วันเวลาปัจจุบัน 20 ก.ค. 2025, 03:22  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 261 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 6, 7, 8, 9, 10, 11, 12 ... 18  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ก.ค. 2012, 18:42 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 ก.พ. 2012, 12:27
โพสต์: 2372

แนวปฏิบัติ: ปฏิจจสมุปบาท และกรรมฐาน
งานอดิเรก: สวดมนต์รภาวนา
อายุ: 27

 ข้อมูลส่วนตัว


bigtoo เขียน:
walaiporn เขียน:
bigtoo เขียน:
ฝากเป็นข้อคิดบางคนสงสัยว่า ไปเจอมาโดนใจมากๆ บางคนสงสัยว่า ศีลเป็นเพียง บันไดขั้นต้น ไม่น่าจะทำให้ถึงนิพพาน ต้องสมาธิ ปัญญา จึงจะถึงได้ เสร็จแล้ว ก็หวนมาแปลงคำแปล “นิพพุติง ยันติ” แปลว่า “ถึงความเยือกเย็น” อย่างนี้เป็นต้น แต่ความจริงแล้ว ขอให้ดู ในพรหมจรรย์ ทั้ง ๑๐ ข้อนั้นท่านจะเห็นได้ว่า ศีลเป็นปัจจัยสำคัญ ในการตัด จากโลกีย์ ตั้งแต่ต้น จนตลอดเลยถ้าหากจะเอาศีล เปรียบกับบันได ก็ไม่ควรเปรียบ กับขั้นบันได แต่ควรเปรียบ กับแม่บันไดบันไดสูงเท่าไร แม่บันได ก็ต้องสูงเท่านั้นปลายข้าง ของแม่บันได จดที่พื้นล่าง... อีกข้าง จดพื้นบนศีลก็เหมือนกัน จำเป็น ตั้งแต่เริ่มต้น จนกระทั่งสุดเขตโลกีย์.......นี่ขอฝาก ไว้เป็นข้อคิด.
ศิล ตามที่คุณกล่าวมา ล้วนเป็น สีลัพพตปรามาส ศิล ที่สามารถ บรรลุ มรรค ผล นิพพานได้ คือ ศิล ที่หมายถึง ความปกติ
ได้ยินมาเยอะความว่าปกติ มันเป็นอย่างไร เหมือนชีวิตคุณหรือเปล่าครับ :b37:

ให้คุนน้องตอบคำถามนี้บางทีท่านบิกทู่อาจจะเข้าใจการกินที่เป็นปกติ โดยไม่ยึดมั่นถือมั่น :b43:
สมมุติกรณี ถือศีลด้วยการไม่กินเนื้อสัตว์เราก็ปฏิบัติไปโดยการไม่ต้องไปยึดติด ถ้าสมมติกรณีมีเหตุที่เราจะต้องย้ายสถานที่ หรือไปอยู่สถานที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการกินเจ ไม่เอื้ออำนวยต่อการปรุงอาหาร หรือต้องกินตามเหตุปัจจัยที่เป็นอยู่ ก็กินไปตามปกติวิสัย ไม่ต้องรู้สึกตะขิดตะข่วนใจว่า ฉันผิดศีลเพราะฉันต้องมากินเนื้อสัตว์ สมมติคุนน้องไปเยี่ยม พ่อแม่สามี แล้วก็บอกว่าปฏิบัติธรรมกินเนื้อสัตว์ไม่ได้ แต่ท่านทั้งสองก็ปรุงอาหารที่มีเนื้อเสร็จเรียบร้อยแล้ว เราก็ต้องกินไปตามปกติ ไม่ใช่ไปบอกกับท่านว่า ถือศีลอยู่กินเนื้อสัตว์ไม่ได้ มันจะเป็นการทำให้คนรอบข้างลำบากใจแก่เรา และมันจะเป็นการยกตนข่มท่านไปโดยปริยาย ศีลคือความเป็นปกติของใจเจ้าค่ะ :b1:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ก.ค. 2012, 19:13 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 มิ.ย. 2012, 14:54
โพสต์: 2805


 ข้อมูลส่วนตัว


nongkong เขียน:
bigtoo เขียน:
walaiporn เขียน:
bigtoo เขียน:
ฝากเป็นข้อคิดบางคนสงสัยว่า ไปเจอมาโดนใจมากๆ บางคนสงสัยว่า ศีลเป็นเพียง บันไดขั้นต้น ไม่น่าจะทำให้ถึงนิพพาน ต้องสมาธิ ปัญญา จึงจะถึงได้ เสร็จแล้ว ก็หวนมาแปลงคำแปล “นิพพุติง ยันติ” แปลว่า “ถึงความเยือกเย็น” อย่างนี้เป็นต้น แต่ความจริงแล้ว ขอให้ดู ในพรหมจรรย์ ทั้ง ๑๐ ข้อนั้นท่านจะเห็นได้ว่า ศีลเป็นปัจจัยสำคัญ ในการตัด จากโลกีย์ ตั้งแต่ต้น จนตลอดเลยถ้าหากจะเอาศีล เปรียบกับบันได ก็ไม่ควรเปรียบ กับขั้นบันได แต่ควรเปรียบ กับแม่บันไดบันไดสูงเท่าไร แม่บันได ก็ต้องสูงเท่านั้นปลายข้าง ของแม่บันได จดที่พื้นล่าง... อีกข้าง จดพื้นบนศีลก็เหมือนกัน จำเป็น ตั้งแต่เริ่มต้น จนกระทั่งสุดเขตโลกีย์.......นี่ขอฝาก ไว้เป็นข้อคิด.
ศิล ตามที่คุณกล่าวมา ล้วนเป็น สีลัพพตปรามาส ศิล ที่สามารถ บรรลุ มรรค ผล นิพพานได้ คือ ศิล ที่หมายถึง ความปกติ
ได้ยินมาเยอะความว่าปกติ มันเป็นอย่างไร เหมือนชีวิตคุณหรือเปล่าครับ :b37:
ให้คุนน้องตอบคำถามนี้บางทีท่านบิกทู่อาจจะเข้าใจการกินที่เป็นปกติ โดยไม่ยึดมั่นถือมั่น :b43: สมมุติกรณี ถือศีลด้วยการไม่กินเนื้อสัตว์เราก็ปฏิบัติไปโดยการไม่ต้องไปยึดติด ถ้าสมมติกรณีมีเหตุที่เราจะต้องย้ายสถานที่ หรือไปอยู่สถานที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการกินเจ ไม่เอื้ออำนวยต่อการปรุงอาหาร หรือต้องกินตามเหตุปัจจัยที่เป็นอยู่ ก็กินไปตามปกติวิสัย ไม่ต้องรู้สึกตะขิดตะข่วนใจว่า ฉันผิดศีลเพราะฉันต้องมากินเนื้อสัตว์ สมมติคุนน้องไปเยี่ยม พ่อแม่สามี แล้วก็บอกว่าปฏิบัติธรรมกินเนื้อสัตว์ไม่ได้ แต่ท่านทั้งสองก็ปรุงอาหารที่มีเนื้อเสร็จเรียบร้อยแล้ว เราก็ต้องกินไปตามปกติ ไม่ใช่ไปบอกกับท่านว่า ถือศีลอยู่กินเนื้อสัตว์ไม่ได้ มันจะเป็นการทำให้คนรอบข้างลำบากใจแก่เรา และมันจะเป็นการยกตนข่มท่านไปโดยปริยาย ศีลคือความเป็นปกติของใจเจ้าค่ะ :b1:
ไม่ค่อยเข้าใจคำถามสักเท่าไหร่ครับ ตอบแบบนี้นะ กินอะไรก็กินได้ทั้งนั้น ไม่ว่าผักหรือเนื้อสัตว์ ไม่ต้องยกเว้นสิ่งนั้นเพื่อการปฎิบัติธรรม มันไม่มีประโยชน์หรือเอื้อในการบรรลุธรรมเลย เป็นการเพิ่มภาระให้ตนเองและผู้อื่น เพียงแต่พยายามไม่ไปติดใจในรสชาติอาหารก็เพียงพอแล้ว และก็รู้จักพอประมาณในการกินเท่านั้นเองเช่น สำหรับคนปฎิบัติธรรมแล้วควรสัก2มื้อกำลังดี เพื่อเป็นการขัดเกลากิเลส สนันสนุนแก่การบรรลุธรรม แต่ถ้าไม่ได้3มื้อก็ได้ ผู้รู้ท่านกล่าวไว้ว่ามื้อที่3นั้นมันเป็นการสนับสนุนกาม เมื่อท่านปฎิบัติธรรมถูกทางแล้ว ตัวท่านจะมีคำตอบเองนะ ใครจะมานั่งทนหิวโดยไม่มีเหตุผลหรอกครับ พระพุทธองค์ทรงมีปัญญามากท่านทำอย่างไรก็พยายามทำอย่างนั้นไม่มีเสียรับรองมีแต่ได้ครับ ส่วนใครจะตีความอย่างไรแล้วแต่คนนั้น คนเราทิฎฐิมันไม่เหมือนกันครับ คนเรามักจะเข้าข้างกิเลสกันสะส่วนใหญ่ จะทำตามพระพุทธองค์ หรือบุคคลธรรมดาก็เลือกดูได้นี่ครับ :b4:

.....................................................
อย่าลืมทำกิจในอริยสัจ
เราจะเดินให้สุดทาง http://www.thaidhamma.net


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ก.ค. 2012, 19:34 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 ก.พ. 2012, 12:27
โพสต์: 2372

แนวปฏิบัติ: ปฏิจจสมุปบาท และกรรมฐาน
งานอดิเรก: สวดมนต์รภาวนา
อายุ: 27

 ข้อมูลส่วนตัว


bigtoo เขียน:
nongkong เขียน:
bigtoo เขียน:
walaiporn เขียน:
bigtoo เขียน:
ฝากเป็นข้อคิดบางคนสงสัยว่า ไปเจอมาโดนใจมากๆ บางคนสงสัยว่า ศีลเป็นเพียง บันไดขั้นต้น ไม่น่าจะทำให้ถึงนิพพาน ต้องสมาธิ ปัญญา จึงจะถึงได้ เสร็จแล้ว ก็หวนมาแปลงคำแปล “นิพพุติง ยันติ” แปลว่า “ถึงความเยือกเย็น” อย่างนี้เป็นต้น แต่ความจริงแล้ว ขอให้ดู ในพรหมจรรย์ ทั้ง ๑๐ ข้อนั้นท่านจะเห็นได้ว่า ศีลเป็นปัจจัยสำคัญ ในการตัด จากโลกีย์ ตั้งแต่ต้น จนตลอดเลยถ้าหากจะเอาศีล เปรียบกับบันได ก็ไม่ควรเปรียบ กับขั้นบันได แต่ควรเปรียบ กับแม่บันไดบันไดสูงเท่าไร แม่บันได ก็ต้องสูงเท่านั้นปลายข้าง ของแม่บันได จดที่พื้นล่าง... อีกข้าง จดพื้นบนศีลก็เหมือนกัน จำเป็น ตั้งแต่เริ่มต้น จนกระทั่งสุดเขตโลกีย์.......นี่ขอฝาก ไว้เป็นข้อคิด.
ศิล ตามที่คุณกล่าวมา ล้วนเป็น สีลัพพตปรามาส ศิล ที่สามารถ บรรลุ มรรค ผล นิพพานได้ คือ ศิล ที่หมายถึง ความปกติ
ได้ยินมาเยอะความว่าปกติ มันเป็นอย่างไร เหมือนชีวิตคุณหรือเปล่าครับ :b37:
ให้คุนน้องตอบคำถามนี้บางทีท่านบิกทู่อาจจะเข้าใจการกินที่เป็นปกติ โดยไม่ยึดมั่นถือมั่น :b43: สมมุติกรณี ถือศีลด้วยการไม่กินเนื้อสัตว์เราก็ปฏิบัติไปโดยการไม่ต้องไปยึดติด ถ้าสมมติกรณีมีเหตุที่เราจะต้องย้ายสถานที่ หรือไปอยู่สถานที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการกินเจ ไม่เอื้ออำนวยต่อการปรุงอาหาร หรือต้องกินตามเหตุปัจจัยที่เป็นอยู่ ก็กินไปตามปกติวิสัย ไม่ต้องรู้สึกตะขิดตะข่วนใจว่า ฉันผิดศีลเพราะฉันต้องมากินเนื้อสัตว์ สมมติคุนน้องไปเยี่ยม พ่อแม่สามี แล้วก็บอกว่าปฏิบัติธรรมกินเนื้อสัตว์ไม่ได้ แต่ท่านทั้งสองก็ปรุงอาหารที่มีเนื้อเสร็จเรียบร้อยแล้ว เราก็ต้องกินไปตามปกติ ไม่ใช่ไปบอกกับท่านว่า ถือศีลอยู่กินเนื้อสัตว์ไม่ได้ มันจะเป็นการทำให้คนรอบข้างลำบากใจแก่เรา และมันจะเป็นการยกตนข่มท่านไปโดยปริยาย ศีลคือความเป็นปกติของใจเจ้าค่ะ :b1:
ไม่ค่อยเข้าใจคำถามสักเท่าไหร่ครับ ตอบแบบนี้นะ กินอะไรก็กินได้ทั้งนั้น ไม่ว่าผักหรือเนื้อสัตว์ ไม่ต้องยกเว้นสิ่งนั้นเพื่อการปฎิบัติธรรม มันไม่มีประโยชน์หรือเอื้อในการบรรลุธรรมเลย เป็นการเพิ่มภาระให้ตนเองและผู้อื่น เพียงแต่พยายามไม่ไปติดใจในรสชาติอาหารก็เพียงพอแล้ว และก็รู้จักพอประมาณในการกินเท่านั้นเองเช่น สำหรับคนปฎิบัติธรรมแล้วควรสัก2มื้อกำลังดี เพื่อเป็นการขัดเกลากิเลส สนันสนุนแก่การบรรลุธรรม แต่ถ้าไม่ได้3มื้อก็ได้ ผู้รู้ท่านกล่าวไว้ว่ามื้อที่3นั้นมันเป็นการสนับสนุนกาม เมื่อท่านปฎิบัติธรรมถูกทางแล้ว ตัวท่านจะมีคำตอบเองนะ ใครจะมานั่งทนหิวโดยไม่มีเหตุผลหรอกครับ พระพุทธองค์ทรงมีปัญญามากท่านทำอย่างไรก็พยายามทำอย่างนั้นไม่มีเสียรับรองมีแต่ได้ครับ ส่วนใครจะตีความอย่างไรแล้วแต่คนนั้น คนเราทิฎฐิมันไม่เหมือนกันครับ คนเรามักจะเข้าข้างกิเลสกันสะส่วนใหญ่ จะทำตามพระพุทธองค์ หรือบุคคลธรรมดาก็เลือกดูได้นี่ครับ :b4:

คนปฏิบัติธรรมเค้าจะรู้เองว่า กินแค่ไหนเพื่อให้ร่างกายมีชีวิตอยู่โดยไม่ทรมานธาตุขันธ์ของตน ไม่ได้หมายความว่า
เรากินอาหารมื้อเดียว เรากินเจ เราดีเลิศประเสร็ฐกว่าคนอื่นที่กิน2มื้อหรือ3มื้อก็ตามแต่.. พระพุทธองค์ท่านก็ไม่สนับสนุนให้สาวกประพฤติตนเช่นนั้น คุนน้องกล้าพูดด้วยสัจจะวาจาว่า พระพุทธองค์ไม่ได้สนับสนุนให้สาวกบรรลุธรรมโดยการ กินอาหารมื้อเดียว หรือกินเจ แต่ถ้าเราไม่เห็นประโยชน์ในอาหารมื้อนั้นก็มิควรกิน แต่ถ้ากินแล้วเห็นประโยชน์ในอาหารมื้อนั้นก็กินไปตามปกติวิสัย สำหรับผู้มีปัญญาแล้วย่อมจะเข้าใจคำกล่าวนี้ บารมี10 ไม่ใช่จะเฉพาะเจาะจงแต่เรื่องการกิน ถ้าท่านจะกล่าวว่าท่านมีขันติ มีความอดทนอดกลั้นในรสอาหาร รสกาม คุนน้องก็กล้าบอกท่านว่า คุนน้องเห็นรสอาหารเป็นเรื่องปกติ เห็นกามเมเป็นของธรรมดาที่ไม่จำเป็นต้องอดทนอดกลั้นเลยแม้แต่นิดเดียว เพราะคุนน้องไม่ได้ทุกข์กับสิ่งเหล่านั้นเลย แล้วทำไมคุนน้องต้องมีขันติ อดทนอดกลั้นต่อรสอาหารและเรื่องกามเม :b9:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ก.ค. 2012, 20:03 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 มิ.ย. 2012, 14:54
โพสต์: 2805


 ข้อมูลส่วนตัว


nongkong เขียน:
bigtoo เขียน:
nongkong เขียน:
bigtoo เขียน:
walaiporn เขียน:
bigtoo เขียน:
ฝากเป็นข้อคิดบางคนสงสัยว่า ไปเจอมาโดนใจมากๆ บางคนสงสัยว่า ศีลเป็นเพียง บันไดขั้นต้น ไม่น่าจะทำให้ถึงนิพพาน ต้องสมาธิ ปัญญา จึงจะถึงได้ เสร็จแล้ว ก็หวนมาแปลงคำแปล “นิพพุติง ยันติ” แปลว่า “ถึงความเยือกเย็น” อย่างนี้เป็นต้น แต่ความจริงแล้ว ขอให้ดู ในพรหมจรรย์ ทั้ง ๑๐ ข้อนั้นท่านจะเห็นได้ว่า ศีลเป็นปัจจัยสำคัญ ในการตัด จากโลกีย์ ตั้งแต่ต้น จนตลอดเลยถ้าหากจะเอาศีล เปรียบกับบันได ก็ไม่ควรเปรียบ กับขั้นบันได แต่ควรเปรียบ กับแม่บันไดบันไดสูงเท่าไร แม่บันได ก็ต้องสูงเท่านั้นปลายข้าง ของแม่บันได จดที่พื้นล่าง... อีกข้าง จดพื้นบนศีลก็เหมือนกัน จำเป็น ตั้งแต่เริ่มต้น จนกระทั่งสุดเขตโลกีย์.......นี่ขอฝาก ไว้เป็นข้อคิด.
ศิล ตามที่คุณกล่าวมา ล้วนเป็น สีลัพพตปรามาส ศิล ที่สามารถ บรรลุ มรรค ผล นิพพานได้ คือ ศิล ที่หมายถึง ความปกติ
ได้ยินมาเยอะความว่าปกติ มันเป็นอย่างไร เหมือนชีวิตคุณหรือเปล่าครับ :b37:
ให้คุนน้องตอบคำถามนี้บางทีท่านบิกทู่อาจจะเข้าใจการกินที่เป็นปกติ โดยไม่ยึดมั่นถือมั่น :b43: สมมุติกรณี ถือศีลด้วยการไม่กินเนื้อสัตว์เราก็ปฏิบัติไปโดยการไม่ต้องไปยึดติด ถ้าสมมติกรณีมีเหตุที่เราจะต้องย้ายสถานที่ หรือไปอยู่สถานที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการกินเจ ไม่เอื้ออำนวยต่อการปรุงอาหาร หรือต้องกินตามเหตุปัจจัยที่เป็นอยู่ ก็กินไปตามปกติวิสัย ไม่ต้องรู้สึกตะขิดตะข่วนใจว่า ฉันผิดศีลเพราะฉันต้องมากินเนื้อสัตว์ สมมติคุนน้องไปเยี่ยม พ่อแม่สามี แล้วก็บอกว่าปฏิบัติธรรมกินเนื้อสัตว์ไม่ได้ แต่ท่านทั้งสองก็ปรุงอาหารที่มีเนื้อเสร็จเรียบร้อยแล้ว เราก็ต้องกินไปตามปกติ ไม่ใช่ไปบอกกับท่านว่า ถือศีลอยู่กินเนื้อสัตว์ไม่ได้ มันจะเป็นการทำให้คนรอบข้างลำบากใจแก่เรา และมันจะเป็นการยกตนข่มท่านไปโดยปริยาย ศีลคือความเป็นปกติของใจเจ้าค่ะ :b1:
ไม่ค่อยเข้าใจคำถามสักเท่าไหร่ครับ ตอบแบบนี้นะ กินอะไรก็กินได้ทั้งนั้น ไม่ว่าผักหรือเนื้อสัตว์ ไม่ต้องยกเว้นสิ่งนั้นเพื่อการปฎิบัติธรรม มันไม่มีประโยชน์หรือเอื้อในการบรรลุธรรมเลย เป็นการเพิ่มภาระให้ตนเองและผู้อื่น เพียงแต่พยายามไม่ไปติดใจในรสชาติอาหารก็เพียงพอแล้ว และก็รู้จักพอประมาณในการกินเท่านั้นเองเช่น สำหรับคนปฎิบัติธรรมแล้วควรสัก2มื้อกำลังดี เพื่อเป็นการขัดเกลากิเลส สนันสนุนแก่การบรรลุธรรม แต่ถ้าไม่ได้3มื้อก็ได้ ผู้รู้ท่านกล่าวไว้ว่ามื้อที่3นั้นมันเป็นการสนับสนุนกาม เมื่อท่านปฎิบัติธรรมถูกทางแล้ว ตัวท่านจะมีคำตอบเองนะ ใครจะมานั่งทนหิวโดยไม่มีเหตุผลหรอกครับ พระพุทธองค์ทรงมีปัญญามากท่านทำอย่างไรก็พยายามทำอย่างนั้นไม่มีเสียรับรองมีแต่ได้ครับ ส่วนใครจะตีความอย่างไรแล้วแต่คนนั้น คนเราทิฎฐิมันไม่เหมือนกันครับ คนเรามักจะเข้าข้างกิเลสกันสะส่วนใหญ่ จะทำตามพระพุทธองค์ หรือบุคคลธรรมดาก็เลือกดูได้นี่ครับ :b4:

คนปฏิบัติธรรมเค้าจะรู้เองว่า กินแค่ไหนเพื่อให้ร่างกายมีชีวิตอยู่โดยไม่ทรมานธาตุขันธ์ของตน ไม่ได้หมายความว่า
เรากินอาหารมื้อเดียว เรากินเจ เราดีเลิศประเสร็ฐกว่าคนอื่นที่กิน2มื้อหรือ3มื้อก็ตามแต่.. พระพุทธองค์ท่านก็ไม่สนับสนุนให้สาวกประพฤติตนเช่นนั้น คุนน้องกล้าพูดด้วยสัจจะวาจาว่า พระพุทธองค์ไม่ได้สนับสนุนให้สาวกบรรลุธรรมโดยการ กินอาหารมื้อเดียว หรือกินเจ แต่ถ้าเราไม่เห็นประโยชน์ในอาหารมื้อนั้นก็มิควรกิน แต่ถ้ากินแล้วเห็นประโยชน์ในอาหารมื้อนั้นก็กินไปตามปกติวิสัย สำหรับผู้มีปัญญาแล้วย่อมจะเข้าใจคำกล่าวนี้ บารมี10 ไม่ใช่จะเฉพาะเจาะจงแต่เรื่องการกิน ถ้าท่านจะกล่าวว่าท่านมีขันติ มีความอดทนอดกลั้นในรสอาหาร รสกาม คุนน้องก็กล้าบอกท่านว่า คุนน้องเห็นรสอาหารเป็นเรื่องปกติ เห็นกามเมเป็นของธรรมดาที่ไม่จำเป็นต้องอดทนอดกลั้นเลยแม้แต่นิดเดียว เพราะคุนน้องไม่ได้ทุกข์กับสิ่งเหล่านั้นเลย แล้วทำไมคุนน้องต้องมีขันติ อดทนอดกลั้นต่อรสอาหารและเรื่องกามเม :b9:

:b8:

.....................................................
อย่าลืมทำกิจในอริยสัจ
เราจะเดินให้สุดทาง http://www.thaidhamma.net


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ก.ค. 2012, 04:01 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


bigtoo เขียน:
ใครว่าผมไม่มีกิเลส การที่ไม่ยุ่งกันนั้นไม่ได้หมายความว่าไม่มีกิเลสครับ
มันก็มีอยู่แต่รู้จักหักห้ามใจนะครับ เหมือนกินข้าวมื้อเดียวนะครับเข้าเรียกว่าขันติ อดกั้น อดทน
วางอุเบกขา รู้เท่าทันกิเลสนะครับไม่ให้มันทำอะไรเสร็จกิจ

ใครจะไปว่าคุณไม่มีกิเลส ผมกำลังว่าคุณมีกิเลสแล้วยังไม่รู้ คิดว่าตัวเอง วางอุเบกขาได้
บรรลุแล้ว มันก็เป็นคุณพูดเองทั้งนั้น

แล้วไอ้การกินข้าวมื้อเดียวเรียกขันติหรือ ขันติคือความอดทนอดกลั้นต่อสิ่งที่มา
กระทบกายใจเรา สำหรับคุณอะไรไปกระทบครับ มันเป็นตัวคุณเองทั้งนั้น
อยู่ดีๆไปทรมาณร่างกายตัวเอง แล้วบอก อดทนอดกลั้น มันต้องไม่มีกิน ติดเกาะ
อะไรเทือกนี้แล้วอดทนต่อความหิว แบบนี้จึงเรียกขันติ
รู้มั้ยว่าที่ทำอยู่กำลังสร้างกิเลสให้ตัวเองอยู่ จะบอกให้ที่ยังไม่เข้าใจเป็นเพราะ
ไม่รู้จักตัวกิเลส คิดว่ากิเลสคือความชั่ว มันใช่ซะที่ไหน ทั้งดีและชั่วกด็คือกิเลส
มันเป็นการปรุงแต่งของกิเลส

bigtoo เขียน:
ความรู้สึกแบบนี้มันเกิดขึ้นแล้วก็ดับไปนะครับท่าน มันอยู่ไม่นานหรอกครับ
ลำบากกว่านี้ยังผ่านมาได้ แค่นี้สบายแล้วครับ นี่ไงครับผลของการปฎิบัติละครับ ไม่ใช่อะไร
ก็กระโดดใส่

ที่บอกเกิดขึ้นแล้วก็ดับไป เข้าใจดีแล้วรึ ไอ้ความหิวมันเป็นผัสสะ มันเกิดดับแล้วก็เกิดดับต่อเนื่อง
จนกว่าผัสสะในรูปแบบใหม่จะเข้ามา นั้นก็คือได้กินอาหารมื้อต่อไปนั้นแหล่ะ
อย่างคุณเขาไม่เรียกปฏิบัติธรรมครับ เขาเรียกลดความอ้วน
bigtoo เขียน:
ส่วนเรื่องภรรยาผม บอกแล้วไงครับว่าเราต้องมีส่วนร่วมกันในการใช้ชีวิต
ทำอะไรก็ต้องถามความยินยอมกันก่อน เราถือว่าเป็นการอนุเคราะห์ กันครับ ถ้าผมเริ่ม
มันก็ทำให้เขาไม่ก้าวหน้าเหมือนกัน
ส่วนเรื่องที่เขาจะไปไหนมาไหนนั้นมันเป็นนิสัยส่วนตัวผมสะด้วย ผมให้อิสละกับเรื่องนี้กับทุกคนไม่เคยติดตามถามไถ่ ทุกคนล้วนต้องการอิสละ ผมยังต้องการอิสละเลย ส่วนถ้ามันเกิดเรื่องนั้นจริงๆแล้วผมเห็นเข้าตำตา ตอบแบบตรงๆนะครับก็อาจจะมีความรู้สึกบ้าง แต่ผมคงไม่เห็นหรอกครับถ้าเขาไมพากันทำแบบนั้นที่บ้าน เพราะผมไม่ออกบ้านอยู่แล้ว

แต่ผมโชคดีเพราะภรรยาเป็นคนบอกเรื่องนี้กับผมก่อน ผมก็เลยไม่ต้องกังวลมาก ส่วนที่คุณว่ากิเลสมันมีอำนาจ นั้นไม่ผิดหรอกครับ ก็เพราะรู้ว่ามันมีอำนาจซิครับเราต้องมีขบวนการการใช้ชีวิต ขบวนการกำจัด มันต้องละเอียดรอบครอบ สิ่งไหนอบรมมันได้ก็อบรมมัน เวลาเราจริงๆไม่รู้ว่าเหลือกันคนละเท่าไหร่ ไม่แน่ชาติหน้ามาก่อนวันพรุ่งนี้ละทำยังไง เราต้องไม่ประมาทครับ ความตายมาเยือนได้ทุกเวลา :

คุณนี่ไปได้เรื่อยๆ มันจะตรงประเด็นหรือเปล่าไม่รู้ไม่สน จะไปซะอย่าง
พออีกฝ่ายชี้ปัญหาตรงจุด ก็แถไปทางอื่น ตอนแรกก็โม้ว่าตัวเอง ดีอย่างโน้น
ดีอย่างนี้ ตัวเองมีเมียสวยแต่ไม่ยุ่งกับเมีย มีความอดทน อดกลั้นต่อกิเลส
พอเขาบอกว่า มันต้องดูที่เมียถ้าเมียไปยุ่งกับคนอื่น คุณจะอดทนอดกลั้นมั้ย

ดันแต่งเรื่องมาใหม่ บอกทำนองว่าเมียก็ดีด้วยปฏิบัติด้วย
อย่างบิกทู่นี่ ผมว่าอย่ามาคุยธรรมเลย ไปคุยการเมืองดีกว่าครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ก.ค. 2012, 04:29 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


bigtoo เขียน:
โฮฮับ เขียน:
bigtoo เขียน:
คุณน้องจะกินกี่มื้อก็กินได้ครับคุณน้องเป็นผู้ปฎิบัติธรรม ไม่ได้เป็นผู้ประกาศว่าสำเร็จธรรม แต่กฎในศิลพรหมจรย์ในตำราหลังเที่ยงห้ามรับประทานนะครับ :b4: :b4:

คุณบิกทู่คิดกลับตาลปัตรหรือเปล่าครับ เณร เถร ชี เขาก็ห้ามกินอาหารหลังเที่ยง
เอางี้ผมจะสมมุติง่ายให้ดู เพราะผมเห็นว่าคุณยังคิดอะไรตื้นๆ

คุณรู้จักเขาทรายกาแลคซี่มั้ยครับ ในขณะที่ไต่เต้ามาเป็นแชมป์
จนแขวนนวม เมื่อแขวนนวมแล้วก็ยังเป็นแชมป์ตลอดกาลนี่
ถามหน่อยครับ เขาทรายยังต้องออกกำลัง ยังต้องลดน้ำหนักจำกัดอาหารเหมือนตอน
ที่ยังไม่ได้เป็นแชมป์มั้ยครับ
มีด้วยเหรอ :b3: :b3: ศิล8เขามีไว้ให้เณรชี อย่างเดียว สมาทานแล้วก็เหมือนกันหมดละครับคุณนี่แนะนำยังไง:b34: :b34:
งั้นพระพุทธองค์ก็คงบอกให้สาวกของท่านที่สำเร็จอรหันต์แล้วฉันอาหารกันตามสบายซิครับ อย่าบอกนะเป็นวินัยสงฆ์ ถึงเขาทรายจะชนะเป็นแชมป์แล้วมีค่าอะไรมาก ไม่เหมือนพรพุทธองค์ทรงชนะมาร มีคุณค่ามหาศาล คุณเปรียบเทียบผิดแล้วครับ พี่โฮ :b4: :b4: :b4:

จะอ่านอะไรมันต้องมีสติ มีสมาธิพิจารณาธรรมตามไปด้วย ไม่ใช่อ่านแต่ตัวอักษร
ที่อยู่ตรงหน้า มันต้องเอาเหตุปัจจัยที่ต่อเนื่องมาพิจารณาด้วย

อย่าทำแบบคุณฝึกจิต ที่ชอบโพสคำสอนของคนอื่น กับแค่เห็นมีตัวอักษรเหมือนกัน
แบบนี้เขาเรียกว่า ไม่รู้จักการพิจารณาธรรม เหมือนนกแก้วนกขุนทอง ให้พูดอะไรก็พูดได้
แต่ไม่เข้าใจความหมาย

ที่ผมอ้างเถร เณร ชี ก็เพราะคุณบอกว่า เป็นผู้ปฏิบัติธรรม ไม่ใช่ผู้สำเร็จธรรม
จะกินกี่มื้อก็ได้ คนที่อยู่ในสถานะเถร เณร ชี ส่วนใหญ่ก็ไม่ได้สำเร็จธรรม เขาได้ชื่อว่า
เป็นผู้ปฏิบัติธรรมแต่เขาก็ไม่กินอาหารหลังเที่ยง เข้าใจมั้ย


แล้วไอ้เรื่องเขาทรายก็เหมือนกัน ไม่ได้ให้เอาเขาทรายมาเปรียบกับพุทธองค์หรืออริยะ
เขาให้ดูการปฏิบัติ ให้สู่ความสำเร็จ เมื่อสำเร็จแล้วสิ่งที่ผ่านมาก็ไม่มีความหมาย

เหมือนเขาทรายได้แชมป์แล้ว ก็ปล่อยวางแชมป์คืนไป เขาทรายก็ไม่ต้องไปฝึกแบบเมื่อก่อน
วิธีการนั้นไม่มีความหมายแล้ว เพราะสำเร็จแล้ว

มันก็เหมือนปุถุชน ยังมีสิ่งที่เรียกว่าความยึดมั่นอยู่ จึงต้องเลือกยึดแต่สิ่งที่ดีเช่นศีล
แต่พระพุทธองค์ทรงบอกว่า ความทุกข์คือการเวียนว่ายตายเกิด และสิ่งที่ทำให้เวียนว่าย
ตายเกิด คือ ความยึดมั่นถือมั่น

ศีลถ้าเราไม่สนใจที่จะกระทำในสิ่งที่ห้าม มันก็ไม่เกิดการกระทำ แบบนี้เขาเรียกว่า ความเป็นปกติ
มันเป็นสัมมาศีล แต่ถ้าเราไปสมาทานตั้งใจมันเกิดการเจตนาขึ้น มันก็เกิดการกระทำขึ้นแล้ว
เรียกว่า การกระทำที่จะไม่กระทำ ที่พูดมาก็คือไปยึดมั่นหรือทำให้ผิดปกติ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ก.ค. 2012, 04:43 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 03 ธ.ค. 2011, 21:40
โพสต์: 952


 ข้อมูลส่วนตัว


พระพุทธเจ้า ประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน เมืองสาวัตถี ได้ตรัสถึงเหตุผลของการฉันอาหารวันละหนเดียว และทรงขอร้องภิกษุว่า

“ภิกษุทั้งหลาย! มีอยู่คราวหนึ่ง พวกภิกษุได้ทำให้จิตของเรา มีความยินดีเป็นอันมาก เราขอเตือนภิกษุทั้งหลาย ไว้ในที่นี้ว่า

ภิกษุทั้งหลาย! เราฉันอาหารวันละหนเดียว เมื่อเราฉันอาหารวันละหนเดียวอยู่แล รู้สึกว่ามีโรคน้อย มีความลำบากกายน้อย มีความเบากาย มีกำลังและเป็นอยู่อย่างผาสุก

ภิกษุทั้งหลาย! ถึงพวกเธอ ก็จงฉันอาหาร วันละหนเดียวเถิด ถ้าพวกเธอฉันอาหารวันละหนเดียว เธอจะรู้สึกว่ามีโรคน้อย มีความลำบากกายน้อย มีความเบากาย มีกำลังและเป็นอยู่อย่างผาสุก”.

กกจูปมสูตร ๑๒/๒๐๓

[๒๖๕] ครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคตรัส เรียกภิกษุทั้งหลายมาตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมัยหนึ่ง พวกภิกษุได้ทำจิตของเราให้ยินดีเป็นอันมาก เราขอเตือนภิกษุทั้งหลายไว้ในที่นี้ว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราฉันอาหารที่อาสนะแห่งเดียว เมื่อเราฉันอาหารที่อาสนะแห่งเดียวอยู่แล รู้สึกว่ามีอาพาธน้อย มีความลำบากกายน้อย มีความเบากาย มีกำลัง และอยู่อย่างผาสุก ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถึงพวกเธอก็จงฉันอาหารที่อาสนะแห่งเดียวเถิด แม้พวกเธอฉันอาหารที่อาสนะแห่งเดียวกัน ก็จะรู้สึกว่ามีอาพาธน้อย มีความลำบากกายน้อย มีความเบากายมีกำลัง และอยู่อย่างผาสุก

พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ – หน้าที่ 173


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ก.ค. 2012, 08:34 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 มิ.ย. 2012, 14:54
โพสต์: 2805


 ข้อมูลส่วนตัว


:b12:
โฮฮับ เขียน:
bigtoo เขียน:
โฮฮับ เขียน:
bigtoo เขียน:
คุณน้องจะกินกี่มื้อก็กินได้ครับคุณน้องเป็นผู้ปฎิบัติธรรม ไม่ได้เป็นผู้ประกาศว่าสำเร็จธรรม แต่กฎในศิลพรหมจรย์ในตำราหลังเที่ยงห้ามรับประทานนะครับ :b4: :b4:

คุณบิกทู่คิดกลับตาลปัตรหรือเปล่าครับ เณร เถร ชี เขาก็ห้ามกินอาหารหลังเที่ยง
เอางี้ผมจะสมมุติง่ายให้ดู เพราะผมเห็นว่าคุณยังคิดอะไรตื้นๆ

คุณรู้จักเขาทรายกาแลคซี่มั้ยครับ ในขณะที่ไต่เต้ามาเป็นแชมป์
จนแขวนนวม เมื่อแขวนนวมแล้วก็ยังเป็นแชมป์ตลอดกาลนี่
ถามหน่อยครับ เขาทรายยังต้องออกกำลัง ยังต้องลดน้ำหนักจำกัดอาหารเหมือนตอน
ที่ยังไม่ได้เป็นแชมป์มั้ยครับ
มีด้วยเหรอ :b3: :b3: ศิล8เขามีไว้ให้เณรชี อย่างเดียว สมาทานแล้วก็เหมือนกันหมดละครับคุณนี่แนะนำยังไง:b34: :b34:
งั้นพระพุทธองค์ก็คงบอกให้สาวกของท่านที่สำเร็จอรหันต์แล้วฉันอาหารกันตามสบายซิครับ อย่าบอกนะเป็นวินัยสงฆ์ ถึงเขาทรายจะชนะเป็นแชมป์แล้วมีค่าอะไรมาก ไม่เหมือนพรพุทธองค์ทรงชนะมาร มีคุณค่ามหาศาล คุณเปรียบเทียบผิดแล้วครับ พี่โฮ :b4: :b4: :b4:

จะอ่านอะไรมันต้องมีสติ มีสมาธิพิจารณาธรรมตามไปด้วย ไม่ใช่อ่านแต่ตัวอักษร
ที่อยู่ตรงหน้า มันต้องเอาเหตุปัจจัยที่ต่อเนื่องมาพิจารณาด้วย

อย่าทำแบบคุณฝึกจิต ที่ชอบโพสคำสอนของคนอื่น กับแค่เห็นมีตัวอักษรเหมือนกัน
แบบนี้เขาเรียกว่า ไม่รู้จักการพิจารณาธรรม เหมือนนกแก้วนกขุนทอง ให้พูดอะไรก็พูดได้
แต่ไม่เข้าใจความหมาย

ที่ผมอ้างเถร เณร ชี ก็เพราะคุณบอกว่า เป็นผู้ปฏิบัติธรรม ไม่ใช่ผู้สำเร็จธรรม
จะกินกี่มื้อก็ได้ คนที่อยู่ในสถานะเถร เณร ชี ส่วนใหญ่ก็ไม่ได้สำเร็จธรรม เขาได้ชื่อว่า
เป็นผู้ปฏิบัติธรรมแต่เขาก็ไม่กินอาหารหลังเที่ยง เข้าใจมั้ย


แล้วไอ้เรื่องเขาทรายก็เหมือนกัน ไม่ได้ให้เอาเขาทรายมาเปรียบกับพุทธองค์หรืออริยะ
เขาให้ดูการปฏิบัติ ให้สู่ความสำเร็จ เมื่อสำเร็จแล้วสิ่งที่ผ่านมาก็ไม่มีความหมาย

เหมือนเขาทรายได้แชมป์แล้ว ก็ปล่อยวางแชมป์คืนไป เขาทรายก็ไม่ต้องไปฝึกแบบเมื่อก่อน
วิธีการนั้นไม่มีความหมายแล้ว เพราะสำเร็จแล้ว

มันก็เหมือนปุถุชน ยังมีสิ่งที่เรียกว่าความยึดมั่นอยู่ จึงต้องเลือกยึดแต่สิ่งที่ดีเช่นศีล
แต่พระพุทธองค์ทรงบอกว่า ความทุกข์คือการเวียนว่ายตายเกิด และสิ่งที่ทำให้เวียนว่าย
ตายเกิด คือ ความยึดมั่นถือมั่น

ศีลถ้าเราไม่สนใจที่จะกระทำในสิ่งที่ห้าม มันก็ไม่เกิดการกระทำ แบบนี้เขาเรียกว่า ความเป็นปกติ
มันเป็นสัมมาศีล แต่ถ้าเราไปสมาทานตั้งใจมันเกิดการเจตนาขึ้น มันก็เกิดการกระทำขึ้นแล้ว
เรียกว่า การกระทำที่จะไม่กระทำ ที่พูดมาก็คือไปยึดมั่นหรือทำให้ผิดปกติ
คุณโฮฮับนี้เก่งจริงๆเลยกินแบบไม่ถือมั่นอิๆๆ :b12: :b12: สอนบ้างดิ ไม่ฟังแล้วที่พระองค์พูด(ภิกษุทั้งหลาย! ถึงพวกเธอ ก็จงฉันอาหาร วันละหนเดียวเถิด ถ้าพวกเธอฉันอาหารวันละหนเดียว เธอจะรู้สึกว่ามีโรคน้อย มีความลำบากกายน้อย มีความเบากาย มีกำลังและเป็นอยู่อย่างผาสุก”.)และอย่าบอกนะว่าเรื่องบน
เตียงก็ทำแบบไม่ยึดมั่นถือมั่นด้วยอิๆๆ :b12: :b12: จะไดย้ายสำนักไปเรียนกับพี่โฮให้หมดน่าจสนุกดีนะ555 พี่โฮฮับ! huh ส่วนเรื่องภรรยาผมนะแล้วแต่จะคิด บวกก็มี ลบก็มี มันลอยอยู่ในอากาศ แล้วแต่ใครจะดีงมาใส่ตน ห้ามกัน บ่อได้ :b12: :b12: :b12:

.....................................................
อย่าลืมทำกิจในอริยสัจ
เราจะเดินให้สุดทาง http://www.thaidhamma.net


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ก.ค. 2012, 09:57 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ฝึกจิต เขียน:
พระพุทธเจ้า ประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน เมืองสาวัตถี ได้ตรัสถึงเหตุผลของการฉันอาหารวันละหนเดียว และทรงขอร้องภิกษุว่า

“ภิกษุทั้งหลาย! มีอยู่คราวหนึ่ง พวกภิกษุได้ทำให้จิตของเรา มีความยินดีเป็นอันมาก เราขอเตือนภิกษุทั้งหลาย ไว้ในที่นี้ว่า

ภิกษุทั้งหลาย! เราฉันอาหารวันละหนเดียว เมื่อเราฉันอาหารวันละหนเดียวอยู่แล รู้สึกว่ามีโรคน้อย มีความลำบากกายน้อย มีความเบากาย มีกำลังและเป็นอยู่อย่างผาสุก

ภิกษุทั้งหลาย! ถึงพวกเธอ ก็จงฉันอาหาร วันละหนเดียวเถิด ถ้าพวกเธอฉันอาหารวันละหนเดียว เธอจะรู้สึกว่ามีโรคน้อย มีความลำบากกายน้อย มีความเบากาย มีกำลังและเป็นอยู่อย่างผาสุก”.

กกจูปมสูตร ๑๒/๒๐๓

อีตาฝึกจิตนี่ดื้อด้านจริงๆครับ :b32: บอกแล้วแนะแล้วว่า ธรรมของพระพุทธเจ้า
อย่ายึดบัญญัติหรือคำแปล อย่าเห็นเพียงว่าตัวอักษรเหมือนกันแล้วจะเป็นเรื่องเดียวกัน

ให้ดูบุคคลผู้สอน สถานะขณะที่กำลังสอน บุคคลผู้รับฟังคำสอนและสถานะของผู้ฟัง
อีกกาลเวลา และที่สำคัญธรรมนั้นเกี่ยวกับอะไร เมื่อได้แล้วก็พิจารณาหาเหตุที่มาว่า
ทำไมจึงเกิดธรรมบทนี้ขึ้น
ฝึกจิต เขียน:
พระพุทธเจ้า ประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน เมืองสาวัตถี ได้ตรัสถึงเหตุผลของการฉันอาหารวันละหนเดียว และทรงขอร้องภิกษุว่า

“ภิกษุทั้งหลาย! มีอยู่คราวหนึ่ง พวกภิกษุได้ทำให้จิตของเรา มีความยินดีเป็นอันมาก เราขอเตือนภิกษุทั้งหลาย ไว้ในที่นี้ว่า

ในที่นี้พระพุทธเจ้า ทรงสอนภิกษุสาวกของพระองค์ ซึ่งเป็นพระภิกษุ
แต่เรากำลังสนทนากันอยู่นี้เป็นเรื่องของฆราวาส(บิกทู่) ที่ดัดจริตไปทำตามอย่างพระภิกษุ
ฝึกจิต เขียน:
ภิกษุทั้งหลาย! เราฉันอาหารวันละหนเดียว เมื่อเราฉันอาหารวันละหนเดียวอยู่แล รู้สึกว่ามีโรคน้อย มีความลำบากกายน้อย มีความเบากาย มีกำลังและเป็นอยู่อย่างผาสุก

ภิกษุทั้งหลาย! ถึงพวกเธอ ก็จงฉันอาหาร วันละหนเดียวเถิด ถ้าพวกเธอฉันอาหารวันละหนเดียว เธอจะรู้สึกว่ามีโรคน้อย มีความลำบากกายน้อย มีความเบากาย มีกำลังและเป็นอยู่อย่างผาสุก”.
กกจูปมสูตร ๑๒/๒๐๓

มาหาสาเหตุที่พระพุทธองค์ ถึงทรงสอนให้ภิกษุสาวกฉันมื้อเดียว พระองค์บอกว่า
ทำให้มีโรคน้อย ลำบากกายน้อย แล้วเพราะอะไรถึงเป็นแบบนี้

ก็เพราะพระภิกษุไม่ได้ประกอบอาชีพ การงานใด ในวันหนึ่งๆจึงใช้พลังงาน
ของร่างกายน้อยมาก ธาตุขันธ์ขาดสมดุลย์เพียงเล็กน้อย การฉันท์อาหาร
มื้อเดียวต่อวันก็เพียงพอแล้ว
ร่างกายหรือธาตุขันธ์ ถ้าเราเพิ่มธาตุให้มากเกินพอดีก็จะทำให้ร่างกายไม่สบาย
เกิดโรคอ้วน

ส่วนกรณีของบิกทู่ ที่คิดว่าทำตามอย่างพระแล้วจะดูเท่ เป็นคนดีมีศีล
จะบอกให้มันเป็นความคิดที่ผิด บิกทู่เป็นฆราวาสต้องประกอบอาชีพ
ในวันหนึ่งๆต้องใช้พลังงาน การกินอาหารไม่พอเพียงต่อร่างกายมันกลับทำ
ให้เกิดโรค ไม่มีภูมิคุ้มกันโรค สมองไม่มีสารอาหารไปบำรุง ที่สำคัญการที่
ท้องหิวแล้วไม่กินอาหาร จะทำให้เกิดเป็นโรคกระเพาะ กระเพาะทะลุได้
เห็นมั้ย เข้าใจมั้ย ฝึกจิต บิกทู่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ก.ค. 2012, 10:00 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ฝึกจิต เขียน:
[๒๖๕] ครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคตรัส เรียกภิกษุทั้งหลายมาตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมัยหนึ่ง พวกภิกษุได้ทำจิตของเราให้ยินดีเป็นอันมาก เราขอเตือนภิกษุทั้งหลายไว้ในที่นี้ว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราฉันอาหารที่อาสนะแห่งเดียว เมื่อเราฉันอาหารที่อาสนะแห่งเดียวอยู่แล รู้สึกว่ามีอาพาธน้อย มีความลำบากกายน้อย มีความเบากาย มีกำลัง และอยู่อย่างผาสุก ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถึงพวกเธอก็จงฉันอาหารที่อาสนะแห่งเดียวเถิด แม้พวกเธอฉันอาหารที่อาสนะแห่งเดียวกัน ก็จะรู้สึกว่ามีอาพาธน้อย มีความลำบากกายน้อย มีความเบากายมีกำลัง และอยู่อย่างผาสุก

พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ – หน้าที่ 173

คุณฝึกจิตครับ เอาพระสูตรบทนี้มา ถามหน่อยครับ
เอามาอ้างน่ะ รู้หรือเปล่าว่าเขาหมายถึงอะไร :b9:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ก.ค. 2012, 10:07 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


bigtoo เขียน:
คุณโฮฮับนี้เก่งจริงๆเลยกินแบบไม่ถือมั่นอิๆๆ :b12: :b12: สอนบ้างดิ ไม่ฟังแล้วที่พระองค์พูด(ภิกษุทั้งหลาย! ถึงพวกเธอ ก็จงฉันอาหาร วันละหนเดียวเถิด ถ้าพวกเธอฉันอาหารวันละหนเดียว เธอจะรู้สึกว่ามีโรคน้อย มีความลำบากกายน้อย มีความเบากาย มีกำลังและเป็นอยู่อย่างผาสุก”.)และอย่าบอกนะว่าเรื่องบน
เตียงก็ทำแบบไม่ยึดมั่นถือมั่นด้วยอิๆๆ :b12: :b12: จะไดย้ายสำนักไปเรียนกับพี่โฮให้หมดน่าจสนุกดีนะ555 พี่โฮฮับ! huh ส่วนเรื่องภรรยาผมนะแล้วแต่จะคิด บวกก็มี ลบก็มี มันลอยอยู่ในอากาศ แล้วแต่ใครจะดีงมาใส่ตน ห้ามกัน บ่อได้ :b12: :b12: :b12:

ไม่ต้องมาเรียนกับผมหรอกครับ สิ่งที่ผมพูดเด็กวัดแถวบ้านผมยังรู้เลย
ก็มีแต่คุณนั้นแหล่ะที่ไม่รู้ :b9:

ถ้าอยากรู้เดินไปวัดหาเด็กวัดซักคน อยากรู้อยากเรียนอะไร
ก็ถามเด็กมันก็ได้ แต่ต้องเลี้ยงข้าวมันด้วยนะครับ ถึงเป็นเด็กวัด
แต่มันกินข้าวสามมื้อนะครับ :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ก.ค. 2012, 10:39 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 4
สมาชิก ระดับ 4
ลงทะเบียนเมื่อ: 21 มิ.ย. 2010, 22:55
โพสต์: 213

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กินอาหารหนักมาก ก็ใช้เวลาย่อยมาก ย่อยมาก ก็ง่วงมากพาลอืดอาดตัว

ว่าแล้ว ก็นั่งจิบน้ำชาดีกว่า :b38:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ก.ค. 2012, 10:43 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 มิ.ย. 2012, 14:54
โพสต์: 2805


 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
ฝึกจิต เขียน:
พระพุทธเจ้า ประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน เมืองสาวัตถี ได้ตรัสถึงเหตุผลของการฉันอาหารวันละหนเดียว และทรงขอร้องภิกษุว่า

“ภิกษุทั้งหลาย! มีอยู่คราวหนึ่ง พวกภิกษุได้ทำให้จิตของเรา มีความยินดีเป็นอันมาก เราขอเตือนภิกษุทั้งหลาย ไว้ในที่นี้ว่า

ภิกษุทั้งหลาย! เราฉันอาหารวันละหนเดียว เมื่อเราฉันอาหารวันละหนเดียวอยู่แล รู้สึกว่ามีโรคน้อย มีความลำบากกายน้อย มีความเบากาย มีกำลังและเป็นอยู่อย่างผาสุก

ภิกษุทั้งหลาย! ถึงพวกเธอ ก็จงฉันอาหาร วันละหนเดียวเถิด ถ้าพวกเธอฉันอาหารวันละหนเดียว เธอจะรู้สึกว่ามีโรคน้อย มีความลำบากกายน้อย มีความเบากาย มีกำลังและเป็นอยู่อย่างผาสุก”.

กกจูปมสูตร ๑๒/๒๐๓

อีตาฝึกจิตนี่ดื้อด้านจริงๆครับ :b32: บอกแล้วแนะแล้วว่า ธรรมของพระพุทธเจ้า
อย่ายึดบัญญัติหรือคำแปล อย่าเห็นเพียงว่าตัวอักษรเหมือนกันแล้วจะเป็นเรื่องเดียวกัน

ให้ดูบุคคลผู้สอน สถานะขณะที่กำลังสอน บุคคลผู้รับฟังคำสอนและสถานะของผู้ฟัง
อีกกาลเวลา และที่สำคัญธรรมนั้นเกี่ยวกับอะไร เมื่อได้แล้วก็พิจารณาหาเหตุที่มาว่า
ทำไมจึงเกิดธรรมบทนี้ขึ้น
ฝึกจิต เขียน:
พระพุทธเจ้า ประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน เมืองสาวัตถี ได้ตรัสถึงเหตุผลของการฉันอาหารวันละหนเดียว และทรงขอร้องภิกษุว่า

“ภิกษุทั้งหลาย! มีอยู่คราวหนึ่ง พวกภิกษุได้ทำให้จิตของเรา มีความยินดีเป็นอันมาก เราขอเตือนภิกษุทั้งหลาย ไว้ในที่นี้ว่า

ในที่นี้พระพุทธเจ้า ทรงสอนภิกษุสาวกของพระองค์ ซึ่งเป็นพระภิกษุ
แต่เรากำลังสนทนากันอยู่นี้เป็นเรื่องของฆราวาส(บิกทู่) ที่ดัดจริตไปทำตามอย่างพระภิกษุ
ฝึกจิต เขียน:
ภิกษุทั้งหลาย! เราฉันอาหารวันละหนเดียว เมื่อเราฉันอาหารวันละหนเดียวอยู่แล รู้สึกว่ามีโรคน้อย มีความลำบากกายน้อย มีความเบากาย มีกำลังและเป็นอยู่อย่างผาสุก

ภิกษุทั้งหลาย! ถึงพวกเธอ ก็จงฉันอาหาร วันละหนเดียวเถิด ถ้าพวกเธอฉันอาหารวันละหนเดียว เธอจะรู้สึกว่ามีโรคน้อย มีความลำบากกายน้อย มีความเบากาย มีกำลังและเป็นอยู่อย่างผาสุก”.
กกจูปมสูตร ๑๒/๒๐๓

มาหาสาเหตุที่พระพุทธองค์ ถึงทรงสอนให้ภิกษุสาวกฉันมื้อเดียว พระองค์บอกว่า
ทำให้มีโรคน้อย ลำบากกายน้อย แล้วเพราะอะไรถึงเป็นแบบนี้

ก็เพราะพระภิกษุไม่ได้ประกอบอาชีพ การงานใด ในวันหนึ่งๆจึงใช้พลังงาน
ของร่างกายน้อยมาก ธาตุขันธ์ขาดสมดุลย์เพียงเล็กน้อย การฉันท์อาหาร
มื้อเดียวต่อวันก็เพียงพอแล้ว
ร่างกายหรือธาตุขันธ์ ถ้าเราเพิ่มธาตุให้มากเกินพอดีก็จะทำให้ร่างกายไม่สบาย
เกิดโรคอ้วน

ส่วนกรณีของบิกทู่ ที่คิดว่าทำตามอย่างพระแล้วจะดูเท่ เป็นคนดีมีศีล
จะบอกให้มันเป็นความคิดที่ผิด บิกทู่เป็นฆราวาสต้องประกอบอาชีพ
ในวันหนึ่งๆต้องใช้พลังงาน การกินอาหารไม่พอเพียงต่อร่างกายมันกลับทำ
ให้เกิดโรค ไม่มีภูมิคุ้มกันโรค สมองไม่มีสารอาหารไปบำรุง ที่สำคัญการที่
ท้องหิวแล้วไม่กินอาหาร จะทำให้เกิดเป็นโรคกระเพาะ กระเพาะทะลุได้
เห็นมั้ย เข้าใจมั้ย ฝึกจิต บิกทู่
ก็ทำไปซิครับ ประกอบอาชีพน่ะ ใครๆเขาก็ทำกันทั้งนั้นแหละ เขาจะกินกี่มื้อก็เรื่องของเขา ก็เขาไม่ได้ประกาศตนเป็นคนปฎิบัติธรรมบรรลุธรรมเขาจะกินสัก 3-4-5มื้อก็กินไปใครจะไปว่าเขาละมันสิทธิของเขา พระพุทธองค์ก็ไม่ได้ทรงห้าม ยังยากอยู่ในวัฎฎะก็อยู่ไป พระองค์ก็ทรงแสดงฆารวาสธรรมให้ฟัง แล้วพระองค์ก็ยังบอกว่า ฆารวาสเหมือนยืนอยู่ปากเหว แต่ฆารวาสที่เขามีปัญญามากเขาก็น้อมนำวิธีที่เดินไกลเหวหน่อยมาปฎิบัติ เพราะเขามีปัญญา *ไม่ใช่ทำไม่ได้ก็ตำหนิคนทำได้ว่าเพ้อเจ้อ บ้าง เรียนแบบพระ คุณนี่แปลกดีจริง**งั้นอริยชน จะต่างอะไรกับปุถุชนละครับพี่โฮ ตีพุทธพจน์เพื่อความสบายอย่างเดียว งั้นจะมาศึกษาพระธรรมทำมัยในเมื่อคุณไม่ได้เปลี่ยนแปลงวิธีชีวิตเลย มรรคข้อ2ไงครับ ดำริออกจากกามไง ผมว่าท่านข้อ1ท่านยังไม่เกิดแน่ๆเลย :b34: :b34: :b34:

.....................................................
อย่าลืมทำกิจในอริยสัจ
เราจะเดินให้สุดทาง http://www.thaidhamma.net


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ก.ค. 2012, 12:23 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 03 ธ.ค. 2011, 21:40
โพสต์: 952


 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
ฝึกจิต เขียน:
พระพุทธเจ้า ประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน เมืองสาวัตถี ได้ตรัสถึงเหตุผลของการฉันอาหารวันละหนเดียว และทรงขอร้องภิกษุว่า

“ภิกษุทั้งหลาย! มีอยู่คราวหนึ่ง พวกภิกษุได้ทำให้จิตของเรา มีความยินดีเป็นอันมาก เราขอเตือนภิกษุทั้งหลาย ไว้ในที่นี้ว่า

ภิกษุทั้งหลาย! เราฉันอาหารวันละหนเดียว เมื่อเราฉันอาหารวันละหนเดียวอยู่แล รู้สึกว่ามีโรคน้อย มีความลำบากกายน้อย มีความเบากาย มีกำลังและเป็นอยู่อย่างผาสุก

ภิกษุทั้งหลาย! ถึงพวกเธอ ก็จงฉันอาหาร วันละหนเดียวเถิด ถ้าพวกเธอฉันอาหารวันละหนเดียว เธอจะรู้สึกว่ามีโรคน้อย มีความลำบากกายน้อย มีความเบากาย มีกำลังและเป็นอยู่อย่างผาสุก”.

กกจูปมสูตร ๑๒/๒๐๓

อีตาฝึกจิตนี่ดื้อด้านจริงๆครับ :b32: บอกแล้วแนะแล้วว่า ธรรมของพระพุทธเจ้า
อย่ายึดบัญญัติหรือคำแปล อย่าเห็นเพียงว่าตัวอักษรเหมือนกันแล้วจะเป็นเรื่องเดียวกัน

ให้ดูบุคคลผู้สอน สถานะขณะที่กำลังสอน บุคคลผู้รับฟังคำสอนและสถานะของผู้ฟัง
อีกกาลเวลา และที่สำคัญธรรมนั้นเกี่ยวกับอะไร เมื่อได้แล้วก็พิจารณาหาเหตุที่มาว่า
ทำไมจึงเกิดธรรมบทนี้ขึ้น
ฝึกจิต เขียน:
พระพุทธเจ้า ประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน เมืองสาวัตถี ได้ตรัสถึงเหตุผลของการฉันอาหารวันละหนเดียว และทรงขอร้องภิกษุว่า

“ภิกษุทั้งหลาย! มีอยู่คราวหนึ่ง พวกภิกษุได้ทำให้จิตของเรา มีความยินดีเป็นอันมาก เราขอเตือนภิกษุทั้งหลาย ไว้ในที่นี้ว่า

ในที่นี้พระพุทธเจ้า ทรงสอนภิกษุสาวกของพระองค์ ซึ่งเป็นพระภิกษุ
แต่เรากำลังสนทนากันอยู่นี้เป็นเรื่องของฆราวาส(บิกทู่) ที่ดัดจริตไปทำตามอย่างพระภิกษุ
ฝึกจิต เขียน:
ภิกษุทั้งหลาย! เราฉันอาหารวันละหนเดียว เมื่อเราฉันอาหารวันละหนเดียวอยู่แล รู้สึกว่ามีโรคน้อย มีความลำบากกายน้อย มีความเบากาย มีกำลังและเป็นอยู่อย่างผาสุก

ภิกษุทั้งหลาย! ถึงพวกเธอ ก็จงฉันอาหาร วันละหนเดียวเถิด ถ้าพวกเธอฉันอาหารวันละหนเดียว เธอจะรู้สึกว่ามีโรคน้อย มีความลำบากกายน้อย มีความเบากาย มีกำลังและเป็นอยู่อย่างผาสุก”.
กกจูปมสูตร ๑๒/๒๐๓

มาหาสาเหตุที่พระพุทธองค์ ถึงทรงสอนให้ภิกษุสาวกฉันมื้อเดียว พระองค์บอกว่า
ทำให้มีโรคน้อย ลำบากกายน้อย แล้วเพราะอะไรถึงเป็นแบบนี้

ก็เพราะพระภิกษุไม่ได้ประกอบอาชีพ การงานใด ในวันหนึ่งๆจึงใช้พลังงาน
ของร่างกายน้อยมาก ธาตุขันธ์ขาดสมดุลย์เพียงเล็กน้อย การฉันท์อาหาร
มื้อเดียวต่อวันก็เพียงพอแล้ว
ร่างกายหรือธาตุขันธ์ ถ้าเราเพิ่มธาตุให้มากเกินพอดีก็จะทำให้ร่างกายไม่สบาย
เกิดโรคอ้วน

ส่วนกรณีของบิกทู่ ที่คิดว่าทำตามอย่างพระแล้วจะดูเท่ เป็นคนดีมีศีล
จะบอกให้มันเป็นความคิดที่ผิด บิกทู่เป็นฆราวาสต้องประกอบอาชีพ
ในวันหนึ่งๆต้องใช้พลังงาน การกินอาหารไม่พอเพียงต่อร่างกายมันกลับทำ
ให้เกิดโรค ไม่มีภูมิคุ้มกันโรค สมองไม่มีสารอาหารไปบำรุง ที่สำคัญการที่
ท้องหิวแล้วไม่กินอาหาร จะทำให้เกิดเป็นโรคกระเพาะ กระเพาะทะลุได้
เห็นมั้ย เข้าใจมั้ย ฝึกจิต บิกทู่



เข้าใจ เหตุผลของคนมืดบอดไปด้วยกิเลส อยากเป็นอรหันต์ แต่ อยากอยู่อย่างฆารวาส :b32: :b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ก.ค. 2012, 13:41 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


bigtoo เขียน:
ก็ทำไปซิครับ ประกอบอาชีพน่ะ ใครๆเขาก็ทำกันทั้งนั้นแหละ เขาจะกินกี่มื้อก็เรื่องของเขา ก็เขาไม่ได้ประกาศตนเป็นคนปฎิบัติธรรมบรรลุธรรมเขาจะกินสัก 3-4-5มื้อก็กินไปใครจะไปว่าเขาละมันสิทธิของเขา พระพุทธองค์ก็ไม่ได้ทรงห้าม ยังยากอยู่ในวัฎฎะก็อยู่ไป พระองค์ก็ทรงแสดงฆารวาสธรรมให้ฟัง แล้วพระองค์ก็ยังบอกว่า ฆารวาสเหมือนยืนอยู่ปากเหว แต่ฆารวาสที่เขามีปัญญามากเขาก็น้อมนำวิธีที่เดินไกลเหวหน่อยมาปฎิบัติ เพราะเขามีปัญญา *ไม่ใช่ทำไม่ได้ก็ตำหนิคนทำได้ว่าเพ้อเจ้อ บ้าง เรียนแบบพระ คุณนี่แปลกดีจริง**งั้นอริยชน จะต่างอะไรกับปุถุชนละครับพี่โฮ ตีพุทธพจน์เพื่อความสบายอย่างเดียว งั้นจะมาศึกษาพระธรรมทำมัยในเมื่อคุณไม่ได้เปลี่ยนแปลงวิธีชีวิตเลย มรรคข้อ2ไงครับ ดำริออกจากกามไง ผมว่าท่านข้อ1ท่านยังไม่เกิดแน่ๆเลย :b34: :b34: :b34:

พูดธรรมมั่วไปเรื่อย ไม่มีสมาธิอยู่กับธรรมซะบ้างเลย พอๆกับอีตาฝึกจิต
ใครจะไปเหมือนกับคุณครับ ประกาสว่าวางอุเบกขา มีเมียสาวสวยแต่ไม่ยุ่งกับเมีย
กินข้าวมื้อเดียวแต่ทำกับข้าวให้เมียกิน

กิเลสกับผู้บรรลุธรรมมันมีระดับของมัน สมัยพุทธกาลก็มีผู้ประกาศตนเป็น
โสดาบันทั้งที่เป็นฆราวาสตั้งหลายคน นางวิสาขาบรรลุธรรมเป็นโสดาบัน
ตั้งแต่อายุเจ็ดขวบ ทำไมมีครอบครัวได้ แถมมีลูกเป็นโขยง
พระเจ้าพิมพิสารอีกล่ะ เป็นโสดาบันก็ยังเป็นกษัตริย์ได้เลย

ถึงได้บอกว่า การบรรลุธรรมมีระดับขั้น เหล่าบรรดาอริยสาวกของพระพุทธเจ้า
ท่านผ่านการบรรลุธรรมขั้นต้นมาแล้ว แต่ที่ต้องมาบวชเป็นพระภิกษุก็เพื่อศึกษาปฏิบัติ
ให้ถึงอรหันต์

พอเห็นความแตกต่างหรือยังว่าอริยชนแตกต่างจากปุถุชนตรงไหน

อริยชนก็คือเขามีลูกมีเมีย มีสามีได้เป็นปกติทั่วไป
แต่ปุถุชนที่หลงคิดว่าตัวเองบรรลุธรรมอย่างบิกทู่ก็คือ มีเมียสาวสวยเก็บไว้ที่บ้านเฉยๆ
ไม่ต้องทำอะไรแม้กระทั่ง ทำกับข้าวให้สามีครับ :b32:


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 261 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 6, 7, 8, 9, 10, 11, 12 ... 18  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร