วันเวลาปัจจุบัน 28 ก.ค. 2025, 16:23  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


“อภิธรรม (สันสกฤต: abhidharma) หรืออภิธัมมะ (บาลี: abhidhamma) เป็นชื่อปิฎกศาสนาพุทธฉบับหนึ่งในปิฎกทั้งสามฉบับที่รวมเรียก "พระไตรปิฎก" อภิธรรมแปลว่าธรรมอันยิ่ง ปิฎกฉบับอภิธรรมนั้นเรียก "พระอภิธรรมปิฎก" ซึ่งว่าด้วยประมวลหลักธรรมและคำอธิบายที่เป็นหลักวิชาล้วนๆ ไม่มีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์และบุคคลเลย”



กลับไปยังกระทู้  [ 7 โพสต์ ]    Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 ธ.ค. 2024, 03:37 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8588


 ข้อมูลส่วนตัว




FB_IMG_1727309334142.jpg
FB_IMG_1727309334142.jpg [ 51.69 KiB | เปิดดู 1040 ครั้ง ]
๘. นิสสยปัจจัย

นิสสยปัจจัยนี้ จำแนกออกได้เป็น ๓ คือ
ก. ปัจจัยธรรมนั้นช่วยอุปการะให้ปัจจยุบบันธรรมเกิดขึ้นพร้อมกับตนด้วย และ
ปัจจัยธรรมนั้นเป็นที่อิงอาศัยให้ปัจจยุบบันธรรรมตั้งมั่นอยู่ด้วย อย่างนี้ชื่อว่า สหชาตนิสสย
ปัจจัย
ข. ปัจจัยธรรม คือ วัตถุที่เกิดก่อนปัจจยุบบันธรรม และยังไม่ทันดับไปนั้น ได้
ช่วยอุปการะโดยเป็นที่อิงอาศัยให้ปัจจยุบบันนธรรมเกิดขึ้นด้วยให้ตั้งมั่นอยู่ด้วย อย่างชื่อว่า
วัตถุปุเรชาตนิสสยปัจจัย
ค. ปัจจัยธรรม หมายเฉพาะ หทยวัตถุ (อย่างดียว) ที่เกิดก่อนปัจจุบัน
ธรรม และยังไม่ทันดับไปนั้น เป็นอารมณ์ด้วย ช่วยอุปการะโดยเป็นที่อิงอาศัยให้ปัจจยุบบัน
ธรรมเกิดขึ้นด้วย ให้ตั้งมั่นอยู่ด้วย อย่างนี้ชื่อว่า วัตถารัมมณปุเรชาตนิสสยปัจจัย
เพื่อให้เห็นความแตกต่างกันระหว่าง ๓ ปัจจัยนี้ จึงขอกล่าวอีกนัยหนึ่งตามลักษณะ
ของปัจจัย คือ

๑. สหชาตนิสสยปัจจัย มีลักษณะ ๒ ประการ
ก. สหชาต หมายความว่า ปัจจัยธรรมกับปัจจยุบบันนธรรมนั้นเกิดพร้อมัน
ข. นิสสยะ หมายความว่า ปัจจัยธรรมเป็นที่อาศัย เป็นที่อิงอาศัยแห่งปัจจยุบ"
บันนธรรม โดยอาการตั้งมั่นด้วย

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 ธ.ค. 2024, 04:17 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8588


 ข้อมูลส่วนตัว


๒. วัตถุปุเรชาตนิสสยปัจจัย มีลักษณะ ๓ ประการ
ก. วัตถุ หมายความว่า เป็นที่ตั้งของปัจจยุบบันธรรม อันได้แก่ วัตถุ ๖ มี
จักขุวัตถุเป็นต้น หทยวัตถุเป็นที่สุด
ข ปุเรชาต หมายความ ปัจจัยธรรม (คือ วัตถุ ๖) นั้นเกิดก่อนปัจจยุบบันน
ธรรมด้วย
ค. นิสสยะ หมายความว่า ปัจจัยธรรม (คือ วัตถุ ๖) นั้นเป็นที่อาศัยเป็นที่อิง
อาศัยแห่งปัจจยุบบันนธรรม โดยอาการตั้งมั่นด้วย
๓. วัตถารัมมณปุเรชาตนิสสยปัจจัย มีลักษณะ ๔ ประการ
ก. วัตถุ หมายความว่าเป็นที่ตั้งของปัจจยุบบันธรรม ในที่นี้ได้แก่หทยวัตถุ โดย
เฉพาะ
ข. อารัมมณะ หมายความว่า ปัจจัยธรรม (คือ หทยวัตถุ) นั้นเป็นอารมณ์ของ
ปัจจยุบบันนธรรมด้วย
ค. ปุรชาต หมายความว่า ปัจจัยธรรม (คือททยวัตถุ) นั้นเกิดก่อนปัจจยุบ-
บันนธรรมด้วย
ง. นิสสยะ หมายความว่า ปัจจัยธรรม (คือ หทยวัตถุ) เป็นที่อาศัยเป็นที่
อิงอาศัยแห่งปัจจยุบบันนธรรม โดยอาการตั้งมั่นด้วย
สหชาตนิสสยปัจจัย

๑. สหชาตนิสสยะ หมายความว่า เป็นที่อิงอาศัยกันเพราะความที่เกิดพร้อมกัน
๒. ประเภท นามรูป เป็นปัจจัย นามรูป เป็นปัจจยุบบัน
๓. ชาติ เป็นสหชาตชาติ
๔. กาล เป็นปัจจุบันกาล
๕. สัตติ มีทั้ง ชนกสัตติ และอุปถัมภกสัตติ
๖. องค์ธรรม
๗. ความหมายโดยย่อ
๘. ปัจจัยที่เกิดร่วมด้วยกันได้

เหมือนกับสหชาตปัจจัยทุกประการ

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 ธ.ค. 2024, 04:47 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8588


 ข้อมูลส่วนตัว


วัตถุปุเรชาตนิสสยปัจจัย

๑. วัตถุปุเรชาต หมายความว่า วัตถุ ๖ ที่เกิดก่อน
๒. ประเภท รูปเป็นปัจจัย นามเป็นปัจจยุบบัน
๓. ชาติ เป็น วัตถุปุเรขาตชาติ หมายความว่า ปัจจัยธรรมซึ่งช่วย
อุปการะแก่ปัจจยุบบันนธรรมนั้น โดยการที่เป็นที่ตั้งด้วย และโดยการที่เกิดก่อนด้วย
๔. กาล เป็นกาลปัจจุบัน หมายความว่า แม้ปัจจัยธรรมจะเกิดก่อน
แต่ก็ยังไม่ทันดับไป คือยังอยู่ในระหว่าง ฐิติขณะ ยังไม่ทันถึงภังงคขณะ
๕. สัตติ มีทั้ง ชนกสัตติ และอุปถัมภกสัตติ
๖. องค์ธรรมของปัจจัย ได้แก่ วัตถุ ๖ คือ จักขุวัตถุ โสตวัตถุ ฆานวัตถุ
ชิวหาวัตถุ กายวัตถุ และหทยวัตถุ ที่เกิดก่อนปัจจยุบบัน

องค์ธรรมของปัจจยุบบัน ได้แก่ จิต ๘๕ (วันอรูปวิบาก ๔) ทั้งที่แน่นอนและไม่
แน่นอน ในปัญจโวการภูมิ ที่เป็นปวัตติกาล

องค์ธรรมของปัจจนิก ได้แก่ โลภมูลจิต ๘, โมหมูลจิต ๒, มโนทวารา-
วัชชนจิต ๑, มหากุสลจิต ๘, มหากิริยาจิต ๘, อรูปจิต ๑๒ และโลกุตตรจิต ๗ (เว้น
สตาปัตติมัคคจิต ๑) รวมจิต ๔๖ ดวง ทั้งที่แน่นอนและไม่แน่นอน, ปัญจโวการปฏิสนธิ
๑๕ และ รูปทั้งหมด

ที่ว่าทั้งที่แน่นอนและไม่แน่นอนนั้น เรื่องนี้ได้แสดงไว้ในปริจเฉทที่ ๓ ตอนวัตถุ
สังคหะแล้ว แต่เพื่อทบทวนความจำ จึงขอกล่าวซ้ำในที่นี้อีก ว่า

(๑) ปัจจยุบบันนธรรมที่แน่นอน ได้แก่ โทสมูลจิต ๒, อเหตุกจิต ๑๗ (เว้น
มโนทวาราวัชชนจิต ๑), มหาวิบาก ๘, รูปาวจรจิต ๑๕ และโสตาปัตติมัคคจิต ๑ รวม
๔๓ ดวงนี้ต้องอาศัยวัตถุเกิดอย่างแน่นอน

(๒) ปัจจตุบบันมธรรมที่ไม่เน่นอน ได้แก่ โลภมูลจิต ๘, โมหมูลจิต ๒, มโน-
ทวารารัชชนจิต ๑, มหากุสลจิต ๔, มหากิริยาจิต ๘, อรูปกุสลจิต ๔, อรูปกิริยาจิต ๔
และ โลกุตตรจิต ๗ (เว้นโสตาปัตติมัคคจิต ๑) รวมใด ๔๒ ดวงนี้ ถ้าเกิดในปัญจโวการ
ภูมิ ก็ต้องอาศัยวัตถุเถิด ถ้าเกินจตุโวการภูมิใม่ต้องอาศัยวัตถุ ก็เกิดได้

(๓) ปัจจนิกธรรมที่แน่นอน ได้แก่ อรูปวิบากจิต ๔ และรูปทั้งหมดซึ่งเกิดขึ้นได้
โดยไม่ต้องอาศัยวัตถุ จึงเป็นปัจจนิกธรรมที่แน่นอน

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 ธ.ค. 2024, 05:32 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8588


 ข้อมูลส่วนตัว


(๔) ปัจจนืกธรรมที่ในแน่นอน ก็คือจิต ๔๒ ดวงตามข้ (๒) นั่นเอง ซึ่งจิต ๔๒
ดวงนี้เกิดในปัญจโวการภูมิ ก็เป็นปัจยุบบันนธรรม ถ้าเกิดในจตฺโวการภูมิ ก็เป็นปัจจนิกธรรมไป
จึงว่าไม่แน่นอน
๗. ความหมายโดยย่อ วัตถุปุเรชาตนิสสยปัจจัยนี้ มี ๓ วาระ คือ
(๑) อพยากตะเป็นปัจจัยแก่อพยากตะ วัตถุ ๖ ที่เกิดก่อน เป็นวัตถุปุเรชาตนิสสย
ปัจจัย วิบากจิต ๓๒ (เว้นอรูปวิบาก ๔), กิริยาจิต ๒๐ ที่เกิดทีหลังวัตถุ ๖ นั้น เป็น
วัตถุปุเรชาตนิสสยปัจจยุบบัน เช่น
วัตถุ ๕ มีจักขวัตถุเป็นต้น เป็นวัตถุปุเรชาตนิสสยปัจจัย ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐
มีจักขุวิญญาณเป็นต้น เป็นวัตถุปุเรชาตนิสสสยปัจยุบบัน
หทยวัตถุ ที่เกิดพร้อมกับจิตดวงที่เกิดก่อน ๆ มีปฏิสนธิจิตเป็นต้นเป็นวัตถุปุเร
ชาตนิสสยปัจจัย วิบากจิต ๒๒ (เว้นทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ อรูปวิบาก ๔) เป็นวัตถุ
ปุเรชาตนิสสยปัจจยุบบัน
หทยวัตถุ ที่เกิดอยู่ก่อนเวลาที่จะออกจากนิโรธสมาบัตินั้น เป็นวัตถุปุเรชาตนิสสย
ปัจจัย อนาคามิผลจิต ๑ อรหัตตผลจิต ๑ ที่เกิดขึ้นในขณะอออกจากนิโรธสมาบัตินั้น เป็น
วัตถุปุเรชาตนิสสยปัจจยุบบัน
วัตถุ ๖ ที่เกิดพร้อมกับจิตดวงที่นับถอยหลังจากจุติจิตไป ๑๗ ขณะ เป็นวัตถุ
ปุรชาตนิสสยปัจจัย จิตที่เกิดพร้อมกับวัตถุ ๖ ที่เหลือ ๑๖ ขณะ อันได้แก่ โลกียวิบากจิต
๒๘ (เว้นอรูปวิปาก ๔), กิริยาจิต ๒๐ เป็นวัตถุปุเรชาตนิสสยปัจจัย
(๒) อพยากตะเป็นปัจจัยแก่iกุลล หทยวัตถุที่เกิดพร้อมกับจิตดวงก่อน ๆ มีอา-
วัชชนจิตป็นต้น เป็นวัตถุปรชาตนิสสยปัจจัย กุสลนามขันธ์ ๔ อันใต้แก่ กุสลจิต ๒๑
ที่เกิดทีหลัง เป็นวัตถุปุเรชาดนิสสยปัจจยุบบัน
หทยวัตถุที่เกิดพร้อมกับจิตดวงที่นับกอยหลังจดีจิตไป ๑๗ ขณะ เป็นวัตถุปูปราต-
นิสสยปัจจัย มรณาสันนกุสลชวนะ อันได้แกโลกียกุสลจิต ๑๗ เป็นวัตถุปุเรชาตนิสสย-
ปัจจยุบบัน
(๓) อพยากตะ เป็นปัจจัยแก่อกุสล หทยวัตถุที่เกิดพร้อมกับจิตดวงก่อน ๆ มี
อาวัชชนจิตป็นต้น เป็นวัตถุปุเรชาตนิสสยปัจจับ อกุสลนามขันธ์ ๔ อันได่แก่อกุสลจิต
๑๒ เป็นวัตถุปุเรชาตนิสสยปัจจยุบบัน

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 ธ.ค. 2024, 07:03 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8588


 ข้อมูลส่วนตัว


หทยวัตถุ ที่เกิดพร้อมกับจิตดวงที่นับถอยหลังจากจุติจิตไป ๑๗ ขณะ เป็นวัตถุ
ปุเรชาตนิสสยปัจจัย มรณาสันนอกุสลชวนะ อันได้แก่ อกุลลจิต ๑๒ เป็นวัตถุปุเรชาต
นิสสยปัจจยุบบัน

๘. ปัจจัยที่เกิดร่วมด้วยกันได้ รวม ๘ ปัจจัย คือ
๑. วัตถุปุเรชาตนิสสยปัจจัย ๒. อารัมมณาธิปติปัจจัย
๓. อารัมมณธิปติปัจจัย ๔. อารัมมณูนิสสยปัจจัย
๕. วัตถุปุเรชาตปัจจัย ๖. วัตถุปุเรชาตวิปปยุตตปัจจัย
๗. วัตถุปุเรชาตัตถิปัจจัย ๘. วัตถุปุเรชาตอวิคตปัจจัย
อนึ่ง ในนิสสยปัจจัยนี้ มีการแสดงอีกนัยหนึ่ง โดยรวมสหชาตนิสสยปัจจัยกับ
วัตถุปุเรชาตนิสสยปัจจัย เข้าด้วยกัน และเรียกว่า มีสสกบทนี้จำแนกเป็น ๒ ,
วาระ คือ
ก กุสลด้วยอพยากตะด้วย เป็นปัจจัยแก่กุสล โดยอำนาจแห่งสหชาตนิสสยปัจจัย
และวัตถุปุเรชาตนิสสยปัจจัย
มีความหมายว่า กุสลจิต ๒๑ คือ กุสลนามขันธ์ ๔ ขันธ์ใดขันธ์หนึ่งและหทย
วัตถุที่เกิดพร้อมกับจิตดวงก่อน ๆ เป็นสหชาตนิสสยและวัตถุปุเรชาตนิสสยปัจจัย กุสล
ขันธ์ที่เหลือเป็นสหชาตนิสลยและวัตถุปุเรชาตนิสสสยปัจยุบบัน
ข. อกุสลด้วย อพยากตะด้วย เป็นปัจจัยแก่อกุสล โดยอำนาจแห่งสหชาตนิสสย
ปัจจัยและวัตถุปุเรชาตนิสสยปัจจัย

มีความหมายว่า อกุสลจิต ๑๒ คือ อกุสลนามขันธ์ ๔ ขันธใดขันธ์หนึ่ง และ
หทยวัตถุที่เกิดพร้อมกับจิตดวงก่อน ๆ เป็นสหชาตนิสสยและวัตถุปุเรชาตนิสสยปัจจัย อกุสล
นามขันธ์ที่เหลือ เป็นสทชาตนิสวยและวัตถุปเรชาตนิสสยปัจยุบบัน

ทั้ง ๒ วาระนี้ จะยกขันธ์เดียว หรือ ๒ ขันธ์ หรือ ๓ ขันธ์ เป็นปัจจัยก็ตาม
ขันธ์ที่เหลือเท่าไรก็ตามก็เป็นปัจจยุบบันเสมอไป

วัตถารัมมณปุเรชาตนิสสยปัจจัย
๑. วัตถารัมมณปุเรชาต หมายความว่า หทยวัตถุที่เกิดก่อน ซึ่งเป็นอารมณ์ด้วยนั้น
เป็นที่ตั้งที่อาศัยแก่จิตที่เกิดทีหลัง
วัตถารัมมณปุเรชาตนิสสยปัจจัย ได้แก่แทยวัตถุที่เกิดในมรณา
สันนวิถีที่มีลักษณะครบทั้ง ๔ คือ เป็นวัตถุที่เกิดด้วย เป็นอารมณ์ด้วย เกิด
ก่อนด้วย และเป็นที่อาศัยให้เกิดจิตและเจตสิกในมรณาสันนวิถีด้วย เพราะ
ในระหว่างนี้กัมมชรูปทุก ๆ อย่างไม่เกิดขึ้น มีแต่ดับไปจนถึงจุติจิตก็ดับ
พร้อมกับจุติจิตพอดี แม้จิตทุกดวงที่เกิดในวิถีจิตนี้ ก็ต้องอาศัยททยวัตถุ
ที่เกิดพร้อมกับจิตตวงที่ ๑๗ ที่นับถอยหลังจากจุติจิตขึ้นไปเป็นที่เกิดรูปเดียว
เป็นวัตถารัมมณปุเรชาตนิสสยปัจจัย ตามโบราณาจารย์กล่าวไว้ แต่เกจิ
อาจารย์มีความเห็นว่า หทยวัตถุที่เป็นวัตถุด้วยเป็นอารมณ์ด้วย มิไช่มีแต่
เพียงในมรณาสันนวิถีเท่านั้น เพราะว่าในยามปกติบุคคลบางคนอาจ
พิจารณาหทยวัตถุด้วยสติสัมปชัญญะก็มี หรือนึกคิดด้วยด้วยตัณหา มานะ ทิฏฐิ
โทสะโมกะ ก็มี เพราะฉะนั้นหทยวัตถุที่กำลังตั้งอยู่เป็นฐีติปัตตะในปวัตติกาล
ย่อมเป็นอารัมมณปุเรซาตปัจจัยได้ แต่เป็นวัตถารัมมาณปุเรชาตนิสสยปัจยไม่ได้

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 ธ.ค. 2024, 07:24 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8588


 ข้อมูลส่วนตัว


หทยวัตถุ ที่เกิดพร้อมกับจิตดวงที่นับถอยหลังจากจุติจิตไป ๑๗ ขณะ เป็นวัตถุ
ปุเรชาตนิสสยปัจจัย มรณาสันนอกุสลชวนะ อันได้แก่ อกุลลจิต ๑๒ เป็นวัตถุปุเรชาต
นิสสยปัจจยุบบัน

๘. ปัจจัยที่เกิดร่วมด้วยกันได้ รวม ๘ ปัจจัย คือ[/b]
๑. วัตถุปุเรชาตนิสสยปัจจัย ๒. อารัมมณาธิปติปัจจัย
๓. อารัมมณธิปติปัจจัย ๔. อารัมมณูนิสสยปัจจัย
๕. วัตถุปุเรชาตปัจจัย ๖. วัตถุปุเรชาตวิปปยุตตปัจจัย
๗. วัตถุปุเรชาตัตถิปัจจัย ๘. วัตถุปุเรชาตอวิคตปัจจัย
อนึ่ง ในนิสสยปัจจัยนี้ มีการแสดงอีกนัยหนึ่ง โดยรวมสหชาตนิสสยปัจจัยกับ
วัตถุปุเรชาตนิสสยปัจจัย เข้าด้วยกัน และเรียกว่า มีสสกบทนี้จำแนกเป็น ๒ ,
วาระ คือ
ก กุสลด้วยอพยากตะด้วย เป็นปัจจัยแก่กุสล โดยอำนาจแห่งสหชาตนิสสยปัจจัย
และวัตถุปุเรชาตนิสสยปัจจัย
มีความหมายว่า กุสลจิต ๒๑ คือ กุสลนามขันธ์ ๔ ขันธ์ใดขันธ์หนึ่งและหทย
วัตถุที่เกิดพร้อมกับจิตดวงก่อน ๆ เป็นสหชาตนิสสยและวัตถุปุเรชาตนิสสยปัจจัย กุสล
ขันธ์ที่เหลือเป็นสหชาตนิสลยและวัตถุปุเรชาตนิสสสยปัจยุบบัน
ข. อกุสลด้วย อพยากตะด้วย เป็นปัจจัยแก่อกุสล โดยอำนาจแห่งสหชาตนิสสย
ปัจจัยและวัตถุปุเรชาตนิสสยปัจจัย

มีความหมายว่า อกุสลจิต ๑๒ คือ อกุสลนามขันธ์ ๔ ขันธใดขันธ์หนึ่ง และ
หทยวัตถุที่เกิดพร้อมกับจิตดวงก่อน ๆ เป็นสหชาตนิสสยและวัตถุปุเรชาตนิสสยปัจจัย อกุสล
นามขันธ์ที่เหลือ เป็นสทชาตนิสวยและวัตถุปเรชาตนิสสยปัจยุบบัน

ทั้ง ๒ วาระนี้ จะยกขันธ์เดียว หรือ ๒ ขันธ์ หรือ ๓ ขันธ์ เป็นปัจจัยก็ตาม
ขันธ์ที่เหลือเท่าไรก็ตามก็เป็นปัจจยุบบันเสมอไป

วัตถารัมมณปุเรชาตนิสสยปัจจัย

๑. วัตถารัมมณปุเรชาต หมายความว่า หทยวัตถุที่เกิดก่อน ซึ่งเป็นอารมณ์ด้วยนั้น
เป็นที่ตั้งที่อาศัยแก่จิตที่เกิดทีหลัง

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 ธ.ค. 2024, 07:30 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8588


 ข้อมูลส่วนตัว


๒. ประเภท รูปเป็นปัจจัย นามเป็นปัจจยุบบัน
๓. ชาติ เป็นอารัมมณชาติ หมายความว่า ปัจจัยธธรรม ซึ่งช่วยอุปการะ
แก่ปัจจยุบบันนธรรมนั้นได้แก่ อารมณ์นั่นเอง
๔. กาล เป็นการปัจจุบัน หมายความว่า ปัจจัยธรรมนั้นยังอยู่ในระหว่าง
ฐีคิขณะ ยังไม่ถึง ภังคขณะ
๕. สัตติ มีทั้ง ชนกสัตติ และอุปถัมภกสัตติ
๖. องค์รรมของปัจชัย ได้แก่ หทยวัตยวัตถุที่เกิดพร้อมกับจิตดวงที่นับหลัง
จากจุติจิตไป ๑๗ ขณะ
องค์ธรรมของปัจยุบบัน ได้แก่ จิตที่เหลืออีก ๑๖ ขณะนั้น คือ มโนทราวัช-
ชนจิต ๑, กามชวนจิต ๒๙, ตทาลัมพนจิต ๑๑ และ อภิญญาจิต ๒ (เฉพาะอิทธิวิธ
อภิญญาเท่านั้น) ขณะที่เอาหทยวัตถุเป็นอารมณ์

องค์ธรรมของปัจจนิก ได้แก่ จิต ๘๙ ในเวลาที่ไม่ได้เอาททยวัตปืนอารมณ์ และ
รูปทั้งหมด
๗. ความหมายโดยย่อ วัตถารัมมณปุเรชาตนิสสยปัจจัยนี้ มี ๓ วาระ
(๑) อพยากตะเป็นปัจจัยแก่อพยากตะ ททยวัตถุที่เกิดพร้อมกับจิตดวงที่นับถอยหลัง
จากจุติจิตไป ๑๗ ขณะ เป็นปัจจัย จิตที่เหลืออีก ๑๖ ขณะ (เว้นกุสลชวนะและอกุลลชวนะ)
อันได้แก่ มโนทวาราวัชชนจิต ๑, หสิตุปาทจิต ๑, มหากิริยาจิต ๘, ตทาลัมพนจิต ๑
และ อิทธิวิธอภิญญากิริยาจิต ๑ เป็นปัจจยุบบัน
(๒) อพยากตะเป็นปัจจัยแก่กุสล หทยวัตถุที่เกิดพร้อมกับจิตดวงที่นับถอยหลังจาก
จุติจิตไป ๑๗ ขณะ เป็นปัจจัย มรณาสันกุสลชวนจิต ๕ ขณะ อันได้แก่ มหากุสจิต
๘ และ อิทธิวิธอภิญญากุสลจิต ๑ เป็นปัจจยุบบัน
(๓) อพยากตะเป็นปัจจัยแก่อกุลล หทยวัตถุที่เกิดพร้อมกับจิตดวงที่นับหลัง
จากจุติจิตไป ๑๗ ขณะ เป็นปัจจัย มรณาสันนอกุสลชวนจิต ๕ ขณะ อันได้แก่อกุสลจิต
๑๒ เป็นปัจจยุบบัน

๘. ปัจจัยที่เกิคร่วมด้วยกันได้ รวม ๘ ปัจจัย คือ
๑. วัตถารัมมณปุเรชาตนิสสยปัจจัย. ๒. อารัมณปัจจัย
๓. อารัมมณาธิปติปัจจัย. ๔. อารัมมณูปนิสสยปัจจัย
๕. อารัมมณปุเรชาตปัจจัย ๖. วัตถารัมมณปุเรชาตวิปปยุตตปัจจัย
๗. วัตถารัมมณปุเรชาตัตถิปัจจัย ๘. วัตถารัมมณปุเรชาตอวิคตปัจจัย

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 7 โพสต์ ] 

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร