วันเวลาปัจจุบัน 22 ก.ค. 2025, 15:20  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 12 โพสต์ ]    Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ก.พ. 2012, 17:19 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 7
สมาชิก ระดับ 7
ลงทะเบียนเมื่อ: 03 ต.ค. 2011, 15:47
โพสต์: 539


 ข้อมูลส่วนตัว


หากไม่มีความจริง มีแต่ความเชื่อเมื่อเราเห็นสิ่งต่างๆ ได้ยินสิ่งต่างๆ ได้ฟังสิ่งต่างๆ ได้กินสิ่งต่างๆ ได้ดมสิ่งต่างๆ ได้สัมผัสสิ่งต่างๆ ใจคิดสิ่งต่างๆ เราจะมี 2 ความรู้สึกเท่านี้น คือ พอใจ กับ ไม่พอใจ
ยกตัวอย่าง เห็นคนก็บอกว่าสวย หรือ ไม่สวย ได้กลิ่นดอกไม้ก็บอกว่าดอกนี้หอม หรือ ไม่หอม แล้วแต่ความเชื่อของแต่ละคน นี้แหละทางสุดโต่ง 2 ทางที่ไม่ให้คนไปยุ่งเกี่ยวเพราะนี้คือต้นเหตุแห่งความทุกข์ทั้งปวงของมนุษย์ ถ้าเอาความจริงตั้งเห็นคน พิจารณาว่าคนเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป หรือ หนุ่มแก่ สุดท้ายตาย นี้เป็นการเห็นความจริงตามกฎไตรลักษณ์
ความพอใจ ไม่พอใจ ก็ไม่เกิด ไม่คิดปรุงแต่งกับสิ่งเหล่านี้ ตัณหา หรือ การยึดมั่นก็ไม่เกิด ทุกข์ก็ไม่เกิด ดับลงหลังจากกระทบ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ก.พ. 2012, 18:32 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 2
สมาชิก ระดับ 2
ลงทะเบียนเมื่อ: 26 ก.ค. 2010, 23:55
โพสต์: 55

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เมื่อพอใจ ไม่พอใจ

ในความพอใจ ไม่พอใจ

ก็จะไม่พ้นซึ่ง ความพอใจ ไม่พอใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ก.พ. 2012, 18:49 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 10
สมาชิก ระดับ 10
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 พ.ย. 2008, 12:29
โพสต์: 814

ที่อยู่: กรุงเทพฯ

 ข้อมูลส่วนตัว


ก้จงอย่าพอใจจนเกินไป หรือ อย่าไม่พอใจจนมากเกินไป มันจะได้มีลิมิต กับตัวเองได้ถูกจริงมะ
แต่ถึงยังไงๆ จขกท. ก้คงจะเลือก-ข้างความพอใจซะเป็นส่วนใหญ่??


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ก.พ. 2012, 20:55 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 20 มี.ค. 2010, 19:57
โพสต์: 1014

โฮมเพจ: http://www.vitwong.blogspot.com
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว www


พอใจ น่าจะลงได้ กับ โลภะ
ไม่พอใจ น่าจะลงได้ กับ โทสะ


อ้างคำพูด:
[112] เวทนา 5 (การเสวยอารมณ์ — feeling)
1. สุข (ความสุข ความสบายทางกาย — bodily pleasure or happiness)
2. ทุกข์ (ความทุกข์ ความไม่สบาย เจ็บปวดทางกาย — bodily pain; discomfort)
3. โสมนัส (ความแช่มชื่นสบายใจ, สุขใจ — mental happiness; joy)
4. โทมนัส (ความเสียใจ, ทุกข์ใจ — mental pain; displeasure; grief)
5. อุเบกขา (ความรู้สึกเฉยๆ — indifference)


มีใครตอบได้บ้างว่า ในปฏิจจสมุปบาท
โทสะ เกิดขึ้นตอนไหน

.....................................................
ยังงมงาย...
เมื่อเห็นว่าพระไตรปิฏก มีส่วนถูก มีส่วนจริงแค่ 20 ถึง 30 เปอร์เซนต์ เท่านั้น

เลิกงมงาย..
เมื่อเห็นว่า พระไตรปิฏก มีส่วนถูก ส่วนจริง เกินกว่า 80 ถึง กว่า 90 เปอร์เซนต์

http://www.youtube.com/user/govit2554#g/u


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ก.พ. 2012, 23:43 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 9
สมาชิก ระดับ 9
ลงทะเบียนเมื่อ: 01 ก.ค. 2011, 22:53
โพสต์: 705

แนวปฏิบัติ: รู้สึกตัว
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


:b1: ก็เป็นอาการปรุงแต่งแห่งจิต ที่ผลิตตัณหา (ภวตัณหา วิภวตัณหา) ออกมาเพราะว่าเห็นผิด ติดอวิชชา นี่แหละหนาดูให้ดี สายใยแห่งทุกข์อยู่เบื้องหน้านี่เอง :b33: :b27:

.....................................................
"ธรรมะเป็นปัจจัตตัง ต้องทำเอง รู้เอง เห็นเอง เข้าใจเอง"


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ก.พ. 2012, 05:50 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 5
สมาชิก ระดับ 5
ลงทะเบียนเมื่อ: 08 เม.ย. 2011, 01:57
โพสต์: 324

แนวปฏิบัติ: อริยสัจ4
อายุ: 27
ที่อยู่: USA

 ข้อมูลส่วนตัว


อรูปะ เขียน:
เมื่อพอใจ ไม่พอใจ

ในความพอใจ ไม่พอใจ

ก็จะไม่พ้นซึ่ง ความพอใจ ไม่พอใจ


:b8: :b8: :b8:

.....................................................
ทุกสิ่งที่เกิดขึ้นคือความจริง การฝืนความจริงทำให้เกิดทุกข์ การเห็นและยอมตามความจริงทำให้หายทุกข์

คนที่รู้ธรรมะ มักจะชอบเอาชนะผู้อื่น แต่คนเข้าใจธรรมะ มักจะเอาชนะใจตนเอง

สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ ยะทา ปัญญายะ ปัสสะติ
เมื่อใดบุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า, ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา

อะถะ นิพพินทะติ ทุกเข เอสะ มัคโค วิสุทธิยา
เมื่อนั้น ย่อมเหนื่อยหน่ายในสิ่งที่เป็นทุกข์ ที่ตนหลง,
นั่นแหละเป็นทางแห่งพระนิพพานอันเป็นธรรมหมดจด

.....ติลักขณาทิคาถา.....


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ก.พ. 2012, 10:14 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 7
สมาชิก ระดับ 7
ลงทะเบียนเมื่อ: 03 ต.ค. 2011, 15:47
โพสต์: 539


 ข้อมูลส่วนตัว


อินทรีย์5 เขียน:
ก้จงอย่าพอใจจนเกินไป หรือ อย่าไม่พอใจจนมากเกินไป มันจะได้มีลิมิต กับตัวเองได้ถูกจริงมะ
แต่ถึงยังไงๆ จขกท. ก้คงจะเลือก-ข้างความพอใจซะเป็นส่วนใหญ่??


ใช่ครับยังพอใจในการสนธนาธรรมอยู่ ทุกข์เกิดขึ้นทันที


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ก.พ. 2012, 10:35 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 7
สมาชิก ระดับ 7
ลงทะเบียนเมื่อ: 03 ต.ค. 2011, 15:47
โพสต์: 539


 ข้อมูลส่วนตัว


govit2552 เขียน:
พอใจ น่าจะลงได้ กับ โลภะ
ไม่พอใจ น่าจะลงได้ กับ โทสะ


อ้างคำพูด:
[112] เวทนา 5 (การเสวยอารมณ์ — feeling)
1. สุข (ความสุข ความสบายทางกาย — bodily pleasure or happiness)
2. ทุกข์ (ความทุกข์ ความไม่สบาย เจ็บปวดทางกาย — bodily pain; discomfort)
3. โสมนัส (ความแช่มชื่นสบายใจ, สุขใจ — mental happiness; joy)
4. โทมนัส (ความเสียใจ, ทุกข์ใจ — mental pain; displeasure; grief)
5. อุเบกขา (ความรู้สึกเฉยๆ — indifference)


มีใครตอบได้บ้างว่า ในปฏิจจสมุปบาท
โทสะ เกิดขึ้นตอนไหน


ความพอใจ คือ โลภะ
ความไม่พอใจ คือ โทสะ
ตามไม่ทันความพอใจ ไม่พอใจ คือ หลง


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ก.พ. 2012, 10:44 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 7
สมาชิก ระดับ 7
ลงทะเบียนเมื่อ: 03 ต.ค. 2011, 15:47
โพสต์: 539


 ข้อมูลส่วนตัว


govit2552 เขียน:
พอใจ น่าจะลงได้ กับ โลภะ
ไม่พอใจ น่าจะลงได้ กับ โทสะ


อ้างคำพูด:
[112] เวทนา 5 (การเสวยอารมณ์ — feeling)
1. สุข (ความสุข ความสบายทางกาย — bodily pleasure or happiness)
2. ทุกข์ (ความทุกข์ ความไม่สบาย เจ็บปวดทางกาย — bodily pain; discomfort)
3. โสมนัส (ความแช่มชื่นสบายใจ, สุขใจ — mental happiness; joy)
4. โทมนัส (ความเสียใจ, ทุกข์ใจ — mental pain; displeasure; grief)
5. อุเบกขา (ความรู้สึกเฉยๆ — indifference)


มีใครตอบได้บ้างว่า ในปฏิจจสมุปบาท
โทสะ เกิดขึ้นตอนไหน


โลภะ โทสะ โมหะ คือ เวทนา ในวงจรปฏิจจสมุปบาท ส่วน ราคะ คือ โลภะ
เพราะ โลภะ โทสะ โมหะ คือสมุทัยแห่งทุกข์ทั้งปวง เมื่อเกิดสิ่งเหล่่านี้ ตัณหา อุปทาน ภพ ชาติ
ชรามรณะ อวิชชา ก็เกิดขึ้น

ซึ่งโลภะ โทสะ โมหะ ก็มีต้นตอมาจากความไม่รู้ หรือ อวิชชา คือ ไม่รู้ความจริงของธรรมชาติว่าสรรพสิ่งไม่เที่ยง หลงพอใจ ไม่พอใจกับสิ่งเหล่านี้ทั้งที่สิ่งเหล่านี้มีการเปลี่ยนแปลง
มีเกิดขึ้น มีดับไปเป็นธรรดา ไม่มีตัวตนของสิ่งเหล่านี้
ถ้าเรารู้เห็นสิ่งเหล่านี้ตามสภาพความเป็นจริงของธรรมชาติ โลภะ โทสะ โมหะ/พอใจ ไม่พอใจ ก็ไม่เกิด ความทุกข์ ความโศกเศร้าก็ไม่เกิด ดับทุกข์ได้ ดับวงจรการเกิดได้


แก้ไขล่าสุดโดย ไม่เที่ยง เกิดดับ เมื่อ 20 ก.พ. 2012, 10:59, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ก.พ. 2012, 10:52 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 7
สมาชิก ระดับ 7
ลงทะเบียนเมื่อ: 03 ต.ค. 2011, 15:47
โพสต์: 539


 ข้อมูลส่วนตัว


คนธรรมดาๆ เขียน:
อรูปะ เขียน:
เมื่อพอใจ ไม่พอใจ

ในความพอใจ ไม่พอใจ

ก็จะไม่พ้นซึ่ง ความพอใจ ไม่พอใจ


:b8: :b8: :b8:


ถ้าไม่รู้ต้นเหตุแห่งทุกข์ว่ามาจากไหน ว่าคืออะไร แล้วเราก็จะดับทุกข์ไม่ถูกจุด หรือ ไม่ถูกวิธี


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ก.พ. 2012, 21:33 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


govit2552 เขียน:
พอใจ น่าจะลงได้ กับ โลภะ
ไม่พอใจ น่าจะลงได้ กับ โทสะ


อ้างคำพูด:
[112] เวทนา 5 (การเสวยอารมณ์ — feeling)
1. สุข (ความสุข ความสบายทางกาย — bodily pleasure or happiness)
2. ทุกข์ (ความทุกข์ ความไม่สบาย เจ็บปวดทางกาย — bodily pain; discomfort)
3. โสมนัส (ความแช่มชื่นสบายใจ, สุขใจ — mental happiness; joy)
4. โทมนัส (ความเสียใจ, ทุกข์ใจ — mental pain; displeasure; grief)
5. อุเบกขา (ความรู้สึกเฉยๆ — indifference)


มีใครตอบได้บ้างว่า ในปฏิจจสมุปบาท
โทสะ เกิดขึ้นตอนไหน

:b12:
เกิดขึ้นในช่วงต่อระหว่างเวทนากับตัณหาครับ
:b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ก.พ. 2012, 21:48 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


govit2552 เขียน:
พอใจ น่าจะลงได้ กับ โลภะ
ไม่พอใจ น่าจะลงได้ กับ โทสะ

มีใครตอบได้บ้างว่า ในปฏิจจสมุปบาท
โทสะ เกิดขึ้นตอนไหน


ผมตอบได้ครับ.... :b32: :b32:

ตอน....มีใครไม่รู้..เอาเท้ามาทีบหัวผมครับ...
:b2:

ตอนหลังจากตัณหาแล้ว....ตอนไอ้ภวตัณหา...วิภวตัณหา...ไม่ได้รับการสนองตอบ

อยากมี...แต่ไม่ได้...อย่างคำชมคำยกยอ...ไม่ว่าเราดีก็เคียด

ไม่อยากมี..แต่ดันมี..เช่น...ส้นเท้าบนหัวผมนั้นแหละ....

มันถึงเคียด...(เคียดแปลว่าโกรธ... :b13: :b13: )


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 12 โพสต์ ] 

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร