติปัจจยุบบัน
(๒) กุสลเป็นปัจจัยแก่อพยากตะ กุสลอธิบดี ๔ องใดองค์หนึ่งในกุสลจิต ๒๑ เป็น
สหชาตาธิปติปัจจัย กุสลสาธิปตีจิตตชรูป เป็นสหขาตาธิปติปัจยุบบัน
(๓) กุสลเป็นปัจจัยแก่กุสลด้วยแก่อพยากตะด้วย กุสลอธิบดี ๔ องค์ใดองค์หนึ่งใน

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 ธ.ค. 2024, 12:56 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8586


 ข้อมูลส่วนตัว


กุสลจิต ๒๑ เป็นสหชาตาธิปติปัจจัย กุสลจิต ๒๑ ด้วย และกุสลสาธิปติจิตตชรูปด้วย
เป็นสหชาตาธิปติปัจจยุบบัน

(๔) อกุสลเป็นปัจจัยแก่อกุสล อธิบดี ๓ (วันมังสาธิบติ ๓) องค์ใดองค์หนึ่ง ในโลภ
มูล ๘ โทสมูล ๒ เป็นสหชาตาธิปติปัจจัย นามขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตตด้วยตอกุสลอธิบดี
นั้น อันได้แก่ โลภมูลจิต ๘ โทสมูลจิต ๒ เป็นสหชาตาธิปติปัจจยุบบัน

(๕) อกุสลเป็นปัจจัยแก่อพยากตอธิบดี ๓ องค์ใดองค์หนึ่งในอกุสลจิต ๑๐
เป็นสหชาตาธิปติปัจจัย ๑๐ นั้น จิตตชรูปที่เกิดร่วมด้วยอกุสลจิต ๑๐ ดวง นั้น เป็นสหชาตาธิปติ
ปัจจยุบบัน

(๖) อกุสลเป็นปัจจัยแก่อกุสลด้วยแก่อพยากตะด้วย อกุสลอธิปติที่ ๓ องที่ใดองค์องค์หนึ่ง
ในอกุสลจิต ๑๐ เป็นสหชาตาธิปติปัจจัย อกุสลจิต ๑๐ คือ โลภมูลจิต ๘ โทสมูลจิต ๒
และ อกุสลสาธิปติจิตตชรูปด้วย เป็นสหชาตาธิปติปัจจยุบบัน

(๗) อพยากตะเป็นปัจจัยแก่อพยากตะ อธิบดี ๔ องค์ใดองค์หนึ่งที่ในสเหตุกกิริยาจิต
๑๗ ที่ในผลิต ๔ เป็นสหชาตาธิปติปัจจัย สเหตุกกิริยา ๑๗ ผลจิต ๔ และอพยากต
สาธิปติจิตตชรูป เป็นสหชาตาธิปติปัจจยุบบัน

๘. ปัจจัยที่เกิดร่วมด้วยกันได้ รวม ๑๓ ปัจจัย คือ
๑. สหชาตาธิปติปัจจัย ๒. เหตุปัจจัย
๓. สหชาตปัจจัย ๔. อัญญมัญญปัจญัย
๕.สหชาตนิสสยปัจจัย ๖.วิปากปัจจัย
๗. นามอาหารปัจจัย ๘. สหชาตินทริยปัจจัย
๙. มัคคปัจจัย ๑๐. สัมปยุตตปัจจัย
๑๑ สหชาตวิปปยุตตปัจจัย ๑๒. สหชาตัตถิปัจจัย
๑๓. สหชาตอวิคตบัจจัย

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 4 โพสต์ ] 

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร