วันเวลาปัจจุบัน 20 ก.ค. 2025, 06:35  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 59 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ก.พ. 2010, 10:39 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ชื่อกระทู้
อ้างคำพูด:
(เหตุใดพระพุทธเจ้าจึงเรียก ร่างกายว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง)

...แต่ตถาคตเรียก ร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง

(...ตถาคตเรียกร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง ปุถุชนผู้มิได้สดับ ไม่อาจเบื่อหน่าย คลายกำหนัด หลุดพ้นในจิต เป็นต้นนั้นได้เลย ฯลฯ)



ข้อ ๒๓๐ คนดีที่โลกลืม (พลศักดิ์) ตัดมาเท่าที่อ้างอิง แล้วมาอธิบาย(ตอบ) ตีความเองตามที่ปรากฏ

อยู่แล้วนั้น ซึ่งเป็นคนละเรื่องละราวกันเลยทีเดียว

ตั้งข้อสังเกตไว้อีกทีที่ข้อ ๒๓๐-๒๓๑ (ตัวละคร) ปุถุชนผู้มิได้สดับ

ส่วนข้อ ๒๓๓-๒๓๔ (ตัวละคร) อริยสาวกผู้ได้สดับ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แก้ไขล่าสุดโดย กรัชกาย เมื่อ 26 ก.พ. 2010, 10:43, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ก.พ. 2010, 10:58 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


sirisuk เขียน:
มหาวรรคที่ ๗
๑. อัสสุตวตาสูตรที่ ๑


[๒๓๐] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้-
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของท่าน
อนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี ณ ที่นั้นแล พระผู้มีพระภาคตรัสเรียก
ภิกษุทั้งหลายว่า ... ดูกรภิกษุทั้งหลาย ปุถุชนผู้มิได้สดับ จะพึงเบื่อหน่ายบ้าง
คลายกำหนัดบ้าง หลุดพ้นบ้าง ในร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ ข้อ
นั้นเพราะเหตุไร เพราะเหตุว่า ความเจริญก็ดี ความเสื่อมก็ดี การเกิดก็ดี การตาย
ก็ดี ของร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ ย่อมปรากฏ ปุถุชนผู้มิได้สดับ
จึงเบื่อหน่ายบ้าง คลายกำหนัดบ้าง หลุดพ้นบ้าง ในร่างกายนั้น แต่ตถาคตเรียก
ร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง

ปุถุชนผู้มิได้สดับ ไม่อาจเบื่อหน่าย คลายกำหนัด หลุดพ้นในจิต เป็นต้นนั้นได้
เลย ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะว่าจิตเป็นต้นนี้ อันปุถุชนมิได้สดับ รวบรัดถือ
ไว้ด้วยตัณหา ยึดถือด้วยทิฐิว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตัวตนของเรา
ดังนี้ ตลอดกาลช้านานฉะนั้น ปุถุชนผู้มิได้สดับ จึงไม่อาจจะเบื่อหน่าย คลาย
กำหนัด หลุดพ้นในจิตเป็นต้นนั้นได้เลย ฯ

[๒๓๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ปุถุชนผู้มิได้สดับ จะพึงเข้าไปยึดถือเอา
ร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูต ๔ นี้ โดยความเป็นตน ยังชอบกว่า แต่จะ
เข้าไปยึดถือเอาจิตโดยความเป็นตนหาชอบไม่ ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะร่างกาย
อันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ เมื่อดำรงอยู่ ปีหนึ่งบ้าง สองปีบ้าง สามปี
บ้าง สี่ปีบ้าง ห้าปีบ้าง สิบปีบ้าง ยี่สิบปีบ้าง สามสิบปีบ้าง สี่สิบปีบ้าง ห้าสิบปี
บ้าง ร้อยปีบ้าง ยิ่งกว่าร้อยปีบ้าง ย่อมปรากฏ แต่ว่าตถาคตเรียกร่างกายอันเป็น
ที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง
จิตเป็นต้นนั้น
ดวงหนึ่งเกิดขึ้น ดวงหนึ่งดับไป ในกลางคืนและกลางวัน ฯ

[๒๓๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย วานรเมื่อเที่ยวไปในป่าใหญ่จับกิ่งไม้ ปล่อย
กิ่งนั้น ยึดเอากิ่งอื่น ปล่อยกิ่งที่ยึดเดิม เหนี่ยวกิ่งใหม่ต่อไป แม้ฉันใด ร่างกาย
อันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ ที่ตถาคตเรียกว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณ
บ้าง
จิตเป็นต้นนั้นดวงหนึ่งเกิดขึ้น ดวงหนึ่งดับไป ในกลางคืนและกลางวัน ก็ฉัน
นั้นแล ฯ

[๒๓๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้สดับ ย่อมใส่ใจโดยแยบคาย
ด้วยดีถึงปฏิจจสมุปบาทธรรม ในร่างกายและจิตที่ตถาคตกล่าวมานั้นว่า เพราะเหตุ
ดังนี้ เมื่อสิ่งนี้มี สิ่งนี้จึงมี เพราะสิ่งนี้เกิดขึ้น สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น เมื่อสิ่งนี้ไม่มี
สิ่งนี้จึงไม่มี เพราะสิ่งนี้ดับ สิ่งนี้จึงดับ คือ เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขาร
เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป
เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ
เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา เพราะ
ตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ เพราะภพ
เป็นปัจจัย จึงมีชาติ เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงมีชราและมรณะ โสกปริเทวทุกข-
*โทมนัสและอุปายาส ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ ย่อมมีด้วยประการอย่างนี้
อนึ่ง เพราะอวิชชาดับด้วยสำรอกโดยไม่เหลือ สังขารจึงดับ เพราะสังขารดับ
วิญญาณจึงดับ ฯลฯ ความดับแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ ย่อมมีด้วยประการอย่างนี้ ฯ

[๒๓๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับ มาพิจารณาอยู่อย่างนี้
ย่อมหน่ายแม้ในรูป ย่อมหน่ายแม้ในเวทนา ย่อมหน่ายแม้ในสัญญา ย่อมหน่าย
แม้ในสังขารทั้งหลาย ย่อมหน่ายแม้ในวิญญาณ เมื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด
เพราะคลายกำหนัดจึงหลุดพ้น เมื่อหลุดพ้นแล้ว ก็เกิดญาณหยั่งรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว
ย่อมทราบชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว
กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี ดังนี้แล ฯ

จบสูตรที่ ๑

http://www.84000.org/tipitaka/book/v.ph ... 519&Z=2566



ยกเต็มๆสูตรมาอีกทีต้องการให้ดูตรงที่คุณ sirisuk เน้นไว้

แล้วได้ตั้งข้อสังเกตไว้ ดังนี้

อ้างคำพูด:

ก็จะไม่หลงได้อย่างไรค่ะ...

คุณกรัชกายพูดถึงเรื่อง...ตัวตน...ว่าถือเอาร่างกายเป็นตัวตน ยังดีกว่าถือจิตว่าเป็นตัวตน เพราะ...

ส่วนคุณคนดีที่โลกลืมพูดถึงเรื่อง...ร่างกาย = จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง

ก็เลยกลับตาลปัตต์กันไงค่ะ.

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ก.พ. 2010, 11:04 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ข้อมูลปลีกย่อยคิดว่าครบแล้วครับ

ต่อไปเชิญคนดีที่โลกลืม หรือคุณพลศักดิ์ และคุณ sirisuk ร่วมสนทนาสูตรนี้ด้วยกัน :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ก.พ. 2010, 11:46 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 5
สมาชิก ระดับ 5
ลงทะเบียนเมื่อ: 10 ก.พ. 2010, 13:35
โพสต์: 355

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:

คุณตัดพระสูตรมาเท่าที่เห็น (เน้นสีแดง) แล้วคุณก็มาพร่ำตอบอย่างที่เห็น กรัชกายก็คิดว่า คุณนำคำตอบนั้นมาจากหนังสืออื่น ซึ่งมีขายตามท้องตลาด จึงแนะนำให้เอาไปเผา แต่ไม่ใช่ ความเห็นของคุณเองทั้งนั้น

เมื่อกรัชกายรู้อย่างนี้ จึงให้เก็บหนังสือไว้ (หลังจากเห็นสูตรเต็มๆ) แล้วแนะนำให้คุณไปเผาตัวตายแทน ไม่มีอะไรซับซ้อน :b1:


เหตุใดคุณกรัชกาย ผู้แนะนำให้นำพระสูตรของพระพุทธเจ้าไปเผา ไม่แนะนำตัวเอง(กรัชกาย)ให้เผาตัวเองล่ะ ดันมาทะลึ่งแนะนำผมให้เผาตัวเอง คุณเขียนข้อความด้วยความโกรธ และความอิจฉาริษยา จึงทำการพลั้งพลาด โดยไม่ดูตาม้าตาเรือ ไปดูหมิ่นพระพุทธเจ้า

สารภาพความผิดประสาอะไรกันนี่ ไปโยนความผิดให้คนอื่น น่าอายจริงๆ

ไม่เอาน่า...อย่าคิดมาก ทำผิดแล้วกล้าสารภาพผิด ถือเป็นผู้ประเสริฐ แต่ไปโยนความผิดให้คนอื่น คุณยังกล้าดูโลกอยู่เหรอ

ไปเผาตัวเองซะกรัชกาย ไป..ไป ไปลงนรกเสียเถิดกรัชกายที่รัก ฉันจะลงโทษเธอ ไป..ไป ข้าคือยมทูต มารับตัวเธอ ไป..ไป

แต่ก่อนไป ขอเตะก้นเธอทีนึง ...... ป๊าป


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ก.พ. 2010, 12:22 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว




oba41.gif
oba41.gif [ 18.27 KiB | เปิดดู 4452 ครั้ง ]
คนดีที่โลกลืม เขียน:
กรัชกาย เขียน:

คุณตัดพระสูตรมาเท่าที่เห็น (เน้นสีแดง) แล้วคุณก็มาพร่ำตอบอย่างที่เห็น กรัชกายก็คิดว่า คุณนำคำตอบนั้นมาจากหนังสืออื่น ซึ่งมีขายตามท้องตลาด จึงแนะนำให้เอาไปเผา แต่ไม่ใช่ ความเห็นของคุณเองทั้งนั้น

เมื่อกรัชกายรู้อย่างนี้ จึงให้เก็บหนังสือไว้ (หลังจากเห็นสูตรเต็มๆ) แล้วแนะนำให้คุณไปเผาตัวตายแทน ไม่มีอะไรซับซ้อน :b1:


เหตุใดคุณกรัชกาย ผู้แนะนำให้นำพระสูตรของพระพุทธเจ้าไปเผา ไม่แนะนำตัวเอง(กรัชกาย)ให้เผาตัวเองล่ะ ดันมาทะลึ่งแนะนำผมให้เผาตัวเอง คุณเขียนข้อความด้วยความโกรธ และความอิจฉาริษยา จึงทำการพลั้งพลาด โดยไม่ดูตาม้าตาเรือ ไปดูหมิ่นพระพุทธเจ้า

สารภาพความผิดประสาอะไรกันนี่ ไปโยนความผิดให้คนอื่น น่าอายจริงๆ

ไม่เอาน่า...อย่าคิดมาก ทำผิดแล้วกล้าสารภาพผิด ถือเป็นผู้ประเสริฐ แต่ไปโยนความผิดให้คนอื่น คุณยังกล้าดูโลกอยู่เหรอ

ไปเผาตัวเองซะกรัชกาย ไป..ไป ไปลงนรกเสียเถิดกรัชกายที่รัก ฉันจะลงโทษเธอ ไป..ไป ข้าคือยมทูต มารับตัวเธอ ไป..ไป

แต่ก่อนไป ขอเตะก้นเธอทีนึง ...... ป๊าป


การตีความสูตรดังว่า


อ้างคำพูด:
(.....ตถาคตเรียกร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง ปุถุชนผู้มิได้สดับ ไม่อาจเบื่อหน่าย คลายกำหนัด หลุดพ้นในจิต เป็นต้นนั้นได้เลย.....ฯลฯ.....)

ตอบ

ในทัศนะของผม ทั้งหมดเป็นเรื่องของปฏิจจสมุปบาท ตัวต้นคือ สังขาร เป็นปัจจัย ให้เกิด วิญญาณ, แล้ววิญญาณเป็นปัจจัยให้เกิดนามรูป และก็ต่อไปเรื่อยๆ จนถึงภพ ชาติ และก็ชรามรณะ แล้วก็วนกลับมาใหม่(เวียนว่ายตายเกิด) ถ้ายังมีอวิชชาอยู่

1. จะเห็นว่า คำว่าสังขาร ที่สร้างวิญญาณนั้น คือ จิตสังขาร หรือจิตที่คิดปรุงแต่งไปเรื่อยๆ ด้วยเหตุนี้ พระพุทธองค์จึงเรียก จิตสังขาร ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง เพราะสิ่งนี้เป็นสิ่งต่อเนื่องมาจากสังขาร(จิต) นอกจากนี้ พระพุทธองค์จะเรียก สิ่งที่ต่อเนื่องลงมาอีก คือ นามรูป หรือ ขันธ์ 5 หรือร่ายกายว่า อันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง ก็ไม่ผิด เพราะเป็นสิ่งเกี่ยวเนื่องกัน พวกมันว่าจากสังขาร(จิต)ทั้งนั้น ไม่มีอะไรนอกเหนือจากจิต(สังขาร)ที่คิดปรุงแต่งเลย

ตัวอย่าง ทุกสรรพสิ่งประกอบด้วยสสาร มีโมเลกุลเป็นสิ่งเล็กสุดที่รับรู้ได้ในยุคหนึ่ง ต่อมาเมื่อพบว่า อะตอมเป็นสิ่งที่เล็กสุดในสสารหรือโมเลกุล เราจะเรียกสิ่งนั้นเป็นอะไรก็ได้ เป็น สสาร เป็นโมเลกุล เป็นอะตอม หรือจะแยกแยะออกไปอีกก็ได้ ตามแต่ว่าเราจะสื่ออะไรให้เข้าใจได้ง่ายที่สุดในสาขาวิชานั้น

สมมุติ เราเรียกโมเลกุลว่าเป็น จิตสังขาร, โมเลกุลในไม้ เราเอามาใช้ทำบ้าน เราจะเรียกบ้านของเราว่า "บ้านไม้" ถ้าเราเอาไม้ไปทำอุปกรณ์ทุกชิ้นในบ้าน เช่น โต๊ะไม้ เก้าอี้ไม้ ตะเกียบไม้ เราจะเรียกอุปกรณ์เหล่านั้นว่า โต๊ะไม้ เก้าอี้ไม้ ตะเกียบไม้

หรือเราจะเรียกโมเลกุลของไม้ที่เป็นพื้นฐาน ก็ย่อมได้ จะเรียกเป็นอะตอมก็ได้ แต่คงจะสื่อกันยืดยาวหน่อย เราเลยเรียกเป็นชื่อ สิ่งสมมุตินั้นแทน ในกรณีนี้คือ โต๊ะไม้ เก้าอี้ไม้ ตะเกียบไม้

2. พระพุทธเจ้าบางครั้งก็เรียกสังขาร(จิต) ว่า "โลก" บางครั้งก็เรียกว่า "อุปทาน" บางครั้งก็เรียก "อัตตานุทิฎฐิ" บางครั้งก็เรียก "สังสารวัฏฏ์" บางครั้งก็เรียก "อนัตตา" ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ว่าท่านจะแสดงธรรมระดับไหน

ที่องค์สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช เทศน์ว่า

แม้ จิตสังขาร คือสัญญาเวทนาก็เช่นเดียวกัน เมื่อมีสัญญามีเวทนา จิตจึงจะคิดนึกตรึกตรอง วิญญาณจึงเกิดขึ้นในเรื่องที่จิตคิดนึกตรึกตรองนั้น ...

องค์สมเด็จพระญาณสังวร จะเรียก จิตว่ากายก็ได้ เพราะตัวกาย(นามรูป)นั้นย่อมต้องมีจิตสังขาร( กายทิพย์, โอปาติกะ, เจตภูต, อทิสมานกาย)อยู่ในกาย หรืออยู่ในขันธ์ 5(นามรูป - รูปขันธ์,เวทนาขันธ์,สังขารขันธ์, สัญญาขันธ์, วิญญาณขันธ์) ชีวิตจึงจะมีขึ้นได้



ก็ไม่เอามา ไหนบอกตกนรกแทนสรรพสัตว์ได้ไง แล้วทำไมกลัวความจริงล่ะน่า :b13: :b32:

ท่านยมตูท อ่านพระสูตรต้องอ่านทั้งหมด และจับประเด็นให้ได้ว่าท่านกำลังพูดอธิบายเรื่องอะไร

มิใช่อ่านๆแล้วนึกสนุกประโยคไหนก็หยิบมาอธิบายไปเรื่อยเฉื่อยอย่างนั้น นั่นคือการบิดเบือนหลักธรรม

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แก้ไขล่าสุดโดย กรัชกาย เมื่อ 26 ก.พ. 2010, 12:35, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ก.พ. 2010, 13:45 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 6
สมาชิก ระดับ 6
ลงทะเบียนเมื่อ: 28 พ.ย. 2009, 18:14
โพสต์: 435

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


คนดีที่โลกลืม เขียน:
เหตุใดพระพุทธเจ้าจึงเรียก ร่างกายว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง


จากมหาวรรคที่ ๗
๑. อัสสุตวตาสูตรที่ ๑


.....แต่ตถาคตเรียก ร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง .....

(.....ตถาคตเรียกร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง ปุถุชนผู้มิได้สดับ ไม่อาจเบื่อหน่าย คลายกำหนัด หลุดพ้นในจิต เป็นต้นนั้นได้เลย.....ฯลฯ.....)

ตอบ

ในทัศนะของผม ทั้งหมดเป็นเรื่องของปฏิจจสมุปบาท ตัวต้นคือ สังขาร เป็นปัจจัย ให้เกิด วิญญาณ, แล้ววิญญาณเป็นปัจจัยให้เกิดนามรูป และก็ต่อไปเรื่อยๆ จนถึงภพ ชาติ และก็ชรามรณะ แล้วก็วนกลับมาใหม่(เวียนว่ายตายเกิด) ถ้ายังมีอวิชชาอยู่

1. จะเห็นว่า คำว่าสังขาร ที่สร้างวิญญาณนั้น คือ จิตสังขาร หรือจิตที่คิดปรุงแต่งไปเรื่อยๆ ด้วยเหตุนี้ พระพุทธองค์จึงเรียก จิตสังขาร ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง เพราะสิ่งนี้เป็นสิ่งต่อเนื่องมาจากสังขาร(จิต) นอกจากนี้ พระพุทธองค์จะเรียก สิ่งที่ต่อเนื่องลงมาอีก คือ นามรูป หรือ ขันธ์ 5 หรือร่ายกายว่า อันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง ก็ไม่ผิด เพราะเป็นสิ่งเกี่ยวเนื่องกัน พวกมันว่าจากสังขาร(จิต)ทั้งนั้น ไม่มีอะไรนอกเหนือจากจิต(สังขาร)ที่คิดปรุงแต่งเลย

ตัวอย่าง ทุกสรรพสิ่งประกอบด้วยสสาร มีโมเลกุลเป็นสิ่งเล็กสุดที่รับรู้ได้ในยุคหนึ่ง ต่อมาเมื่อพบว่า อะตอมเป็นสิ่งที่เล็กสุดในสสารหรือโมเลกุล เราจะเรียกสิ่งนั้นเป็นอะไรก็ได้ เป็น สสาร เป็นโมเลกุล เป็นอะตอม หรือจะแยกแยะออกไปอีกก็ได้ ตามแต่ว่าเราจะสื่ออะไรให้เข้าใจได้ง่ายที่สุดในสาขาวิชานั้น

สมมุติ เราเรียกโมเลกุลว่าเป็น จิตสังขาร, โมเลกุลในไม้ เราเอามาใช้ทำบ้าน เราจะเรียกบ้านของเราว่า "บ้านไม้" ถ้าเราเอาไม้ไปทำอุปกรณ์ทุกชิ้นในบ้าน เช่น โต๊ะไม้ เก้าอี้ไม้ ตะเกียบไม้ เราจะเรียกอุปกรณ์เหล่านั้นว่า โต๊ะไม้ เก้าอี้ไม้ ตะเกียบไม้

หรือเราจะเรียกโมเลกุลของไม้ที่เป็นพื้นฐาน ก็ย่อมได้ จะเรียกเป็นอะตอมก็ได้ แต่คงจะสื่อกันยืดยาวหน่อย เราเลยเรียกเป็นชื่อ สิ่งสมมุตินั้นแทน ในกรณีนี้คือ โต๊ะไม้ เก้าอี้ไม้ ตะเกียบไม้

2. พระพุทธเจ้าบางครั้งก็เรียกสังขาร(จิต) ว่า "โลก" บางครั้งก็เรียกว่า "อุปทาน" บางครั้งก็เรียก "อัตตานุทิฎฐิ" บางครั้งก็เรียก "สังสารวัฏฏ์" บางครั้งก็เรียก "อนัตตา" ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ว่าท่านจะแสดงธรรมระดับไหน

ที่องค์สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช เทศน์ว่า

แม้ จิตสังขาร คือสัญญาเวทนาก็เช่นเดียวกัน เมื่อมีสัญญามีเวทนา จิตจึงจะคิดนึกตรึกตรอง วิญญาณจึงเกิดขึ้นในเรื่องที่จิตคิดนึกตรึกตรองนั้น ...

องค์สมเด็จพระญาณสังวร จะเรียก จิตว่ากายก็ได้ เพราะตัวกาย(นามรูป)นั้นย่อมต้องมีจิตสังขาร( กายทิพย์, โอปาติกะ, เจตภูต, อทิสมานกาย)อยู่ในกาย หรืออยู่ในขันธ์ 5(นามรูป - รูปขันธ์,เวทนาขันธ์,สังขารขันธ์, สัญญาขันธ์, วิญญาณขันธ์) ชีวิตจึงจะมีขึ้นได้


เพื่อนกรัชกายที่รัก
ตาบอดหรือไรมองไม่เห็นสิ่งที่เขายกมาให้ก่อนที่จะตัดข้อความมา
ขยายให้ใหม่ แว่นตามืดมนต์หนะโยนทิ้งแม่น้ำซะ เพื่อนที่รัก

.....................................................
สรุปคำสอนของสมเด็จองค์ปฐม
"ท่านทั้งหลาย การหลบหลีกไม่ต้องตกอบายภูมิ มีนรกเป็นต้น เป็นของ ไม่ยาก
1. ขอทุกท่านจงอย่าลืมความตาย จงคิดว่าความตาย อาจจะมีกับเราเดี๋ยวนี้ไว้เสมอๆ
2. เคารพพระพุทธเจ้า พระธรรม พระอริยสงฆ์ ด้วยศรัทธาแท้ (ด้วยความจริงใจ)
3. มีศีลบริสุทธิ์เป็นปกติ และ
4. เป็นกรณีพิเศษ ปฏิเสธการเกิดเป็นมนุษย์ เทวดา นางฟ้า และพรหม ในชาติต่อไป ทุกท่านเห็นนิพพาน แล้วตั้งใจไปพระนิพพานได้ในที่สุด"


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ก.พ. 2010, 13:53 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ลำดับความใหม่

นี่ข้อความที่คนดีที่โลกลืมนำมาตั้งเป็นคำถามครั้งแรก


คนดีที่โลกลืม เขียน:
เหตุใดพระพุทธเจ้าจึงเรียก ร่างกายว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง


จากมหาวรรคที่ ๗
๑. อัสสุตวตาสูตรที่ ๑

.....แต่ตถาคตเรียก ร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง .....

(.....ตถาคตเรียกร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง ปุถุชนผู้มิได้สดับ ไม่อาจเบื่อหน่าย คลายกำหนัด หลุดพ้นในจิต เป็นต้นนั้นได้เลย.....ฯลฯ.....)

ตอบ

ในทัศนะของผม ทั้งหมดเป็นเรื่องของปฏิจจสมุปบาท ตัวต้นคือ สังขาร เป็นปัจจัย ให้เกิด วิญญาณ, แล้ววิญญาณเป็นปัจจัยให้เกิดนามรูป และก็ต่อไปเรื่อยๆ จนถึงภพ ชาติ และก็ชรามรณะ แล้วก็วนกลับมาใหม่(เวียนว่ายตายเกิด) ถ้ายังมีอวิชชาอยู่

1. จะเห็นว่า คำว่าสังขาร ที่สร้างวิญญาณนั้น คือ จิตสังขาร หรือจิตที่คิดปรุงแต่งไปเรื่อยๆ ด้วยเหตุนี้ พระพุทธองค์จึงเรียก จิตสังขาร ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง เพราะสิ่งนี้เป็นสิ่งต่อเนื่องมาจากสังขาร(จิต) นอกจากนี้ พระพุทธองค์จะเรียก สิ่งที่ต่อเนื่องลงมาอีก คือ นามรูป หรือ ขันธ์ 5 หรือร่ายกายว่า อันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง ก็ไม่ผิด เพราะเป็นสิ่งเกี่ยวเนื่องกัน พวกมันว่าจากสังขาร(จิต)ทั้งนั้น ไม่มีอะไรนอกเหนือจากจิต(สังขาร)ที่คิดปรุงแต่งเลย

ตัวอย่าง ทุกสรรพสิ่งประกอบด้วยสสาร มีโมเลกุลเป็นสิ่งเล็กสุดที่รับรู้ได้ในยุคหนึ่ง ต่อมาเมื่อพบว่า อะตอมเป็นสิ่งที่เล็กสุดในสสารหรือโมเลกุล เราจะเรียกสิ่งนั้นเป็นอะไรก็ได้ เป็น สสาร เป็นโมเลกุล เป็นอะตอม หรือจะแยกแยะออกไปอีกก็ได้ ตามแต่ว่าเราจะสื่ออะไรให้เข้าใจได้ง่ายที่สุดในสาขาวิชานั้น

สมมุติ เราเรียกโมเลกุลว่าเป็น จิตสังขาร, โมเลกุลในไม้ เราเอามาใช้ทำบ้าน เราจะเรียกบ้านของเราว่า "บ้านไม้" ถ้าเราเอาไม้ไปทำอุปกรณ์ทุกชิ้นในบ้าน เช่น โต๊ะไม้ เก้าอี้ไม้ ตะเกียบไม้ เราจะเรียกอุปกรณ์เหล่านั้นว่า โต๊ะไม้ เก้าอี้ไม้ ตะเกียบไม้

หรือเราจะเรียกโมเลกุลของไม้ที่เป็นพื้นฐาน ก็ย่อมได้ จะเรียกเป็นอะตอมก็ได้ แต่คงจะสื่อกันยืดยาวหน่อย เราเลยเรียกเป็นชื่อ สิ่งสมมุตินั้นแทน ในกรณีนี้คือ โต๊ะไม้ เก้าอี้ไม้ ตะเกียบไม้

2. พระพุทธเจ้าบางครั้งก็เรียกสังขาร(จิต) ว่า "โลก" บางครั้งก็เรียกว่า "อุปทาน" บางครั้งก็เรียก "อัตตานุทิฎฐิ" บางครั้งก็เรียก "สังสารวัฏฏ์" บางครั้งก็เรียก "อนัตตา" ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ว่าท่านจะแสดงธรรมระดับไหน

ที่องค์สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช เทศน์ว่า

แม้ จิตสังขาร คือสัญญาเวทนาก็เช่นเดียวกัน เมื่อมีสัญญามีเวทนา จิตจึงจะคิดนึกตรึกตรอง วิญญาณจึงเกิดขึ้นในเรื่องที่จิตคิดนึกตรึกตรองนั้น ...

องค์สมเด็จพระญาณสังวร จะเรียก จิตว่ากายก็ได้ เพราะตัวกาย(นามรูป)นั้นย่อมต้องมีจิตสังขาร( กายทิพย์, โอปาติกะ, เจตภูต, อทิสมานกาย)อยู่ในกาย หรืออยู่ในขันธ์ 5(นามรูป - รูปขันธ์,เวทนาขันธ์,สังขารขันธ์, สัญญาขันธ์, วิญญาณขันธ์) ชีวิตจึงจะมีขึ้นได้



ส่วนคำตอบเป็นการตีความเองของคนดีที่โลกลืม

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ก.พ. 2010, 13:55 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


นี่เนื้อความเต็มๆที่เพื่อน sirisuk นำมา พร้อมลิงค์

sirisuk เขียน:
มหาวรรคที่ ๗
๑. อัสสุตวตาสูตรที่ ๑


[๒๓๐] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้-
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของท่าน
อนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี ณ ที่นั้นแล พระผู้มีพระภาคตรัสเรียก
ภิกษุทั้งหลายว่า ... ดูกรภิกษุทั้งหลาย ปุถุชนผู้มิได้สดับ จะพึงเบื่อหน่ายบ้าง
คลายกำหนัดบ้าง หลุดพ้นบ้าง ในร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ ข้อ
นั้นเพราะเหตุไร เพราะเหตุว่า ความเจริญก็ดี ความเสื่อมก็ดี การเกิดก็ดี การตาย
ก็ดี ของร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ ย่อมปรากฏ ปุถุชนผู้มิได้สดับ
จึงเบื่อหน่ายบ้าง คลายกำหนัดบ้าง หลุดพ้นบ้าง ในร่างกายนั้น แต่ตถาคตเรียก
ร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง

ปุถุชนผู้มิได้สดับ ไม่อาจเบื่อหน่าย คลายกำหนัด หลุดพ้นในจิต เป็นต้นนั้นได้
เลย ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะว่าจิตเป็นต้นนี้ อันปุถุชนมิได้สดับ รวบรัดถือ
ไว้ด้วยตัณหา ยึดถือด้วยทิฐิว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตัวตนของเรา
ดังนี้ ตลอดกาลช้านานฉะนั้น ปุถุชนผู้มิได้สดับ จึงไม่อาจจะเบื่อหน่าย คลาย
กำหนัด หลุดพ้นในจิตเป็นต้นนั้นได้เลย ฯ

[๒๓๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ปุถุชนผู้มิได้สดับ จะพึงเข้าไปยึดถือเอา
ร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูต ๔ นี้ โดยความเป็นตน ยังชอบกว่า แต่จะ
เข้าไปยึดถือเอาจิตโดยความเป็นตนหาชอบไม่ ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะร่างกาย
อันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ เมื่อดำรงอยู่ ปีหนึ่งบ้าง สองปีบ้าง สามปี
บ้าง สี่ปีบ้าง ห้าปีบ้าง สิบปีบ้าง ยี่สิบปีบ้าง สามสิบปีบ้าง สี่สิบปีบ้าง ห้าสิบปี
บ้าง ร้อยปีบ้าง ยิ่งกว่าร้อยปีบ้าง ย่อมปรากฏ แต่ว่าตถาคตเรียกร่างกายอันเป็น
ที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง
จิตเป็นต้นนั้น
ดวงหนึ่งเกิดขึ้น ดวงหนึ่งดับไป ในกลางคืนและกลางวัน ฯ

[๒๓๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย วานรเมื่อเที่ยวไปในป่าใหญ่จับกิ่งไม้ ปล่อย
กิ่งนั้น ยึดเอากิ่งอื่น ปล่อยกิ่งที่ยึดเดิม เหนี่ยวกิ่งใหม่ต่อไป แม้ฉันใด ร่างกาย
อันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ ที่ตถาคตเรียกว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณ
บ้าง
จิตเป็นต้นนั้นดวงหนึ่งเกิดขึ้น ดวงหนึ่งดับไป ในกลางคืนและกลางวัน ก็ฉัน
นั้นแล ฯ

[๒๓๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้สดับ ย่อมใส่ใจโดยแยบคาย
ด้วยดีถึงปฏิจจสมุปบาทธรรม ในร่างกายและจิตที่ตถาคตกล่าวมานั้นว่า เพราะเหตุ
ดังนี้ เมื่อสิ่งนี้มี สิ่งนี้จึงมี เพราะสิ่งนี้เกิดขึ้น สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น เมื่อสิ่งนี้ไม่มี
สิ่งนี้จึงไม่มี เพราะสิ่งนี้ดับ สิ่งนี้จึงดับ คือ เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขาร
เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป
เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ
เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา เพราะ
ตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ เพราะภพ
เป็นปัจจัย จึงมีชาติ เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงมีชราและมรณะ โสกปริเทวทุกข-
*โทมนัสและอุปายาส ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ ย่อมมีด้วยประการอย่างนี้
อนึ่ง เพราะอวิชชาดับด้วยสำรอกโดยไม่เหลือ สังขารจึงดับ เพราะสังขารดับ
วิญญาณจึงดับ ฯลฯ ความดับแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ ย่อมมีด้วยประการอย่างนี้ ฯ

[๒๓๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับ มาพิจารณาอยู่อย่างนี้
ย่อมหน่ายแม้ในรูป ย่อมหน่ายแม้ในเวทนา ย่อมหน่ายแม้ในสัญญา ย่อมหน่าย
แม้ในสังขารทั้งหลาย ย่อมหน่ายแม้ในวิญญาณ เมื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด
เพราะคลายกำหนัดจึงหลุดพ้น เมื่อหลุดพ้นแล้ว ก็เกิดญาณหยั่งรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว
ย่อมทราบชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว
กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี ดังนี้แล ฯ

จบสูตรที่ ๑

http://www.84000.org/tipitaka/book/v.ph ... 519&Z=2566

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แก้ไขล่าสุดโดย กรัชกาย เมื่อ 26 ก.พ. 2010, 14:05, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ก.พ. 2010, 13:59 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ต่อมากรัชกาย กล่าวขอบคุณเพื่อน sirisuk ว่านำสูตรนั้นมาทั้งหมด
และขีดเส้นใต้ข้อความให้สังเกต ๒ ข้อ และเน้นตัวแดงข้อความมข้อ ๒๓๓ ดูสารธรรมให้ต่อเนื่องไปทุกข้อ ท่านกำลังพูดเรื่องอะไรกับใคร


กรัชกาย เขียน:
ขอบคุณคุณ sirisuk ที่นำข้อความทั้งหมดมาวางแบให้ดู :b1:

ที่นี่จะขอเชิญชวนสมาชิกทุกท่าน (โดยเฉพาะคุณคนดีที่โลกลืมและคุณ sirisuk) ช่วยกันพิเคราะห์

สารธรรมจากข้อความทั้งหมดดู พินิจดูตั้งแต่ต้นจนถึงข้อสุดท้ายว่ามีนัยอย่างไร




(๒๓๐)....ดูกรภิกษุทั้งหลาย ปุถุชนผู้มิได้สดับ จะพึงเบื่อหน่ายบ้าง

คลายกำหนัดบ้าง หลุดพ้นบ้าง ในร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้

ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะเหตุว่า ความเจริญก็ดี ความเสื่อมก็ดี การเกิดก็ดี

การตายก็ดี ของร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ ย่อมปรากฏ

ปุถุชนผู้มิได้สดับ จึงเบื่อหน่ายบ้าง คลายกำหนัดบ้าง หลุดพ้นบ้าง ในร่างกายนั้น

แต่ตถาคตเรียกร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง

ปุถุชนผู้มิได้สดับ ไม่อาจเบื่อหน่าย คลายกำหนัด หลุดพ้นในจิต เป็นต้นนั้นได้


เลย ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะว่าจิตเป็นต้นนี้ อันปุถุชนมิได้สดับ รวบรัดถือ

ไว้ด้วยตัณหา ยึดถือด้วยทิฐิว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตัวตนของเรา

ดังนี้ ตลอดกาลช้านานฉะนั้น ปุถุชนผู้มิได้สดับ จึงไม่อาจจะเบื่อหน่าย คลาย

กำหนัด หลุดพ้นในจิตเป็นต้นนั้นได้เลย ฯ

[๒๓๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ปุถุชนผู้มิได้สดับ จะพึงเข้าไปยึดถือเอา

ร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูต ๔ นี้ โดยความเป็นตน ยังชอบกว่า แต่จะ

เข้าไปยึดถือเอาจิตโดยความเป็นตนหาชอบไม่ ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะร่างกาย

อันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ เมื่อดำรงอยู่ ปีหนึ่งบ้าง สองปีบ้าง สามปี

บ้าง สี่ปีบ้าง ห้าปีบ้าง สิบปีบ้าง ยี่สิบปีบ้าง สามสิบปีบ้าง สี่สิบปีบ้าง ห้าสิบปี

บ้าง ร้อยปีบ้าง ยิ่งกว่าร้อยปีบ้าง ย่อมปรากฏ แต่ว่าตถาคตเรียกร่างกายอันเป็น

ที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง จิตเป็นต้นนั้น

ดวงหนึ่งเกิดขึ้น ดวงหนึ่งดับไป
ในกลางคืนและกลางวัน ฯ

[๒๓๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย วานรเมื่อเที่ยวไปในป่าใหญ่จับกิ่งไม้ ปล่อย

กิ่งนั้น ยึดเอากิ่งอื่น ปล่อยกิ่งที่ยึดเดิม เหนี่ยวกิ่งใหม่ต่อไป แม้ฉันใด ร่างกาย

อันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ ที่ตถาคตเรียกว่า จิตบ้าง มโนบ้าง

วิญญาณบ้าง จิตเป็นต้นนั้น ดวงหนึ่งเกิดขึ้น ดวงหนึ่งดับไป ในกลางคืนและกลางวัน

ก็ฉันนั้นแล ฯ

[๒๓๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้สดับ ย่อมใส่ใจโดยแยบคาย

ด้วยดีถึงปฏิจจสมุปบาทธรรม ในร่างกาย และ จิต
ที่ตถาคตกล่าวมานั้นว่า

เพราะเหตุดังนี้ เมื่อสิ่งนี้มี สิ่งนี้จึงมี เพราะสิ่งนี้เกิดขึ้น สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น เมื่อสิ่งนี้ไม่มี

สิ่งนี้จึงไม่มี เพราะสิ่งนี้ดับ สิ่งนี้จึงดับ
คือ เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขาร

เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป

เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ

เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา เพราะ

ตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ เพราะภพ

เป็นปัจจัย จึงมีชาติ เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงมีชราและมรณะ โสกปริเทวทุกข-

*โทมนัสและอุปายาส ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ ย่อมมีด้วยประการอย่างนี้

อนึ่ง เพราะอวิชชาดับด้วยสำรอกโดยไม่เหลือ สังขารจึงดับ เพราะสังขารดับ

วิญญาณจึงดับ ฯลฯ ความดับแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ ย่อมมีด้วยประการอย่างนี้


[๒๓๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับ มาพิจารณาอยู่อย่างนี้

ย่อมหน่ายแม้ในรูป ย่อมหน่ายแม้ในเวทนา ย่อมหน่ายแม้ในสัญญา ย่อมหน่าย

แม้ในสังขารทั้งหลาย ย่อมหน่ายแม้ในวิญญาณ เมื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด

เพราะคลายกำหนัดจึงหลุดพ้น เมื่อหลุดพ้นแล้ว ก็เกิดญาณหยั่งรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว

ย่อมทราบชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว

กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี ดังนี้แล ฯ



เบื้องต้นเรียงลำดับความเป็นมาอย่างนี้ถูกไหมครับ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แก้ไขล่าสุดโดย กรัชกาย เมื่อ 26 ก.พ. 2010, 19:41, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ก.พ. 2010, 14:08 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
เหตุใดพระพุทธเจ้าจึงเรียก ร่างกายว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง


จากมหาวรรคที่ ๗
๑. อัสสุตวตาสูตรที่ ๑

.....แต่ตถาคตเรียก ร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง .....

(.....ตถาคตเรียกร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง ปุถุชนผู้มิได้สดับ ไม่อาจเบื่อหน่าย คลายกำหนัด หลุดพ้นในจิต เป็นต้นนั้นได้เลย.....ฯลฯ.....)


ตอบ

ในทัศนะของผม ทั้งหมดเป็นเรื่องของปฏิจจสมุปบาท ตัวต้นคือ สังขาร เป็นปัจจัย ให้เกิด วิญญาณ, แล้ววิญญาณเป็นปัจจัยให้เกิดนามรูป และก็ต่อไปเรื่อยๆ จนถึงภพ ชาติ และก็ชรามรณะ แล้วก็วนกลับมาใหม่(เวียนว่ายตายเกิด) ถ้ายังมีอวิชชาอยู่

1. จะเห็นว่า คำว่าสังขาร ที่สร้างวิญญาณนั้น คือ จิตสังขาร หรือจิตที่คิดปรุงแต่งไปเรื่อยๆ ด้วยเหตุนี้ พระพุทธองค์จึงเรียก จิตสังขาร ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง เพราะสิ่งนี้เป็นสิ่งต่อเนื่องมาจากสังขาร(จิต) นอกจากนี้ พระพุทธองค์จะเรียก สิ่งที่ต่อเนื่องลงมาอีก คือ นามรูป หรือ ขันธ์ 5 หรือร่ายกายว่า อันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง ก็ไม่ผิด เพราะเป็นสิ่งเกี่ยวเนื่องกัน พวกมันว่าจากสังขาร(จิต)ทั้งนั้น ไม่มีอะไรนอกเหนือจากจิต(สังขาร)ที่คิดปรุงแต่งเลย

ตัวอย่าง ทุกสรรพสิ่งประกอบด้วยสสาร มีโมเลกุลเป็นสิ่งเล็กสุดที่รับรู้ได้ในยุคหนึ่ง ต่อมาเมื่อพบว่า อะตอมเป็นสิ่งที่เล็กสุดในสสารหรือโมเลกุล เราจะเรียกสิ่งนั้นเป็นอะไรก็ได้ เป็น สสาร เป็นโมเลกุล เป็นอะตอม หรือจะแยกแยะออกไปอีกก็ได้ ตามแต่ว่าเราจะสื่ออะไรให้เข้าใจได้ง่ายที่สุดในสาขาวิชานั้น

สมมุติ เราเรียกโมเลกุลว่าเป็น จิตสังขาร, โมเลกุลในไม้ เราเอามาใช้ทำบ้าน เราจะเรียกบ้านของเราว่า "บ้านไม้" ถ้าเราเอาไม้ไปทำอุปกรณ์ทุกชิ้นในบ้าน เช่น โต๊ะไม้ เก้าอี้ไม้ ตะเกียบไม้ เราจะเรียกอุปกรณ์เหล่านั้นว่า โต๊ะไม้ เก้าอี้ไม้ ตะเกียบไม้

หรือเราจะเรียกโมเลกุลของไม้ที่เป็นพื้นฐาน ก็ย่อมได้ จะเรียกเป็นอะตอมก็ได้ แต่คงจะสื่อกันยืดยาวหน่อย เราเลยเรียกเป็นชื่อ สิ่งสมมุตินั้นแทน ในกรณีนี้คือ โต๊ะไม้ เก้าอี้ไม้ ตะเกียบไม้

2. พระพุทธเจ้าบางครั้งก็เรียกสังขาร(จิต) ว่า "โลก" บางครั้งก็เรียกว่า "อุปทาน" บางครั้งก็เรียก "อัตตานุทิฎฐิ" บางครั้งก็เรียก "สังสารวัฏฏ์" บางครั้งก็เรียก "อนัตตา" ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ว่าท่านจะแสดงธรรมระดับไหน

ที่องค์สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช เทศน์ว่า

แม้ จิตสังขาร คือสัญญาเวทนาก็เช่นเดียวกัน เมื่อมีสัญญามีเวทนา จิตจึงจะคิดนึกตรึกตรอง วิญญาณจึงเกิดขึ้นในเรื่องที่จิตคิดนึกตรึกตรองนั้น ...

องค์สมเด็จพระญาณสังวร จะเรียก จิตว่ากายก็ได้ เพราะตัวกาย(นามรูป)นั้นย่อมต้องมีจิตสังขาร( กายทิพย์, โอปาติกะ, เจตภูต, อทิสมานกาย)อยู่ในกาย หรืออยู่ในขันธ์ 5(นามรูป - รูปขันธ์,เวทนาขันธ์,สังขารขันธ์, สัญญาขันธ์, วิญญาณขันธ์) ชีวิตจึงจะมีขึ้นได้



ตถาคตเรียกร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง ปุถุชนผู้มิได้สดับ ไม่อาจเบื่อหน่าย คลายกำหนัด หลุดพ้นในจิต เป็นต้นนั้นได้เลย.....ฯลฯ

ส่วนนี้คนดีที่โลกลืมตัดมาจากสูตรนั้น แล้วมาอธิบายตีความตามคำตอบนั่น ใช่ไหมครับ

ถามไปสองสามครั้งแล้วประเด็นนี้แต่ไม่ตอบ :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แก้ไขล่าสุดโดย กรัชกาย เมื่อ 26 ก.พ. 2010, 14:16, แก้ไขแล้ว 2 ครั้ง.

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ก.พ. 2010, 14:22 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


พระสูตรนั่นลงตัวอยู่ในตัวของสูตรนั่นเองแล้ว
การที่แยกเอาประโยคนั้นออกมาตีความเอาเองนั่นแหละคือการบิดเบือนพระสูตร
ตนอ่านไม่ตลอดทั้งสูตร หรือ ติดอยู่แค่ข้อใดข้อหนึ่งของพระสูตรนั้น หรือจับสาระ (เรื่อง)พระสูตรนั้นไม่ติด

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ก.พ. 2010, 14:31 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
เพื่อนกรัชกายที่รัก

ตาบอดหรือไรมองไม่เห็นสิ่งที่เขายกมาให้ก่อนที่จะตัดข้อความมา

ขยายให้ใหม่
แว่นตามืดมนต์หนะโยนทิ้งแม่น้ำซะ เพื่อนที่รัก



นั่นล่ะครับ คือ ประเด็นที่กรัชกายถาม ที่คนดีที่โลกลืมนำ (ตอบ) ขยายใหม่นั่นล่ะ

การขยายใหม่นั่นแหละครับ คือการบิดเบือน ทำเสียจนเละเทะ ของๆ เขาลงตัวอยู่แล้ว

แต่ตนเองอ่านไม่แตก จับสาระสูตรตั้งแต่ต้นจนจบไม่ได้ หรือ อ่านแล้วติดตันที่ข้อใดข้อหนึ่งของพระสูตรนั้น :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แก้ไขล่าสุดโดย กรัชกาย เมื่อ 26 ก.พ. 2010, 14:35, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ก.พ. 2010, 14:53 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
เพื่อนกรัชกายที่รัก

ตาบอดหรือไร ฯลฯ แว่นตามืดมนต์หนะโยนทิ้งแม่น้ำซะ เพื่อนที่รัก


ผู้หญิง เวลาโมโหนี่น่ากลัวน้อ ดีนะที่กรัชกายมีแฟนแค่สองสามคน หากมีสักสี่ห้าคนคงบ้าตายสักวัน :b7: :b1: :b12:

เพลงกรัชกายครวญก็ไม่มี มีแต่ อสูรกายครวญ

http://www.charyen.com/jukebox/play.php?id=296

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แก้ไขล่าสุดโดย กรัชกาย เมื่อ 26 ก.พ. 2010, 14:55, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 02 มี.ค. 2010, 21:34 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 8
สมาชิก ระดับ 8
ลงทะเบียนเมื่อ: 19 ส.ค. 2009, 09:31
โพสต์: 639

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


พระพุทธองค์ไม่เรียกให้แตกต่างค่ะ จิตคือจิต ร่างกายคือร่างกาย มโนคือมโน แต่พวกเราแปลกันผิดเองต่างหากค่ะ

การจะเข้าใจพุทธพจน์ยากนะคะ ต้องเข้าถึงธรรมเท่านั้นถึงจะตีความได้ถูก การจะเข้าถึงธรรมทำได้ด้วยการถือศีลบริสุทธิ์และสมถสมาธิค่ะ


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 59 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร