วันเวลาปัจจุบัน 19 ก.ค. 2025, 22:48  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 117 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 เม.ย. 2012, 12:36 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
ซึ่งขณะที่พระองค์แสดงธรรมอยู่
ท่านโกณฑัญญะ ก็ได้ดวงตาเห็นธรรม เห็นปฏิจสมุปบาท ซึ่งมีการบันทึกลงในพระธรรมวินัยนี้ ว่า
Quote Tipitaka:
"ก็แลเมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสไวยากรณภาษิตนี้อยู่ ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี
ปราศจากมลทิน ได้เกิดขึ้นแก่ท่านพระโกณฑัญญะว่าสิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา
สิ่งนั้นทั้งมวล มีความดับเป็นธรรมดา."


ท่านโกณฑัญญะ ไปเห็นปฏิจฯที่ไหนกัน ในพระสูตรที่ตัวเองยกมา
ก็บอกว่า"สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา
สิ่งนั้นทั้งมวล มีความดับเป็นธรรมดา นี่แสดงว่าเจ้าตัวเองไม่รู้จัก
อาการหรือเหตุปัจจัยแห่งไตรลักษณ์


"สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดเป็นธรรมดา"
ทุกข์ มีความเกิด เนื่องจากตัณหาเป็นสมุทัย....สิ่งใดสิ่งหนึ่ง
ทุกข์ คือปัจจยุบัน มีตัณหาเป็นปัจจัย

ทุกข์เกิดเนื่องจากมี อุปปาทานขันธ์ เป็นสมุทัย
ตัณหาเป็นเพียงเหตุปัจจัยหนึ่งใน ปฏิจสมุบาท
จะทุกข์หรือไม่ ขึ้นอยู่กับกระบวนการขันธ์ห้า

เช่นนั้น เขียน:
[""สิ่งนั้นทั้งมวลมีความดับเป็นธรรมดา"
ความดับแห่งสมุทัย คือตัณหา
ทุกข์ และตัณหา ก็ดับทั้งหมด...สิ่งนั้นทั้งมวล
นิโรธ
เป็นความเห็นตรงต่ออริยสัจจธรรม....

ความดับเกิดขึ้นที่กระบวนการขันธ์ห้า ไม่ใช่เกิดที่วงปฏิจสมุบาท
สังโยขน์เกิดที่วงปฏิจฯ การดับสังโยชน์ต้องดับที่กระบวนการขันธ์ห้า
ด้วยการไม่เอาสังโยชน์มาปรุงแต่ง แต่ใช้สติปัฎฐานไปพิจารณารูปนาม
เช่นนั้น เขียน:
[

ปฐมมรรคจึงเกิดขณะนั้นเป็นการประชุมองค์มรรค 8 ครั้งแรกของท่านโกณทัญญะ

เห็นปฏิจสมุปบาท คือการเห็น เหตุเห็นผล เห็นปัจจัยเห็นปัจจยุบัน

ในพระสุตรที่คุณอ้าง ก็บอกอยู่แล้วว่า ท่านโกณทัญญะ บรรลุธรรมเพราะเห็น
หรือพิจารณารูปนามตามความเป็นจริง อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา

แล้วไอ้ปฐมมรรคอะไรของคุณนั้นน่ะมันก็คือ สัมมาทิฐิ
ถ้าเป็นการประชุมมรรคมีองค์แปด ท่านก็สำเร็จอรหันต์แล้ว
จะต้องไปเห็นปฏิจฯอะไรกันอีก การจะสำเร็จอรหันต์ได้ จะต้องเห็นปฏิจฯเสียก่อน
และแทงตลอดหรือตัดวงจรปฏิจจฯด้วยการละสังโยชฯสิบแล้ว


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 เม.ย. 2012, 12:42 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
การเห็นเกิดดับ โดยไร้ความเห็นตรงต่อ อริยสัจจธรรม
เป็นความเห็นที่ไม่อาจพ้นจากความทุกข์

เหมือนคนเห็นใบไม้ไหว เห็นฟองน้ำ เห็นเงา

เหมือนสุนัขเห็นใบตองแห้ง ก็นึกว่าเห็นอะไรสักอย่างหนึ่งถือเอาเป็นความจริง

การปฏิบัติธรรมด้วยการ ยึดมั่นต่อบัญญัติ หลงไปว่าปัญญาสัมมาทิฐิเกิดได้จากการอ่าน
การฟัง ก็เหมือนคนที่จิตวิปลาส(ไม่ใช่ภาษาธรรม แต่เป็นภาษาทางการแพทย์)
บุคคลนั้นก็เหมือนคน ชอบสร้างวิมานในอากาศ :b13:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 เม.ย. 2012, 12:43 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข้อนี้แลเป็นทุกขสมุทัยอริยสัจ คือตัณหาอันทำให้เกิดอีก ประกอบ
ด้วยความกำหนัดด้วยอำนาจความเพลิน มีปกติเพลิดเพลินในอารมณ์นั้นๆ คือ กามตัณหา
ภวตัณหา วิภวตัณหา.
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข้อนี้แลเป็นทุกขนิโรธอริยสัจ คือ ตัณหานั่นแลดับ โดยไม่เหลือ
ด้วยมรรคคือวิราคะ สละ สละคืน ปล่อยไป ไม่พัวพัน
.

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 เม.ย. 2012, 12:51 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
ปัญญาในการทรงจำธรรมที่ได้ฟังมาแล้ว เป็นสุตมยญาณอย่างไร
ปัญญาอันเป็นเครื่องทรงจำธรรมที่ได้ฟังมาแล้ว คือ เครื่องรู้ชัดธรรมที่ได้
สดับมาแล้วนั้นว่า ธรรมเหล่านี้ควรรู้ยิ่ง ธรรมเหล่านี้ควรกำหนดรู้ ธรรมเหล่านี้
ควรละ ธรรมเหล่านี้ควรให้เจริญ ธรรมเหล่านี้ควรทำให้แจ้ง ธรรมเหล่านี้เป็นไป
ในส่วนแห่งความเสื่อม ธรรมเหล่านี้เป็นไปในส่วนแห่งความตั้งอยู่ ธรรมเหล่านี้
เป็นไปในส่วนแห่งความวิเศษ ธรรมเหล่านี้เป็นไปในส่วนแห่งการชำแรกกิเลส
สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา นี้ทุกขอริยสัจ
นี้ทุกขสมุทัยอริยสัจ นี้ทุกขนิโรธอริยสัจ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
เป็นสุตมยญาณ


โฮฮับ เขียน:
การปฏิบัติธรรมด้วยการ ยึดมั่นต่อบัญญัติ หลงไปว่าปัญญาสัมมาทิฐิเกิดได้จากการอ่าน
การฟัง ก็เหมือนคนที่จิตวิปลาส(ไม่ใช่ภาษาธรรม แต่เป็นภาษาทางการแพทย์)
บุคคลนั้นก็เหมือนคน ชอบสร้างวิมานในอากาศ

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 เม.ย. 2012, 12:56 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
Quote Tipitaka:
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข้อนี้แลเป็นทุกขสมุทัยอริยสัจ คือตัณหาอันทำให้เกิดอีก ประกอบ
ด้วยความกำหนัดด้วยอำนาจความเพลิน มีปกติเพลิดเพลินในอารมณ์นั้นๆ คือ กามตัณหา
ภวตัณหา วิภวตัณหา.
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข้อนี้แลเป็นทุกขนิโรธอริยสัจ คือ ตัณหานั่นแลดับ โดยไม่เหลือ
ด้วยมรรคคือวิราคะ สละ สละคืน ปล่อยไป ไม่พัวพัน
.


โฮฮับ เขียน:
ทุกข์เกิดเนื่องจากมี อุปปาทานขันธ์ เป็นสมุทัย
ตัณหาเป็นเพียงเหตุปัจจัยหนึ่งใน ปฏิจสมุบาท
จะทุกข์หรือไม่ ขึ้นอยู่กับกระบวนการขันธ์ห้า

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 เม.ย. 2012, 13:00 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
แล้วไอ้ปฐมมรรคอะไรของคุณนั้นน่ะมันก็คือ สัมมาทิฐิ
ถ้าเป็นการประชุมมรรคมีองค์แปด ท่านก็สำเร็จอรหันต์แล้ว
จะต้องไปเห็นปฏิจฯอะไรกันอีก การจะสำเร็จอรหันต์ได้ จะต้องเห็นปฏิจฯเสียก่อน
และแทงตลอดหรือตัดวงจรปฏิจจฯด้วยการละสังโยชฯสิบแล้ว


Quote Tipitaka:
มรรคจิตดวงที่ ๑
[๑๙๖] ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
โยคาวจรบุคคล เจริญฌานเป็นโลกุตตระ อันเป็นเครื่องออกไปจากโลกนำไปสู่นิพพาน
เพื่อละทิฏฐิ เพื่อบรรลุภูมิเบื้องต้น สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลายแล้ว บรรลุปฐมฌาน เป็น
ทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา ประกอบด้วยวิตก วิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก อยู่ในสมัยใด
ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต วิตก วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตา สัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์
สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์ มนินทรีย์ โสมนัสสินทรีย์ ชีวิตินทรีย์ อนัญญตัญญัส-
*สามีตินทรีย์ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ
สัทธาพละ วิริยพละ สติพละ สมาธิพละ ปัญญาพละ
หิริพละ โอตตัปปพละ อโลภะ อโทสะ อโมหะ อนภิชฌา อัพยาปาทะ สัมมาทิฏฐิ หิริ
โอตตัปปะ กายปัสสัทธิ จิตตปัสสัทธิ กายลหุตา จิตตลหุตา กายมุทุตา จิตตมุทุตา
กายกัมมัญญตา จิตตกัมมัญญตา กายปาคุญญตา จิตตปาคุญญตา กายุชุกตา จิตตุชุกตา สติ
สัมปชัญญะ สมถะ วิปัสสนา ปัคคาหะ อวิกเขปะ มีในสมัยนั้น หรือนามธรรมที่อิงอาศัย
เกิดขึ้นแม้อื่นใด มีอยู่ในสมัยนั้น

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 เม.ย. 2012, 13:06 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ เขียน:
อันนี้ก็เหมือนกัน ถ้าจะไม่รู้จัก อนิจจสัญญา ทุกขสัญญา อนัตตสัญญา
อยากถามครับ สามคำที่ว่าเขาเรียกอะไร ถ้าไม่เรียก ธรรมนิยามหรือไตรลักษณ์


เป็นสัญญา คืออนิจจสัญญา ความจำได้ว่ามีอาการเกิดดับ
เป็นสัญญา คือทุกขสัญญา ความจำได้ว่ามีอาการแปรปรวน
เป็นสัญญา คืออนัตตสัญญา ความจำได้ว่าไม่อาจบังคับบัญชา ให้เป็นไป ไม่ใช่อัตตา

มันใช่แบบที่คุณบอกที่ไหน ที่คุณไม่เข้าใจไม่รู้เพราะไม่เคยเห็นแล้วก็โมเม
ไปเป็นความหมายอื่น

สัญญาในที่นี้ มันเป็นเหตุปัจจัยให้รู้ถึงการเกิดดับ
หรือการเกิดขึ้น ตั้งอยู่และดับไปของอารมณ์
พูดง่ายๆก็คือ เราไปรู้อารมณ์ใดในปัจจุบัน
จิตจะไประลึกรู้สัญญาว่า อารมณ์ที่เกิดณ.ปัจจุบันนั้น
มันเคยเกิดมาก่อนแล้ว นี่แบบนี้เขาเรียกสัญญาเป็นเหตุปัจจัย

มันเกิดผลตามมา อนิจจัง ความไม่เที่ยงของอารมณ์
ทุกขังก็คือความไม่เที่ยงของอารมณ์มันเป็นทุกข์และเป็นอนัตตา

เช่นนั้น เขียน:
พุทธศาสนา ใช้ สัญญาใด สัญญาหนึ่งในบรรดา สัญญา3 นี้
หรือใช้สัญญาสองประการควบกันในสัญญา 3 นี้
ก็สามารถบรรลุธรรมได้ เช่นกัน

การใช้อนิจจสัญญา ในการเจริญสมาธิ คือ อนิมิตสมาธิ
การใช้ทุกขสัญญา ในการเจริญสมาธิ คือ อัปณิหิตสมาธิ
การใช้อนัตตสัญญา ในการเจริญสมาธิ คือ สุญญตสมาธิ
และสมาธิ สามประการนี้ ก็รับรองอยู่ในพระธรรมวินัยว่าเป็นสมาธิในพระพุทธศาสนา

เนี่ยทำได้แต่ปัญหามันอยู่ที่ พระพุทธองค์ทรงให้มีสัมมาทิฐิก่อนหรือเปล่า
คนที่ยังไม่มีสัมมาทิฐิ ก็มักจะดื้อด้านว่าทำได้ บ้างคนเล่นไปถึงอริยมรรคมีองค์แปดนั้นเลย
เขาให้ค่อยเป็นค่อยไป ไม่สนใจเพราะตัวเองอ่านมามากรู้มากเลยหลงว่าทำได้

ตามใจครับ
:b13:
เช่นนั้น เขียน:
ไม่มีการใช้ไตรลักษณ์ นอกพุทธพจน์ ในการเจริญสมถวิปัสสนา

อีกประการ หนึ่ง "ธรรมนิยาม" ใช้ในปัจจัยสูตร อันเนื่องกับ "บัญญัติ ว่า ปฏิจจสมุปบาท"
ไม่มีไตรลักษณ์ ในพุทธศาสนา

คุณจะใช้อะไรก็ตามใจคุณ แต่เลิกงอแงย่ำคิดย่ำทำเรื่อง ไตรลักษณ์เสียที
ผมไปเถียงคุณหรือว่า ไตรลักษณ์เป็นพุทธพจน์ ผมอธิบายให้ฟังไปแล้วว่า
ไตรลักษณ์คำนี้บัญญัติที่หลัง แต่คำๆนี้ไปอธิบายความ "ธรรมนิยาม"ซึ่งเป็นพุทธพจน์
และมีอยู่จริง


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 เม.ย. 2012, 13:11 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
Quote Tipitaka:
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข้อนี้แลเป็นทุกขสมุทัยอริยสัจ คือตัณหาอันทำให้เกิดอีก ประกอบ
ด้วยความกำหนัดด้วยอำนาจความเพลิน มีปกติเพลิดเพลินในอารมณ์นั้นๆ คือ กามตัณหา
ภวตัณหา วิภวตัณหา.
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข้อนี้แลเป็นทุกขนิโรธอริยสัจ คือ ตัณหานั่นแลดับ โดยไม่เหลือ
ด้วยมรรคคือวิราคะ สละ สละคืน ปล่อยไป ไม่พัวพัน
.


โฮฮับ เขียน:
ทุกข์เกิดเนื่องจากมี อุปปาทานขันธ์ เป็นสมุทัย
ตัณหาเป็นเพียงเหตุปัจจัยหนึ่งใน ปฏิจสมุบาท
จะทุกข์หรือไม่ ขึ้นอยู่กับกระบวนการขันธ์ห้า

สังโยขน์สิบยังอยู่ ตัณหาก็ยังอยู่

พุทธพจน์ที่คุณอ้างนั้นน่ะ เป็นการดับไปของสังโยชน์สิบแล้ว
เนี่ยไงถึงบอกพวกสำเร็จอรหันต์ด้วยการอ่าน


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 เม.ย. 2012, 13:16 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ เขียน:
แล้วไอ้ปฐมมรรคอะไรของคุณนั้นน่ะมันก็คือ สัมมาทิฐิ
ถ้าเป็นการประชุมมรรคมีองค์แปด ท่านก็สำเร็จอรหันต์แล้ว
จะต้องไปเห็นปฏิจฯอะไรกันอีก การจะสำเร็จอรหันต์ได้ จะต้องเห็นปฏิจฯเสียก่อน
และแทงตลอดหรือตัดวงจรปฏิจจฯด้วยการละสังโยชฯสิบแล้ว


Quote Tipitaka:
มรรคจิตดวงที่ ๑
[๑๙๖] ธรรมเป็นกุศล เป็นไฉน?
โยคาวจรบุคคล เจริญฌานเป็นโลกุตตระ อันเป็นเครื่องออกไปจากโลกนำไปสู่นิพพาน
เพื่อละทิฏฐิ เพื่อบรรลุภูมิเบื้องต้น สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลายแล้ว บรรลุปฐมฌาน เป็น
ทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา ประกอบด้วยวิตก วิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก อยู่ในสมัยใด
ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต วิตก วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตา สัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์
สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์ มนินทรีย์ โสมนัสสินทรีย์ ชีวิตินทรีย์ อนัญญตัญญัส-
*สามีตินทรีย์ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ
สัทธาพละ วิริยพละ สติพละ สมาธิพละ ปัญญาพละ
หิริพละ โอตตัปปพละ อโลภะ อโทสะ อโมหะ อนภิชฌา อัพยาปาทะ สัมมาทิฏฐิ หิริ
โอตตัปปะ กายปัสสัทธิ จิตตปัสสัทธิ กายลหุตา จิตตลหุตา กายมุทุตา จิตตมุทุตา
กายกัมมัญญตา จิตตกัมมัญญตา กายปาคุญญตา จิตตปาคุญญตา กายุชุกตา จิตตุชุกตา สติ
สัมปชัญญะ สมถะ วิปัสสนา ปัคคาหะ อวิกเขปะ มีในสมัยนั้น หรือนามธรรมที่อิงอาศัย
เกิดขึ้นแม้อื่นใด มีอยู่ในสมัยนั้น

พุดโถ่! คุยกันตั้งนานพึ่งรู้ว่าคุยกันเรื่องฌาณ :b9:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 เม.ย. 2012, 13:16 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
สัญญาในที่นี้ มันเป็นเหตุปัจจัยให้รู้ถึงการเกิดดับ
หรือการเกิดขึ้น ตั้งอยู่และดับไปของอารมณ์
พูดง่ายๆก็คือ เราไปรู้อารมณ์ใดในปัจจุบัน
จิตจะไประลึกรู้สัญญาว่า อารมณ์ที่เกิดณ.ปัจจุบันนั้น
มันเคยเกิดมาก่อนแล้ว นี่แบบนี้เขาเรียกสัญญาเป็นเหตุปัจจัย


สัญญา ก็คือสัญญา ."จิตไประลึกรู้สัญญาว่า.."....แล้วเป็นสัญญาไหมล่ะ

โฮฮับ เขียน:
ผมอธิบายให้ฟังไปแล้วว่า
ไตรลักษณ์คำนี้บัญญัติที่หลัง แต่คำๆนี้ไปอธิบายความ "ธรรมนิยาม"ซึ่งเป็นพุทธพจน์
และมีอยู่จริง


ธรรมนิยาม อันเป็นพุทธพจน์ ....แสดงเกี่ยวกับเหตุปัจจัย ไม่ใช่ไปนิยามไตรลักษณ์ หรือเอาไตรลักษณ์มานิยามใ้ห้บิดเบือนออกไป ใช้ไตรลักษณ์มั่วๆ มาอธิบายความหมายของ "ธรรมนิยาม" ในปัจจัยสูตรไม่ได้

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 เม.ย. 2012, 13:19 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
พุดโถ่! คุยกันตั้งนานพึ่งรู้ว่าคุยกันเรื่องฌาณ


มรรคจิต ไม่ใช่เรื่องฌาน

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 เม.ย. 2012, 13:21 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ เขียน:
สัญญาในที่นี้ มันเป็นเหตุปัจจัยให้รู้ถึงการเกิดดับ
หรือการเกิดขึ้น ตั้งอยู่และดับไปของอารมณ์
พูดง่ายๆก็คือ เราไปรู้อารมณ์ใดในปัจจุบัน
จิตจะไประลึกรู้สัญญาว่า อารมณ์ที่เกิดณ.ปัจจุบันนั้น
มันเคยเกิดมาก่อนแล้ว นี่แบบนี้เขาเรียกสัญญาเป็นเหตุปัจจัย


สัญญา ก็คือสัญญา ."จิตไประลึกรู้สัญญาว่า.."....แล้วเป็นสัญญาไหมล่ะ

โฮฮับ เขียน:
ผมอธิบายให้ฟังไปแล้วว่า
ไตรลักษณ์คำนี้บัญญัติที่หลัง แต่คำๆนี้ไปอธิบายความ "ธรรมนิยาม"ซึ่งเป็นพุทธพจน์
และมีอยู่จริง


ธรรมนิยาม อันเป็นพุทธพจน์ ....แสดงเกี่ยวกับเหตุปัจจัย ไม่ใช่ไปนิยามไตรลักษณ์ หรือเอาไตรลักษณ์มานิยามใ้ห้บิดเบือนออกไป ใช้ไตรลักษณ์มั่วๆ มาอธิบายความหมายของ "ธรรมนิยาม" ในปัจจัยสูตรไม่ได้

บิดเบือนที่ไหน ไตรลักษณ์ก็แปลตรงตัวอยู่แล้วว่า
ลักษณะสามอย่าง ในธรรมนิยามก็มี ลักษณะสามอย่างนี้
คูณนี่แปลกคน งอแงเป็นเด็กไปได้ ไม่รู้ คนอื่นเขารู้ก็ทำเฉยๆซะก็หมดเรื่อง
จะตีโพยตีพายให้อายน้องๆในนี้ทำไม


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 เม.ย. 2012, 13:27 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข้อนี้แลเป็นทุกขสมุทัยอริยสัจ คือตัณหาอันทำให้เกิดอีก ประกอบ
ด้วยความกำหนัดด้วยอำนาจความเพลิน มีปกติเพลิดเพลินในอารมณ์นั้นๆ คือ กามตัณหา
ภวตัณหา วิภวตัณหา.
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข้อนี้แลเป็นทุกขนิโรธอริยสัจ คือ ตัณหานั่นแลดับ โดยไม่เหลือ
ด้วยมรรคคือวิราคะ สละ สละคืน ปล่อยไป ไม่พัวพัน.



โฮฮับ เขียน:
พุทธพจน์ที่คุณอ้างนั้นน่ะ เป็นการดับไปของสังโยชน์สิบแล้ว
เนี่ยไงถึงบอกพวกสำเร็จอรหันต์ด้วยการอ่าน


พุทธพจน์ แสดงทุกขสมุทัยอริยสัจจ์ คือ ตัณหา

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 เม.ย. 2012, 13:29 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
บิดเบือนที่ไหน ไตรลักษณ์ก็แปลตรงตัวอยู่แล้วว่า
ลักษณะสามอย่าง ในธรรมนิยามก็มี ลักษณะสามอย่างนี้
คูณนี่แปลกคน งอแงเป็นเด็กไปได้ ไม่รู้ คนอื่นเขารู้ก็ทำเฉยๆซะก็หมดเรื่อง
จะตีโพยตีพายให้อายน้องๆในนี้ทำไม[/size]


มีคำกล่าวคำแสดง ในพระสูตรไหน ในพระอภิธรรมไหน ที่เป็นพุทธพจน์ ว่า
"ธรรมนิยาม มีลักษณะสามอย่างนี้"

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 เม.ย. 2012, 14:33 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ เขียน:
บิดเบือนที่ไหน ไตรลักษณ์ก็แปลตรงตัวอยู่แล้วว่า
ลักษณะสามอย่าง ในธรรมนิยามก็มี ลักษณะสามอย่างนี้
คูณนี่แปลกคน งอแงเป็นเด็กไปได้ ไม่รู้ คนอื่นเขารู้ก็ทำเฉยๆซะก็หมดเรื่อง
จะตีโพยตีพายให้อายน้องๆในนี้ทำไม[/size]


มีคำกล่าวคำแสดง ในพระสูตรไหน ในพระอภิธรรมไหน ที่เป็นพุทธพจน์ ว่า
"ธรรมนิยาม มีลักษณะสามอย่างนี้"

เอามาให้ดูซ้ำ

[๙๑] พระนครสาวัตถี ฯลฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย รูปไม่เที่ยง สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้น
เป็นทุกข์ สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้นเป็นอนัตตา สิ่งใดเป็นอนัตตา เธอทั้งหลาย พึงเห็นสิ่งนั้น
ด้วยปัญญาอันชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา. นั่นไม่เป็นเรา นั่นไม่ใช่ตัวตน
ของเรา. เมื่อเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ จิตย่อมคลายกำหนัด ย่อมหลุดพ้น
จากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่ถือมั่น. เวทนาไม่เที่ยง ... สัญญาไม่เที่ยง ... สังขารไม่เที่ยง ... วิญญาณ
ไม่เที่ยง สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์ สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้นเป็นอนัตตา สิ่งใดเป็นอนัตตา
เธอทั้งหลาย พึงเห็นสิ่งนั้น ด้วยปัญญาอันชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา.
นั่นไม่เป็นเรา นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา เมื่อเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามความจริงอย่างนี้ จิตย่อม
คลายกำหนัด ย่อมหลุดพ้นจากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่ถือมั่น.


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 117 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร